SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงงานประเภททฤษฏี



โครงงานประเภททฤษฏี
เป็นโครงงานที่เสนอทฤษฏี หลักการใหม่ ตามแนวคิดของตนเอง
หรือการอธิบายแนวคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตรสมการ ใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล
ตัวอย่าง
              โครงงานภาษาไทย


                เรื่อง สังข์ทอง


                   ผู้จัดทา


   ๑. เด็กชายณัฐพล สรรพโชติ เลขที่ 10
   ๒. เด็กชายจักรพงษ์ แก้วประเสริฐ เลขที่ 3


              อาจารย์ที่ปรึกษา
         คุณครูอาภรณ์ พรหมทะสาร


           โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล
         อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงาน ภาษาไทย
หัวข้อโครงงาน ประวัติและความเป็นมาของละครพื้นบ้านเรื่อง สังข์ทอง

คณะผู้จัดทา เด็กชายณัฐพล สรรพโชติ เลขที่ 10 เด็กชายจักรพงษ์ แก้วประเสริฐ เลขที่ 3

ระดับชั้น             มัธยมศึกษาปีที่ ๑

ชื่ออาจารย์ครูผู้สอน คุณครูอาภรณ์ พรหมทะสาร

โรงเรียน             โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

ปี พ.ศ.                 ๒๕๕๕

ระยะเวลาทาโครงงาน วันที่ ๑๑ / ๒ / ๒๕๕๕ - ๑๓ / ๒ / ๒๕๕๕
บทคัดย่อ

สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวัณสังขชาดก ซึ่งเป็นนิทาน เรื่องหนึ่งในปัญญาสชาดกของท้องถิ่น ในภาคเหนือ
 และภาคใต้มีสถานที่ที่กล่าวถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทองกล่าวคือเล่ากันว่าเมืองทุ่งยั้ง เป็นเมืองท้าวสามนต์ ใกล้วัด
  มหาธาตุมีลานหินเป็นสนามตีคลีของพระสังข์ ส่วนในภาคใต้ เชื่อว่าเมืองตะกั่วป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์ และ
                                 เรียกภูเขาลูกหนึ่งว่า "เขาขมังม้า" เนื่องจากเมื่อ
                                     พระสังข์ตีคลีชนะได้ขี่ม้าข้ามภูเขานั้นไป




                                             กิตติกรรมประกาศ

              ในการทาโครงงานเรื่อง ประวัติและความเป็นมาของละครพื้นบ้านเรื่อง สังข์ทอง ทางคณะ
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานเรื่องนี้จะเป็นแหล่งความรู้แก่น้องรุ่นต่อไป และ ถ้าโครงงานเรื่องนี้มี
ข้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


                                                                                                       คณะ
ผู้จัดทา

                                                                                            ๑๒/ ๒ / ๒๕๕๕
บทที่ ๑ บทนา
                                    ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

           บทละครเรื่องสังข์ทองนี้ เป็นวรรณคดีเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจในการศึกษา มีมาตั้งแต่สมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะของละครนอก มีตัวละครที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เจ้า
เงาะซึ่งคือพระสังข์ กับนางรจนา เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนาเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม
ได้แก่ บทพระสังข์ได้นางรจนา เพื่อนามาประยุกต์เป็นการแสดงชุด รจนา-เสี่ยงพวงมาลัย

สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวัณสังขชาดก เป็นหนึ่งใน ชาดกพุทธประวัติ เป็นนิทานพื้นบ้านในภาคเหนือและ
ภาคใต้โดยที่สถานที่ที่กล่าวถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทอง
วัตถุประสงค์

        ๑. เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของละครนอก เรื่องสังข์ทอง

         ๒. เพื่อประโยชน์แก่ผู้ชมหรือผู้ฟัง


สมมติฐานของการศึกษา

         บทละครนอกเรื่องสังข์ทองมีประโยชน์ที่ดีและเหมาะสาหรับเก็บไว้อ่านสอบ

ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

๑. ศึกษาตามวิธีการของหนังสือเรียนวิวิธภาษา เรื่อง โครงงานเด่น เขียนเน้นกระบวนการ เป็นหนังสือ
เรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑

