SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Mass Spectrometry นางสาวรุจาภัค  สุทธิวิเศษศักดิ์  เลขที่  10 นายวรวิทย์  วรพิพัฒน์  เลขที่  21 ม .  6/3
ประวัติเบื้องต้น ,[object Object]
ประวัติเบื้องต้น - ในการหาหมู่ฟังก์ชันก็ใช้การตรวจวัดเชิงคุณภาพ เช่น  Benedict’s test  เพื่อตรวจสอบว่าสารนั้นมีหมู่ฟังก์ชัน  Aldehyde  อยู่หรือไม่ - การตรวจสอบสารประเภท  Alkene  ก็ใช้ปฏิกิริยา  Halogenation ( นำไปฟอกสีโบรมีนในที่มืดเป็นต้น ) - การตรวจสอบสารประเภท  Alkyne  ก็ใช้ปฏิกิริยา  Ozonolysis  เพื่อแตกโมเลกุลของ  Alkyne  ลงเป็นส่วนย่อยๆแล้วนำไปวิเคราะห์
ประวัติเบื้องต้น ,[object Object]
ประวัติเบื้องต้น ,[object Object],หลังจากเวลาผ่านไปการวิเคราะห์โครงสร้างของสารก็สามารถทำได้ง่ายขึ้นด้วยวิธีการทางฟิสิกส์โดยสามารถมองเป็นภาพกว้างๆได้ดังนี้
ประวัติเบื้องต้น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ซึ่งวิธีดังกล่าวเหล่านี้มีข้อดีคือใช้ตัวอย่างสารน้อย รวดเร็ว มีความละเอียดแม่นยำมาก
ประเภทของ  Mass Spectrometry ,[object Object],[object Object],[object Object]
หลักการของ  Mass Spectrometry 1.   เปลี่ยนโมเลกุลของสารที่เราต้องการทดสอบให้เป็น  gas  แล้วทำให้โมเลกุลมีประจุเป็นบวกโดยการยิงด้วยอิเล็คตรอนที่มีพลังงาน   70 eV (1   eV คือหน่วยของพลังงานมีค่าเท่ากับการเร่ง  e-  ผ่านความต่างศักย์  1  โวลต์ )  ซึ่งจากหลักความน่าจะเป็นจะได้ประจุส่วนมากเป็น  +1
หลักการของ  Mass Spectrometry 2.   นำไอออนของสารที่ได้ไปเร่งด้วยความต่างศักย์ดังสมการ  0.5mv 2 =eV+0.5mu 2 3. นำไอออนของสารไปผ่าน  Velocity Selector  ซึ่งเป็นบริเวณที่สนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าตั้งฉากกัน โดยไอออนที่ผ่าน  Velocity Selector  จะมีความเร็วที่มีขนาดและทิศทางตามที่เราต้องการ   v=E/B  เมื่อสนามเมื่อสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ามีขนาด  B  และ  E  ตามลำดับ
หลักการของ  Mass Spectrometry 4.   จากนั้นก็นำไปผ่านบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก ซึ่งจะทำให้ไอออนของสารเบนไปเป็นรัศมี  R=mv/(qB 0 ) 5.   วัดปริมาณของไอออนที่รัศมี R ต่างๆกันและวาดกราฟระหว่าง ปริมาณที่พบกับค่า   M/Z
หลักการของ  Mass Spectrometry ตัวอย่างกราฟที่ได้
หลักการของ  Mass Spectrometry จากกราฟมีส่วนประกอบสำคัญดังนี้ -Base Peak  คือเส้นที่มีความถี่สูงสุด -Parent Peak  คือเส้นที่มีค่า  M/Z  เท่ากับมวลโมเลกุลของสารพอดี ซึ่งถ้าเราหาเส้นนี้ได้ก็หมายถึงเราได้มวลโมเลกุลของสารที่เราต้องการแล้ว แต่   Parent Peak  กับ  Base Peak  อาจไม่อยู่ตำแหน่งเดียวกันก็ได้ หรือ เราอาจไม่เห็น  Parent Peak   เลยก็เป็นได้ - เส้นต่างๆในกราฟเป็นปริมาณไอออนเทียบกับเทียบกับปริมาณไอออนของเส้นมากสุด - เรามักใช้  M  แทนมวลโมเลกุลของสาร
หลักการของ  Mass Spectrometry จากกราฟและทฤษฎีด้านบนพบความผิดปกติอะไรบ้าง ?
หลักการของ  Mass Spectrometry 1. M+1 กับ  M+2  เกิดจากการที่ธาตุหนึ่งๆมีหลาย  Isotope  ดังนั้นจึงทำให้มวลโมเลกุลของสารมีหลายๆค่าจึงทำให้ในกราฟมีทั้ง  M,M+1,M+2 …  สิ่งที่ควรรู้ไว้คือ ธาตุ  H C N O S Cl Br  ธาตุเหล่านี้พบได้หลาย  Isotope  แต่  F P I  มักพบได้  Isotope เดียว ดังนั้นห้ามนำมวลโมเลกุลตามตารางธาตุทั่วไปมาคำนวณโดยเด็ดขาด  ( เพราะอะไร )