๒. ศึกษาในอินเทอร์เน็ตของเว็บ http://th.wikipedia.org และ http://www.st.ac.th/



นิยามคาศัพท์ การเลือกสรรคา
        คาที่ใช้เป็นคาง่าย แต่กลั่นกรองอย่างประณีต เหมาะสมกับตัวละครและเนื้อเรื่อง ในบทละครนอก
ส่วนใหญ่ใช้คาที่เป็นภาษาชาวบ้าน เพราะแลดงให้ชาวบ้านชม เดิมจะใช้ภาษาง่ายแต่อาจหยาบโลนไม่
ไพเราะ บทพระราชนิพนธ์จะใช้คาที่เป็นลักษณะเดียวกันแต่ขัดเกลาให้เรียบร้อยไพเราะกว่า ใช้ภาษากวีได้ดี
แม้ว่าจะเป็นการแต่งละครนอกซึ่งไม่มุ่งความงดงามองภาษามากนัก การเลือกสรรคามาใช้แบงออกได้
เป็น ๒ ลักษณะคือ
        ๑.การใช้คาให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง คือ ใช้คาจานวนน้อย กินใจความมาก ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย บท
ละครนอกจะดาเนินเรื่องไปอย่างรวดเร็ว การแต่งจึงค่อนข้างรวบรัดใช้คาที่เข้าใจง่าย
        ๒.การใช้คาให้เหมาะกับบุคคล เรื่องสังข์ทองมีบทบาทของบุคคลที่ต่างสถานภาพกันมากมาย รัชกาล
ที่ ๒ สามารถเลือกใช้ถ้อยคาได้เหมาะสมกับสถานภาพของบุคคล
เสียงเสนะ
        ความไพเราะในคากลอนได้จากสัมผัสอักษรและสัมผัส
สระ

จินตนาการ
      การบรรยายบางตอนทาให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพตามไปด้วย เช่น การบรรยายภาพ
ทะเล

กวีโวหาร
          กวีโวหาร คือการใช้ชั้นเชิงในการแต่งให้มีรสของถ้อยคาลึกซึ้งประทับใจ ได้แก่
          ๑.การใช้ภาษาให้เกิดภาพพจน์ คือ กลวิธีในการใช้ภาษาให้ข้อความนั้นกินใจ ชวนคิด ชวนให้
จดจา โดยไมใช่การบอกเล่าอย่างตรงไปตรงมา มีหลายวิธี เช่น
                 ๑.๑ วิธีอุปมาอุปไมย คือ การกล่าวเปรียบเทียบของสองสิ่งว่าสิ่งหนึ่ง เหมือนกับอีกสิ่ง
หนึ่ง ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมให้เห็นความรู้สึกชัดเจนยิ่งขึ้นกว่าคาอธิบายตามธรรมดา โดนใช้คาที่บ่งบอกว่า
เปรียบเทียบอย่างชัดเจน คือ คา
ว่า อุปมา เล่ห์ ดุจ กล เฉก เช่น เหมือน ราว ประดุจ เพียง เสมอ คล้าย
                 ๑.๒ วิธีอุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ไม่มีคาที่บ่งบอกการเปรียบให้
เห็นเหมือนอุปมา บางครั้งเรียกว่า เปรียบเป็น เพราะใช้คาว่า เป็น เท่า คือ
                 ๑.๓ บุคลาธิษฐาน คือ การสมมติให้สิ่งที่กล่าวถึงมีชีวิตเหมือนมนุษย์
          ๒. การพรรณนาและการบรรยายที่แจ่มแจ้งชัดเจน การพรรณนาแบบนี้ผู้อ่านจะสามารถนึก
ตาม เห็นภาพ เข้าใจถ้อยคาและข้อความอย่างแจ่มแจ้งลึกซึ้ง ซึ่งมีหลายวิธี เช่น
                 ๒.๑ การพรรณนาที่ทาให้เห็นภาพอย่าสงตรงไปตรงมา
                 ๒.๒ การบรรยายให้เห็นนาฏการ คือ ภาพความเคลื่อนไหวและบทบาททางอารมณ์ที่
เปลี่ยนแปลงไปของตัวละคร


รสในวรรณคดี
  รสในวรรณคดี คือ ลีลาอันไพเราะที่เกิดจากการแงคาประพันธ์ ซึ่งมี ดังนี้
๑.เสาวรจนี (ถ้อยคาชมโฉม) คือ บทที่ชมความงาม ส่วนใหญ่เป็นการชมความงามของตัวละคร
๒.นารีปราโมทย์ (ถ้อยคาเกี้ยวหรือบทโอ้โลม) เป็นบทที่แสดงความรักใคร่ หรือพูดจาโอ้โลมให้อีกฝ่ายหนึ่ง
ชื่นชอบ
๓.พิโรธวาทัง (ถ้อยคาแสดงความโกรธหรือบทตัดพ้อ) เป็นบทแสดงความโกรธ เคียดแค้น ตัดพ้อ เหน็บ
แนม เสียดสี ด้วยประการต่างๆ ๔.สัลลาปังคพิสัย (ถ้อยคาแสดงความโศก) เป็นบทพรรณนาความ
โศกเศร้า หรือคร่าครวญ
ความไพเราะหรือความดีเด่นของถ้อยคาในบทละครนอกนั้นเน้นหนักที่สานวนโวหารอันคมคาย การใช้ถ้อยคา
โต้ตอบกันอย่างเผ็ดร้อนแต่ก็น่าฟัง เพราะเป็นคารมที่เฉียบแหลม ทาให้มองเห็นลักษณะของ “ละคร
ชาวบ้าน” ซึ่งการใช้ภาษาไม่ละเมียดละไม ประณีตบรรจงเท่ากับละครใน ซึ่งละครนอกจะใช้คาง่าย ตรงไปตง
มา และสนุกแบบ “สาแก่ใจ” ผู้ชม

                                            บทที่ ๒ เอกสาร

เรื่องย่อ

 ท้าวยศวิมลมีมเหสีชื่อนางจันท์เทวี มีสนมเอกชื่อนางจันทาเทวี ไม่มีโอรสธิดา จึงบวงสรวงและรักษาศีลห้าเพื่อ
ขอบุตร และประกาศแก่พระมเหสีและนางสนมว่าถ้าใครมีโอรสก็จะมอบเมืองให้ครอง

อยู่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์ เทวบุตรจุติมา เป็นพระโอรสของนาง แต่ประสูติมาเป็นหอยสังข์ นางจันทาเทวี
เกิดความริษยาจึงติดสินบนโหรหลวงให้ทานายว่าหอยสังข์จะทาให้บ้านเมืองเกิดความหายนะ ท้าวยศวิมล
หลงเชื่อนางจันทาเทวี จึงจาใจต้องเนรเทศนางจันท์เทวีและหอยสังข์ไปจากเมือง

นางจันท์เทวีพาหอยสังข์ไปอาศัยตายายช่าวไร่ ช่วยงานตายายเป็นเวลา 5 ปี พระโอรสในหอยสังข์แอบออกมา
ช่วยทางาน เช่น หุงหาอาหาร ไล่ไก่ไม่ให้จิกข้าว เมื่อนางจันท์เทวีทราบก็ทุบหอยสังข์เสีย

ในเวลาต่อมา พระนางจันทาเทวีได้ไปว่าจ้างแม่เฒ่าสุเมธาให้ช่วยทาเสน่ห์เพื่อที่ท้าวยศวิมลจะได้หลงอยู่ในมนต์
สะกด และได้ยุยงให้ท้าวยศวิมลไปจับตัวพระสังข์มาประหาร ท้าวยศวิมลจึงมีบัญชาให้จับตัวพระสังข์มาถ่วงน้า
แต่ท้าวภุชงค์(พญานาค) ราชาแห่งเมืองบาดาลก็มาช่วยไว้ และนาไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม ก่อนจะส่งให้นาง
พันธุรัตเลี้ยงดูต่อไปจนพระสังข์มีอายุได้ 15 ปีบริบูรณ์

วันหนึ่ง นางพันธุรัตได้ไปหาอาหาร พระสังข์ได้แอบไปเที่ยวเล่นที่หลังวัง และได้พบกับบ่อเงิน บ่อทอง รูปเงาะ
เกือกทอง(รองเท้าทองนั้นเอง) ไม้พลอง และพระสังข์ก็รู้ความจริงว่านางพันธุรัตเป็นยักษ์ เมื่อพระสังข์พบเข้า
กับโครงกระดูก จึงได้เตรียมแผนการหนีด้วยการสวมกระโดดลงไปชุบตัวในบ่อทอง สวมรูปเงาะ กับเกือกทอง
และขโมยไม้พลองเหาะหนีไป

เมื่อนางพันธุรัตทราบว่าพระสังข์หนีไป ก็ออกตามหาจนพบพระสังข์อยู่บนเขาลูกหนึ่ง จึงขอร้องให้พระสังข์ลง
มา แต่พระสังข์ก็ไม่ยอม นางพันธุรัตจึงเขียนมหาจินดามนตร์ที่ใช้เรียกเนื้อเรียกปลาได้ไว้ที่ก้อนหิน ก่อนที่นาง
จะอกแตกตาย ซึ่งพระสังข์ได้ลงมาท่องมหาจินดามนตร์จนจาได้ และได้สวมรูปเงาะออกเดินทางต่อไป
พระสังข์เดินทางมาถึงเมืองสามล ซึ่งมีท้าวสามลและพระนางมณฑาปกครองเมือง ซึ่งท้าวสามลและพระนาง
มณฑามีธิดาล้วนถึง 7 พระองค์ โดยเฉพาะ พระธิดาองค์สุดท้องที่ชื่อ รจนา มีสิริโฉมเลิศล้ากว่าธิดาทุกองค์ จน
วันหนึ่ง ท้าวสามลได้จัดให้มีพิธีเสี่ยงมาลัยเลือกคู่ให้ธิดาทั้งเจ็ด ซึ่งธิดาทั้ง 6 ต่างเสี่ยงมาลัยได้คู่ครองทั้งสิ้น เว้น
แต่นางรจนาที่มิได้เลือกเจ้าชายองค์ใดเป็นคู่ครอง ท้าวสามลจึงได้ให้ทหารไปนาตัวพระสังข์ในร่างเจ้าเงาะซึ่ง
เป็นชายเพียงคนเดียวที่เหลือในเมืองสามล ซึ่งนางรจนาเห็นรูปทองภายในของเจ้าเงาะ จึงได้เสี่ยงพวงมาลัยให้
เจ้าเงาะ ทาให้ท้าวสามลโกรธมาก เนรเทศนางรจนาไปอยู่ที่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ

ท้าวสามลคิดจะกาจัดเจ้าเงาะทุกวิถีทาง จึงได้ให้เขยทั้งหมดไปจับปลามาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์จึงได้ถอด
รูปเงาะออก และท่องมหาจินดามนตร์จนได้ปลามานับร้อย ส่วนหกเขยจับปลาไม่ได้เลยสักตัว จึงเข้ามาขอพระ
สังข์เพราะคิดว่าเป็นเทวดา พระสังข์ก็ยินดีให้ แต่ต้องแลกกับปลายจมูกของหกเขยด้วย

ต่อมา ท้าวสามลได้ให้เขยทั้งหมดไปหาเนื้อมาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์ก็ใช้มหาจินดามนตร์จนได้เนื้อมานับ
ร้อย ส่วนหกเขยก็หาไม่ได้อีกตามเคย และได้เข้ามาขอพระสังข์ พระสังข์ก็ยินดีให้ แต่ต้องแลกกับปลายหูของ
หกเขยด้วย

ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระอินทร์ อาสน์ที่ประทับของพระอินทร์เกิดแข็งกระด้าง อันเป็นสัญญาณว่ามีผู้มี
บุญกาลังเดือดร้อน จึงส่องทิพยเนตรลงไปพบเหตุการณ์ในเมืองสามล จึงได้แปลงกายเป็นกษัตริย์เมืองยกทัพ
ไปล้อมเมืองสามล ท้าให้ท้าวสามลออกมาแข่งตีคลีกับพระองค์ หากท้าวสามลแพ้ พระองค์จะยึดเมืองสามล
เสีย

ท้าวสามลส่งหกเขยไปแข่งตีคลีกับพระอินทร์ แต่ก็แพ้ไม่เป็นท่า จึงจาต้องเรียกเจ้าเงาะให้มาช่วยตีคลี ซึ่งนาง
รจนาได้ขอร้องให้สามีช่วยถอดรูปเงาะมาช่วยตีคลี เจ้าเงาะถูกขอร้องจนใจอ่อน และยอมถอดรูปเงาะมาช่วย
เมืองสามลตีคลีจนชนะในที่สุด

หลังจากเสร็จภารกิจที่เมืองสามลแล้ว พระอินทร์ได้ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล และเปิดโปงความชั่วของพระนางจัน
ทาเทวี พร้อมกับสั่งให้ท้าวยศวิมลไปรับพระนางจันท์เทวีกับพระสังข์มาอยู่ด้วยกันดังเดิม ท้าวยศวิมลจึงยก
ขบวนเสด็จไปรับพระนางจันท์เทวีกลับมา และพากันเดินทางไปยังเมืองสามลเมื่อตามหาพระสังข์

ท้าวยศวิมลและพระนางจันท์เทวีปลอมตัวเป็นสามัญชนเข้าไปอยู่ในวัง โดยท้าวยศวิมลเข้าไปสมัครเป็นช่าง
สานกระบุง ตะกร้า ส่วนพระนางจันท์เทวีเข้าไปสมัครเป็นแม่ครัว และในวันหนึ่ง พระนางจันท์เทวีก็ปรุงแกง
ฟักถวายพระสังข์ โดยพระนางจันท์เทวีได้แกะสลักชิ้นฟักเจ็ดชิ้นเป็นเรื่องราวของพระสังข์ตั้งแต่เยาว์วัย ทาให้
พระสังข์รู้ว่าพระมารดาตามมาแล้ว จึงมาที่ห้องครัวและได้พบกับพระมารดาที่พลัดพรากจากกันไปนานอีกครั้ง

หลังจากนั้น ท้าวยศวิมล พระนางจันท์เทวี พระสังข์กับนางรจนาได้เดินทางกลับเมืองยศวิมล ท้าวยศวิมลได้สั่ง
ประหารพระนางจันทาเทวี และสละราชสมบัติให้พระสังข์ได้ครองราชย์สืบต่อมา