หลักการของ  Mass Spectrometry 2.   มี  Peak  อื่นๆ ที่มีค่า  M/Z  น้อยกว่ามวลโมเลกุลของสาร ที่เป็นเช่นนี้เพราะในขั้นตอนแรกของ นั้นใช้  e-  พลังงานสูงถึง  70 eV  ทำให้ไม่เพียงแต่  e-  เท่านั้นที่หลุดออกมา แต่มันสามารถทำให้โมเลกุลแตกออกได้ ตามสมการ เรียกว่า  Fragmentation
หลักการของ  Mass Spectrometry ซึ่งจะพบว่าจะได้สารที่เป็นประจุบวกหรือเป็นกลางซึ่งจากหลักการทำงานของจะได้ว่า   สารที่มีประจุบวกเท่านั้นที่สามารถนำไปทดสอบได้ ดังนั้นส่วนของโมเลกุลที่แตกออกแล้วมีประจุบวกนั้นจะถูกตรวจจับโดย  Mass Spectrometer   ได้เช่นกัน ซึ่งจากกราฟด้านบนพบว่ามี  Peak  ที่อยู่ข้างๆ   Parent Peak   ซึ่งสูงกว่า  Parent Peak  เสียอีกซึ่งความสูงของ  Peak   นั้นขึ้นอยู่กับความเสถียรของไอออนนั้นๆเป็นหลักซึ่งบางทีอาจสูงกว่าไอออนของโมเลกุลนั้นๆเสียอีกถ้าโมเลกุลที่นำมาทดสอบมีความเสถียรต่ำ แต่เท่านี้ยังไม่พอ  fragment  ที่ปรากฏในกราฟอาจจะเกิดจากการที่  fragment  อื่นๆมารวมตัวกันก็ได้ ข้อดีของการมี  fragment  มากๆคือ เราอาจสามารถนำกราฟที่ได้จาก  Mass Spectrometer  มาเป็น  Fingerprint  ของสารนั้นๆได้ สารประเภทต่างๆมีรูปแบบการแตกตัวต่างๆกัน
Fragmentation Pattern สิ่งที่ควรรู้
Fragmentation Pattern ,[object Object]
Fragmentation Pattern ,[object Object],ลักษณะพิเศษ 1. พบว่าเมื่อสายยาวขึ้นเรื่อยๆ  Parent Peak  จะมีค่า ค่อนข้างน้อย 2. ตรงปลายสายจะแตกโดยทำให้มวลโมเลกุลเปลี่ยนไป  15 [-CH 3 ]  หลุดออกไป เช่น  72->57 3. บริเวณอื่นๆจะแตกโดยทำให้มวลโมเลกุลเปลี่ยนไป  14 [-CH 2 -]  หลุดออกไป เช่น  57->43->29->15
Fragmentation Pattern ,[object Object],4. เส้นที่อยู่ข้างเคียงเส้นที่สูงเกิดจากการแตกนั้นบางครั้งไฮโดรเจนได้ถูกทำให้หลุดออกไปด้วย 5. เหตุที่  Parent Peak  มีค่า  Relative Abundance   ต่ำเพราะเมื่อโมเลกุลแตกเล้วกลายเป็น  Primary Carbocation   ซึ่งค่อนข้างเสถียร 6.Peak  ที่  m/z=15  มีค่า  Relative Abundance   ต่ำเพราะเหตุใด
Fragmentation Pattern ,[object Object]
Fragmentation Pattern ,[object Object],ลักษณะพิเศษ 1.Branched Alkane  จะไม่ค่อยพบ  Parent Peak  เพราะสามารถแตกเป็น  Secondary Carbocation  หรือ ในบางกรณีอาจแตกเป็น  Tertiary Carbocation  ซึ่งมีความเสถียรมาก 2. สังเกตว่ารูปแบบการแตกครั้งแรกทำให้มวลโมเลกุลเปลี่ยนไป  15 [-CH 3 ]  หลุดออกไปเช่น  100->85 ( ลองคิดดูว่าโครงสร้างที่  m/z=85 ควรจะมีโครงสร้างแบบใดบ้างและแบบไหนมากกว่าเพราะเหตุใด )
Fragmentation Pattern 2.Branched-Alkane  เช่น  2,2-dimethyl pentane 3. รูปแบบการแตกต่อๆไปจะเป็น  14  หรือ เป็นจำนวนเท่าของ  14  ก็ได้ ทั้งนี้เนื่องจาก  Tertiary Carbocation  เสถียรกว่า  Secondary Carbocation  เช่น  86->57 57->43->29->15  4. เส้นที่อยู่ข้างเคียงเส้นที่สูงเกิดจากการแตกนั้นบางครั้งไฮโดรเจนได้ถูกทำให้หลุดออกไปด้วย
Fragmentation Pattern 5. ยิ่งมีกิ่งก้านสาขามากการจะพบ  Parent Peak  นั้นยากมากเพราะ โอกาสที่จะแตกเป็น  Tertiary Carbocation  และ  Secondary Carbocation   จะสูงขึ้นมาก 6. ที่  m/z=57 และ m/z=43  ควรมีโครงสร้างเป็นอย่างไรทำไมจึงพบได้มาก 2.Branched-Alkane  เช่น  2,2-dimethyl pentane
มีคำถามมั๊ยกั๊บบ ?? ขอบคุน ค่าาาาาา