ลักษณะของบทละคร              บทละครมีทั้งหมด 9 ตอนดังนี้
1.   กาเนิดพระสังข์
    2.   ถ่วงพระสังข์
    3.   นางพันธุรัตน์เลี้ยงพระสังข์
    4.   พระสังข์หนีนางพันธุรัต
    5.   ท้าวสามลให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่
    6.   ท้าวสามลให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ
    7.   พระสังข์ตีคลี
    8.   ท้าวยศวิมลตามพระสังข์

ลักษณะตัวละครในเรื่อง สังข์ทอง          ตัวละครที่สาคัญในเรื่องสังข์ทองมีอยู่ ๕ กลุ่ม คือ ตัวเอก ตัวโกง
พระราชา พระมเหสี และตัวละครอมนุษย์
ตัวเอก
          ตัวเอกฝ่ายชายมักเป็นกษัตริย์หรือบุคคลชั้นสูง เพราะไทยเราได้เค้าเรื่องมาจากวรรณคดีฮินดูซึ่งนิยม
เล่าเรื่องราวของชนชั้นสูง และยังได้เค้าเรื่องมาจากชาดกซึ่งเชื่อว่าพระโพธิสัตว์เป็นผู้มีบุญญาธิการกว่ามนุษย์
ธรรมดา ตัวเอกในนิทานมักมีบุคลิกภาพเดียวกัน คือเป็นผู้มีบุญมาเกิดเพื่อปราบยุคเข็ญ และชดใช้หนี้เวรอัน
เป็นผลกรรมของชาติที่แล้ว ดังนั้นตัวเอกจึงต้องรับผลวิบากกรรมในชาตินี้ คือถูกตัวละคร
ฝ่าย

พระสังข์
        พระสังข์เป็นตัวเอกที่มีรูปงามตามแบบการสร้างตัวเอกในวรรณคดีไทย ทั่วไป แต่ในตอนเด็กปรากฏ
เป็น ๒ รูป คือ รูปหอยสังข์กับรูปกุมาร ส่วนตอนเป็นหนุ่มก็มี ๒ รูปเช่นเดียวกัน คือ รูปเงาะกับรูปทอง ทั้ง
รูปหอยสังข์และรูปเงาะเปรียบเสมือน “ เกาะ” คุ้มครองพระสังข์ ในตอนเด็กเมื่อนางจันท์เทวีต่อยหอยสังข์
แตกแหลกไป พระสังข์ร้องไห้คร่าครวญ ต่อว่าพระมารดาว่า พระแม่ต่อยสังข์ดังชีวิต จะชมชิดลูกนี้สักกี่
วัน ซึ่งเป็นการบอกเป็นนัยๆ ถึงภัยที่จะมาถึงและต่อมาพระองค์ก็ถูกจับไปถ่วงน้า เพราะเมื่อไม่ได้ซ่อนตัว
อยู่ในหอยสังข์ ชาวบ้านก็เห็นและเล่าลือกันต่อๆไป จนท้าวยศวิมลและนางจันทารู้ ส่วนรูปเงาะนั้นพระสังข์
กราบทูลท้าวสามลว่า “ ซึ่งแปลงมาจะหาคู่ครอง ” ซึ่งแสดงว่ารูปเงาะนี้นอกจากจะเป็นของวิเศษ เป็นเกราะ
กาบังแล้ว ยังเป็นเครื่องมือในการหาคู่ครองที่เหมาะสมคือมีบุญบารมีเทียบเท่ากันด้วย


         การวิเคราะห์ตัวเอก เป็นการเน้นในลักษณะเด่น อุปนิสัย และบทบาทดังนี้


         ๑. ความมีบุญญาธิการ เรื่องชาดกมักจะเน้นความมีบุญของพระโพธิสัตว์ แต่ขณะเดียวกันผู้คนก็มี
ความเชื่อในไสยศาสตร์ด้วย การกาจัดพระโอรสท่ามีกาเนิดผิดปรกติเพื่อความปลอดภัยของบ้านเมือง
เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางไสยศาสตร์มาก แต่พระโอรสสังข์ทองเป็นผู้มีบุญจะฆ่าอย่างไรๆ ก็ไม่
ตาย นอกจากนี้ยังมีของวิเศษที่ไม่มีใครทาลายล้างได้ คือ รูปเงาะ เกือกแก้ว และไม้เท้า ซึ่งช่วยให้พระ
สังข์กระทาการสาเร็จทุกอย่าง รวมทั้งมากจินดามนตร์ที่นางพันธุรัต “เตรียม” ไว้ให้พระสังข์ในตอนที่ถูก
ทดสอบ โดยมีชีวิตเป็นเดิมพัน การที่สร้างเรื่องไว้ว่าเทวดาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์มาจุติเป็นพระสังข์ เป็นการปู
พื้นฐานให้ผู้อ่านรู้สึกว่า ความมีบุญญาธิการของพระสังข์เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผล ไม่มหัศจรรย์พ้นวิสัย
จนเกินไปนัก
         ๒. ความกตัญญู พระสังข์มีความกตัญญูต่อพระมารดา ตั้งแต่เล็กก็ได้ออกมาจากหอยสังข์ ช่วยพระ
มารดาทางานบ้าน เนื่องจากพระมารดาไปก็ครุ่นคิดถึงนาง เป็นห่วงนางอยู่ตลอดเวลา พอมีโอกาสพบนาง
โดยไม่คาดฝัน พระองค์ก็โศกศัลย์จนสิ้นสติไป และเมื่อนางจันท์เทวีขอให้ยกโทษให้กับท้าวยศวิมลว่า “เจ้า
อย่าปองจิตคิดร้าย พยาบาทมาดหมายแก่บิดา” พระสังข์ก็ไม่ได้ถือโทษโกรธเคือง
สาหรับนางพันธุรัตนั้น นางเป็นแม่ที่อุ้มชูเลี้ยงดูพระสังข์มาแต่เล็กจนโต ให้ความรักเสมอต้นเสมอปลาย แต่
การที่นางไม่ยอมเปิดเผยความจริงให้รู้ว่านางเป็นยักษ์ ทาให้พระสังข์ เกิดความไม่ไว้วางใจ ประกอบกับความ
ต้องการที่จะไปตามหาแม่จริง ที่จากกันไปถึงสิบปีมีมากกว่า พระสังข์จึงต้องทิ้งนางไป หากจะกล่าวว่าพระ
สังข์อกตัญญูต่อนางพันธุรัต ก็เป็นการกล่าวอย่างไม่ยุติธรรมนัก เนื่องจากพระองค์หนีนางด้วยความกลัว
และถ้าหากจะชั่งน้าหนักระหว่าง “ แม่จริง ” ซึ่งกาลังตกระกาลาบาก ใช้ชีวิตอย่างสุดลาเค็ญ เสี่ยงต่อการถูก
ตามฆ่าจากพระสวามีที่ถูกเสน่ห์และเมียน้อยผู้เหี้ยมโหด กับ “ แม่เลี้ยง ” ผู้มีอิทธิฤทธิ์ อานาจ ข้าราช
บริพารพร้อมสรรพแล้ว ความรู้สึกของพระสังข์ย่อมเอนเอียงไปทางแม่จริงซึ่งอยู่ในฐานะด้อยกว่าอย่าง
แน่นอน
         ๓. ความฉลาดรอบคอบ พระสังข์เป็นคนที่ฉลาด เอาตัวรอด บางครั้งก็ใช้ความลาดนี้มาทดสอบ
ลองใจคนอื่น ดังที่ผู้นิพนธ์บทละครมักเรียกว่า “ เจ้าเงาะแสนกล ” พระองค์แกล้งสวมรูปเงาะทาเป็นบ้า
ใบ้ จึงได้รู้ซึ้งถึงจิตใจ ของคนรอบข้างว่าคิดกับพระองค์อย่างไร พระสังข์ย่อมรู้ดีว่าท้าวสามนต์ เกลียดและ
รังเกียจเจ้าเงาะ จึงกลั่นแกล้งให้ไปหาปลาหาเนื้อ แม้หามาได้แล้วก็ไม่ยอมรับ กลับพยายามหาทางแกล้ง
ต่อไป เพื่อเอาผิดและประหารเจ้าเงาะให้ได้ ขณะเดียวกันก็ลาเอียงเข้าหาหกเขยซึ่งมีรูปงามและมีพวก
มาก พระองค์จึงสั่งสอนหกเขยด้วยการตัดจมูกตัดใบหูหกเขยเพื่อ “ ประจาน ” ในฐานะที่ชอบโอ้อวดตัว
และเยาะเย้ยคนอื่น ผลที่ได้ก็คือ หกเขยเปลี่ยนนิสัยไปเป็นทางตรงกันข้าม ไม่หาเรื่องดูถูกดูหมิ่นคนที่ด้อย
กว่า ผลนี้กระทบไปถึงหกนางผู้มักเหยียบย่านางรจนาด้วย การสั่งสอนนี้อาจจะก้าวร้าวรุนแรงไปบ้างใน
สายตาของคนทั่วไป แต่ถ้าหากพิจารณาให้ดีแล้ว หกเขยผู้ทะนงหลงตัวเองว่ารูปงาม มียศศักดิ์ เมื่อถูก “
ทาลาย ” รูปงามนั้นเสียแล้ว ก็คงหมดหนทางที่จะคงความหยิ่งยโสอีกต่อไป
ตัวเอกฝ่ายหญิงคือนางรจนานั้นเป็นนางแก้วคู่บารมีของพระเอก มีบทบาทในทางส่งเสริมพระเอก
ตัวโกง
         ตัวโกง คือตัวละครฝ่ายตรงข้ามกับตัวเอก มักมีบทบาทร้ายเพียงด้านเดียว ไม่มีคุณธรรม ไม่ปฏิบัติ
ตนตามหลักศีลธรรม บทบาทของตัวโกงจะเป็นไปในทานองเดียวกัน คือทาให้คู่รักหรือสามีภรรยาต้องพลัด
พรากจากกัน หรือมีพฤติการณ์ไม่ดี คอยอิจฉาริษยาต