More Related Content

What's hot

Sample introduction techniques in gas chromatography
Sample introduction techniques in gas chromatographySample introduction techniques in gas chromatography
Sample introduction techniques in gas chromatographyVrushali Tambe
 
Mass spectrometry and ionization techniques
Mass spectrometry and ionization techniquesMass spectrometry and ionization techniques
Mass spectrometry and ionization techniquesSurbhi Narang
 
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKAR
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKARLiquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKAR
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKARDr. Ravi Sankar
 
Ion exchange chromatography PPT.
Ion exchange chromatography PPT.Ion exchange chromatography PPT.
Ion exchange chromatography PPT.HumnaMehmood
 
NMR SPECTROSCOPY
NMR SPECTROSCOPYNMR SPECTROSCOPY
NMR SPECTROSCOPYPV. Viji
 
affinity chromatography
affinity chromatographyaffinity chromatography
affinity chromatographyayesha samreen
 
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh Panke
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh PankeMass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh Panke
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh PankeAshutosh Panke
 
Infrared instrumentation
Infrared instrumentationInfrared instrumentation
Infrared instrumentationNIPER MOHALI
 
Mass Spectroscopy and its applications
Mass Spectroscopy and its applicationsMass Spectroscopy and its applications
Mass Spectroscopy and its applicationsAchyut Adhikari
 
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdf
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdfMS Fragmentation Process and Application of MS.pdf
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdfDr. Dinesh Mehta
 
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]Shikha Popali
 
Ion Exchange Chromatography ppt
Ion Exchange Chromatography pptIon Exchange Chromatography ppt
Ion Exchange Chromatography pptAlexa Jacob
 
Deviations from Beers law
Deviations from Beers lawDeviations from Beers law
Deviations from Beers lawVrushali Tambe
 

What's hot (20)

Sample introduction techniques in gas chromatography
Sample introduction techniques in gas chromatographySample introduction techniques in gas chromatography
Sample introduction techniques in gas chromatography
 
GC - MS
GC - MSGC - MS
GC - MS
 
Mass spectrometry
Mass spectrometryMass spectrometry
Mass spectrometry
 
Mass spectrometry and ionization techniques
Mass spectrometry and ionization techniquesMass spectrometry and ionization techniques
Mass spectrometry and ionization techniques
 
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKAR
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKARLiquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKAR
Liquid chromatography–mass spectrometry (LC-MS) BY P. RAVISANKAR
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
Ion exchange chromatography PPT.
Ion exchange chromatography PPT.Ion exchange chromatography PPT.
Ion exchange chromatography PPT.
 