ที่มาตัวอย่างโครงงาน :
http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=18412

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
Guntima NaLove
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
Tanyarad Chansawang
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
A-NKR Ning
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
pink2543
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 

Was ist angesagt? (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Ähnlich wie โครงงานประเภททฤษฏี

ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
apiradee037
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
apiradee037
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
CUPress
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
Tae'cub Rachen
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
Methaporn Meeyai
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
Nattha Namm
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
Mu Koy
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
mayavee16
 

Ähnlich wie โครงงานประเภททฤษฏี (20)

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
 
9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
2
22
2
 
แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313แนวข้อสอบรายวิชา313
แนวข้อสอบรายวิชา313
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 

Mehr von Nuchy Geez

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Nuchy Geez
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
Nuchy Geez
 
งานแพง
งานแพงงานแพง
งานแพง
Nuchy Geez
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
Nuchy Geez
 
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
Nuchy Geez
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
Nuchy Geez
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
Nuchy Geez
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
Nuchy Geez
 

Mehr von Nuchy Geez (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
Onet thai
Onet thaiOnet thai
Onet thai
 
Onet social
Onet socialOnet social
Onet social
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
Onet eng
Onet engOnet eng
Onet eng
 
Pat 5
Pat 5Pat 5
Pat 5
 
Pat 4
Pat 4Pat 4
Pat 4
 
Pat 3
Pat 3Pat 3
Pat 3
 
Pat 2
Pat 2Pat 2
Pat 2
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
K10
K10K10
K10
 
K11
K11K11
K11
 
งานแพง
งานแพงงานแพง
งานแพง
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
ความหมาย โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ขอบข่าย
ขอบข่ายขอบข่าย
ขอบข่าย
 