NMR SPECTROSCOPY
NMR SPECTROSCOPYNMR SPECTROSCOPY
NMR SPECTROSCOPY
 
affinity chromatography
affinity chromatographyaffinity chromatography
affinity chromatography
 
Ir spectroscopy
Ir spectroscopyIr spectroscopy
Ir spectroscopy
 
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh Panke
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh PankeMass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh Panke
Mass spectrometry(Ionization Techniques) by Ashutosh Panke
 
Lc ms
Lc msLc ms
Lc ms
 
Infrared instrumentation
Infrared instrumentationInfrared instrumentation
Infrared instrumentation
 
Mass Spectroscopy and its applications
Mass Spectroscopy and its applicationsMass Spectroscopy and its applications
Mass Spectroscopy and its applications
 
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdf
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdfMS Fragmentation Process and Application of MS.pdf
MS Fragmentation Process and Application of MS.pdf
 
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]
LIQUID CHROMATOGRAPHY- MASS SPECTROSCOPY[LC-MS]
 
Ion Exchange Chromatography ppt
Ion Exchange Chromatography pptIon Exchange Chromatography ppt
Ion Exchange Chromatography ppt
 
CAPILLARY ELECTROPHORESIS 1.pptx
CAPILLARY ELECTROPHORESIS 1.pptxCAPILLARY ELECTROPHORESIS 1.pptx
CAPILLARY ELECTROPHORESIS 1.pptx
 
Mass spectrometry
Mass spectrometryMass spectrometry
Mass spectrometry
 
Deviations from Beers law
Deviations from Beers lawDeviations from Beers law
Deviations from Beers law
 

Viewers also liked

Ionizaion Techniques - Mass Spectroscopy
Ionizaion Techniques - Mass SpectroscopyIonizaion Techniques - Mass Spectroscopy
Ionizaion Techniques - Mass SpectroscopySuraj Choudhary
 
Mass spectrometry hh
Mass spectrometry hhMass spectrometry hh
Mass spectrometry hhRakesh Guptha
 
Transdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemTransdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemravipharmabwm
 
Diffusion finals, feb 29, 2012
Diffusion finals, feb 29, 2012Diffusion finals, feb 29, 2012
Diffusion finals, feb 29, 2012eckotanglao
 
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEM
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEMTRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEM
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEMEknath Babu T.B.
 
Transdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemTransdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemRahul Shirode
 
Transdermal drug delivery system ppt
Transdermal drug delivery system pptTransdermal drug delivery system ppt
Transdermal drug delivery system pptDeepak Sarangi
 
Transdermal drug delivery
Transdermal drug deliveryTransdermal drug delivery
Transdermal drug deliveryArya Soman
 
Mossbauer spectroscopy - Principles and applications
Mossbauer spectroscopy - Principles and applicationsMossbauer spectroscopy - Principles and applications
Mossbauer spectroscopy - Principles and applicationsSANTHANAM V
 
Principles and applications of esr spectroscopy
Principles and applications of esr spectroscopyPrinciples and applications of esr spectroscopy
Principles and applications of esr spectroscopySpringer
 

Viewers also liked (20)

Mass spectroscopy pdf
Mass spectroscopy  pdfMass spectroscopy  pdf
Mass spectroscopy pdf
 
Mass spectrometry
Mass spectrometryMass spectrometry
Mass spectrometry
 
Ionizaion Techniques - Mass Spectroscopy
Ionizaion Techniques - Mass SpectroscopyIonizaion Techniques - Mass Spectroscopy
Ionizaion Techniques - Mass Spectroscopy
 
Mass spectrometry hh
Mass spectrometry hhMass spectrometry hh
Mass spectrometry hh
 
Mass Spectroscopy
Mass SpectroscopyMass Spectroscopy
Mass Spectroscopy
 
Mass spectroscopy
Mass spectroscopyMass spectroscopy
Mass spectroscopy
 
Ppt on transdermal
Ppt on transdermalPpt on transdermal
Ppt on transdermal
 
TDDS
TDDSTDDS
TDDS
 
Transdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemTransdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery system
 
Mass spectrometer
Mass spectrometerMass spectrometer
Mass spectrometer
 
Diffusion finals, feb 29, 2012
Diffusion finals, feb 29, 2012Diffusion finals, feb 29, 2012
Diffusion finals, feb 29, 2012
 
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEM
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEMTRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEM
TRANSDERMAL DRUG DELIVERY SYSTEM
 
Transdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery systemTransdermal drug delivery system
Transdermal drug delivery system
 
Transdermal drug delivery system ppt
Transdermal drug delivery system pptTransdermal drug delivery system ppt
Transdermal drug delivery system ppt
 
Transdermal drug delivery
Transdermal drug deliveryTransdermal drug delivery
Transdermal drug delivery
 
Mossbauer spectroscopy - Principles and applications
Mossbauer spectroscopy - Principles and applicationsMossbauer spectroscopy - Principles and applications
Mossbauer spectroscopy - Principles and applications
 
Principles and applications of esr spectroscopy
Principles and applications of esr spectroscopyPrinciples and applications of esr spectroscopy
Principles and applications of esr spectroscopy
 
Mossbauer spectroscopy
Mossbauer spectroscopy Mossbauer spectroscopy
Mossbauer spectroscopy
 
CEMS and Mössbauer Sprectroscopy
CEMS and Mössbauer SprectroscopyCEMS and Mössbauer Sprectroscopy
CEMS and Mössbauer Sprectroscopy
 
Magnetic materials
Magnetic materialsMagnetic materials
Magnetic materials
 

Mass spectrometry

  • 1. Mass Spectrometry นางสาวรุจาภัค สุทธิวิเศษศักดิ์ เลขที่ 10 นายวรวิทย์ วรพิพัฒน์ เลขที่ 21 ม . 6/3
  • 2.
  • 3. ประวัติเบื้องต้น - ในการหาหมู่ฟังก์ชันก็ใช้การตรวจวัดเชิงคุณภาพ เช่น Benedict’s test เพื่อตรวจสอบว่าสารนั้นมีหมู่ฟังก์ชัน Aldehyde อยู่หรือไม่ - การตรวจสอบสารประเภท Alkene ก็ใช้ปฏิกิริยา Halogenation ( นำไปฟอกสีโบรมีนในที่มืดเป็นต้น ) - การตรวจสอบสารประเภท Alkyne ก็ใช้ปฏิกิริยา Ozonolysis เพื่อแตกโมเลกุลของ Alkyne ลงเป็นส่วนย่อยๆแล้วนำไปวิเคราะห์
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. หลักการของ Mass Spectrometry 1. เปลี่ยนโมเลกุลของสารที่เราต้องการทดสอบให้เป็น gas แล้วทำให้โมเลกุลมีประจุเป็นบวกโดยการยิงด้วยอิเล็คตรอนที่มีพลังงาน 70 eV (1 eV คือหน่วยของพลังงานมีค่าเท่ากับการเร่ง e- ผ่านความต่างศักย์ 1 โวลต์ ) ซึ่งจากหลักความน่าจะเป็นจะได้ประจุส่วนมากเป็น +1
  • 9. หลักการของ Mass Spectrometry 2. นำไอออนของสารที่ได้ไปเร่งด้วยความต่างศักย์ดังสมการ 0.5mv 2 =eV+0.5mu 2 3. นำไอออนของสารไปผ่าน Velocity Selector ซึ่งเป็นบริเวณที่สนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าตั้งฉากกัน โดยไอออนที่ผ่าน Velocity Selector จะมีความเร็วที่มีขนาดและทิศทางตามที่เราต้องการ v=E/B เมื่อสนามเมื่อสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ามีขนาด B และ E ตามลำดับ
  • 10. หลักการของ Mass Spectrometry 4. จากนั้นก็นำไปผ่านบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก ซึ่งจะทำให้ไอออนของสารเบนไปเป็นรัศมี R=mv/(qB 0 ) 5. วัดปริมาณของไอออนที่รัศมี R ต่างๆกันและวาดกราฟระหว่าง ปริมาณที่พบกับค่า M/Z
  • 11. หลักการของ Mass Spectrometry ตัวอย่างกราฟที่ได้
  • 12. หลักการของ Mass Spectrometry จากกราฟมีส่วนประกอบสำคัญดังนี้ -Base Peak คือเส้นที่มีความถี่สูงสุด -Parent Peak คือเส้นที่มีค่า M/Z เท่ากับมวลโมเลกุลของสารพอดี ซึ่งถ้าเราหาเส้นนี้ได้ก็หมายถึงเราได้มวลโมเลกุลของสารที่เราต้องการแล้ว แต่ Parent Peak กับ Base Peak อาจไม่อยู่ตำแหน่งเดียวกันก็ได้ หรือ เราอาจไม่เห็น Parent Peak เลยก็เป็นได้ - เส้นต่างๆในกราฟเป็นปริมาณไอออนเทียบกับเทียบกับปริมาณไอออนของเส้นมากสุด - เรามักใช้ M แทนมวลโมเลกุลของสาร
  • 13. หลักการของ Mass Spectrometry จากกราฟและทฤษฎีด้านบนพบความผิดปกติอะไรบ้าง ?
  • 14. หลักการของ Mass Spectrometry 1. M+1 กับ M+2 เกิดจากการที่ธาตุหนึ่งๆมีหลาย Isotope ดังนั้นจึงทำให้มวลโมเลกุลของสารมีหลายๆค่าจึงทำให้ในกราฟมีทั้ง M,M+1,M+2 … สิ่งที่ควรรู้ไว้คือ ธาตุ H C N O S Cl Br ธาตุเหล่านี้พบได้หลาย Isotope แต่ F P I มักพบได้ Isotope เดียว ดังนั้นห้ามนำมวลโมเลกุลตามตารางธาตุทั่วไปมาคำนวณโดยเด็ดขาด ( เพราะอะไร )
  • 15. หลักการของ Mass Spectrometry 2. มี Peak อื่นๆ ที่มีค่า M/Z น้อยกว่ามวลโมเลกุลของสาร ที่เป็นเช่นนี้เพราะในขั้นตอนแรกของ นั้นใช้ e- พลังงานสูงถึง 70 eV ทำให้ไม่เพียงแต่ e- เท่านั้นที่หลุดออกมา แต่มันสามารถทำให้โมเลกุลแตกออกได้ ตามสมการ เรียกว่า Fragmentation
  • 16. หลักการของ Mass Spectrometry ซึ่งจะพบว่าจะได้สารที่เป็นประจุบวกหรือเป็นกลางซึ่งจากหลักการทำงานของจะได้ว่า สารที่มีประจุบวกเท่านั้นที่สามารถนำไปทดสอบได้ ดังนั้นส่วนของโมเลกุลที่แตกออกแล้วมีประจุบวกนั้นจะถูกตรวจจับโดย Mass Spectrometer ได้เช่นกัน ซึ่งจากกราฟด้านบนพบว่ามี Peak ที่อยู่ข้างๆ Parent Peak ซึ่งสูงกว่า Parent Peak เสียอีกซึ่งความสูงของ Peak นั้นขึ้นอยู่กับความเสถียรของไอออนนั้นๆเป็นหลักซึ่งบางทีอาจสูงกว่าไอออนของโมเลกุลนั้นๆเสียอีกถ้าโมเลกุลที่นำมาทดสอบมีความเสถียรต่ำ แต่เท่านี้ยังไม่พอ fragment ที่ปรากฏในกราฟอาจจะเกิดจากการที่ fragment อื่นๆมารวมตัวกันก็ได้ ข้อดีของการมี fragment มากๆคือ เราอาจสามารถนำกราฟที่ได้จาก Mass Spectrometer มาเป็น Fingerprint ของสารนั้นๆได้ สารประเภทต่างๆมีรูปแบบการแตกตัวต่างๆกัน
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23. Fragmentation Pattern 2.Branched-Alkane เช่น 2,2-dimethyl pentane 3. รูปแบบการแตกต่อๆไปจะเป็น 14 หรือ เป็นจำนวนเท่าของ 14 ก็ได้ ทั้งนี้เนื่องจาก Tertiary Carbocation เสถียรกว่า Secondary Carbocation เช่น 86->57 57->43->29->15 4. เส้นที่อยู่ข้างเคียงเส้นที่สูงเกิดจากการแตกนั้นบางครั้งไฮโดรเจนได้ถูกทำให้หลุดออกไปด้วย
  • 24. Fragmentation Pattern 5. ยิ่งมีกิ่งก้านสาขามากการจะพบ Parent Peak นั้นยากมากเพราะ โอกาสที่จะแตกเป็น Tertiary Carbocation และ Secondary Carbocation จะสูงขึ้นมาก 6. ที่ m/z=57 และ m/z=43 ควรมีโครงสร้างเป็นอย่างไรทำไมจึงพบได้มาก 2.Branched-Alkane เช่น 2,2-dimethyl pentane