โครงงานประเภททฤษฏี

  • 2. ตัวอย่าง โครงงานภาษาไทย เรื่อง สังข์ทอง ผู้จัดทา ๑. เด็กชายณัฐพล สรรพโชติ เลขที่ 10 ๒. เด็กชายจักรพงษ์ แก้วประเสริฐ เลขที่ 3 อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูอาภรณ์ พรหมทะสาร โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี รายงานนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงาน ภาษาไทย
  • 3. หัวข้อโครงงาน ประวัติและความเป็นมาของละครพื้นบ้านเรื่อง สังข์ทอง คณะผู้จัดทา เด็กชายณัฐพล สรรพโชติ เลขที่ 10 เด็กชายจักรพงษ์ แก้วประเสริฐ เลขที่ 3 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชื่ออาจารย์ครูผู้สอน คุณครูอาภรณ์ พรหมทะสาร โรงเรียน โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ระยะเวลาทาโครงงาน วันที่ ๑๑ / ๒ / ๒๕๕๕ - ๑๓ / ๒ / ๒๕๕๕
  • 4. บทคัดย่อ สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวัณสังขชาดก ซึ่งเป็นนิทาน เรื่องหนึ่งในปัญญาสชาดกของท้องถิ่น ในภาคเหนือ และภาคใต้มีสถานที่ที่กล่าวถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทองกล่าวคือเล่ากันว่าเมืองทุ่งยั้ง เป็นเมืองท้าวสามนต์ ใกล้วัด มหาธาตุมีลานหินเป็นสนามตีคลีของพระสังข์ ส่วนในภาคใต้ เชื่อว่าเมืองตะกั่วป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์ และ เรียกภูเขาลูกหนึ่งว่า "เขาขมังม้า" เนื่องจากเมื่อ พระสังข์ตีคลีชนะได้ขี่ม้าข้ามภูเขานั้นไป กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงงานเรื่อง ประวัติและความเป็นมาของละครพื้นบ้านเรื่อง สังข์ทอง ทางคณะ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานเรื่องนี้จะเป็นแหล่งความรู้แก่น้องรุ่นต่อไป และ ถ้าโครงงานเรื่องนี้มี ข้อผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะ ผู้จัดทา ๑๒/ ๒ / ๒๕๕๕
  • 5. บทที่ ๑ บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน บทละครเรื่องสังข์ทองนี้ เป็นวรรณคดีเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจในการศึกษา มีมาตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะของละครนอก มีตัวละครที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เจ้า เงาะซึ่งคือพระสังข์ กับนางรจนา เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนาเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม ได้แก่ บทพระสังข์ได้นางรจนา เพื่อนามาประยุกต์เป็นการแสดงชุด รจนา-เสี่ยงพวงมาลัย สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวัณสังขชาดก เป็นหนึ่งใน ชาดกพุทธประวัติ เป็นนิทานพื้นบ้านในภาคเหนือและ ภาคใต้โดยที่สถานที่ที่กล่าวถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทอง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของละครนอก เรื่องสังข์ทอง ๒. เพื่อประโยชน์แก่ผู้ชมหรือผู้ฟัง สมมติฐานของการศึกษา บทละครนอกเรื่องสังข์ทองมีประโยชน์ที่ดีและเหมาะสาหรับเก็บไว้อ่านสอบ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ๑. ศึกษาตามวิธีการของหนังสือเรียนวิวิธภาษา เรื่อง โครงงานเด่น เขียนเน้นกระบวนการ เป็นหนังสือ เรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. ศึกษาในอินเทอร์เน็ตของเว็บ http://th.wikipedia.org และ http://www.st.ac.th/ นิยามคาศัพท์ การเลือกสรรคา คาที่ใช้เป็นคาง่าย แต่กลั่นกรองอย่างประณีต เหมาะสมกับตัวละครและเนื้อเรื่อง ในบทละครนอก ส่วนใหญ่ใช้คาที่เป็นภาษาชาวบ้าน เพราะแลดงให้ชาวบ้านชม เดิมจะใช้ภาษาง่ายแต่อาจหยาบโลนไม่ ไพเราะ บทพระราชนิพนธ์จะใช้คาที่เป็นลักษณะเดียวกันแต่ขัดเกลาให้เรียบร้อยไพเราะกว่า ใช้ภาษากวีได้ดี แม้ว่าจะเป็นการแต่งละครนอกซึ่งไม่มุ่งความงดงามองภาษามากนัก การเลือกสรรคามาใช้แบงออกได้
  • 6. เป็น ๒ ลักษณะคือ ๑.การใช้คาให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง คือ ใช้คาจานวนน้อย กินใจความมาก ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย บท ละครนอกจะดาเนินเรื่องไปอย่างรวดเร็ว การแต่งจึงค่อนข้างรวบรัดใช้คาที่เข้าใจง่าย ๒.การใช้คาให้เหมาะกับบุคคล เรื่องสังข์ทองมีบทบาทของบุคคลที่ต่างสถานภาพกันมากมาย รัชกาล ที่ ๒ สามารถเลือกใช้ถ้อยคาได้เหมาะสมกับสถานภาพของบุคคล เสียงเสนะ ความไพเราะในคากลอนได้จากสัมผัสอักษรและสัมผัส สระ จินตนาการ การบรรยายบางตอนทาให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพตามไปด้วย เช่น การบรรยายภาพ ทะเล กวีโวหาร กวีโวหาร คือการใช้ชั้นเชิงในการแต่งให้มีรสของถ้อยคาลึกซึ้งประทับใจ ได้แก่ ๑.การใช้ภาษาให้เกิดภาพพจน์ คือ กลวิธีในการใช้ภาษาให้ข้อความนั้นกินใจ ชวนคิด ชวนให้ จดจา โดยไมใช่การบอกเล่าอย่างตรงไปตรงมา มีหลายวิธี เช่น ๑.๑ วิธีอุปมาอุปไมย คือ การกล่าวเปรียบเทียบของสองสิ่งว่าสิ่งหนึ่ง เหมือนกับอีกสิ่ง หนึ่ง ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมให้เห็นความรู้สึกชัดเจนยิ่งขึ้นกว่าคาอธิบายตามธรรมดา โดนใช้คาที่บ่งบอกว่า เปรียบเทียบอย่างชัดเจน คือ คา ว่า อุปมา เล่ห์ ดุจ กล เฉก เช่น เหมือน ราว ประดุจ เพียง เสมอ คล้าย ๑.๒ วิธีอุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ไม่มีคาที่บ่งบอกการเปรียบให้ เห็นเหมือนอุปมา บางครั้งเรียกว่า เปรียบเป็น เพราะใช้คาว่า เป็น เท่า คือ ๑.๓ บุคลาธิษฐาน คือ การสมมติให้สิ่งที่กล่าวถึงมีชีวิตเหมือนมนุษย์ ๒. การพรรณนาและการบรรยายที่แจ่มแจ้งชัดเจน การพรรณนาแบบนี้ผู้อ่านจะสามารถนึก ตาม เห็นภาพ เข้าใจถ้อยคาและข้อความอย่างแจ่มแจ้งลึกซึ้ง ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ๒.๑ การพรรณนาที่ทาให้เห็นภาพอย่าสงตรงไปตรงมา ๒.๒ การบรรยายให้เห็นนาฏการ คือ ภาพความเคลื่อนไหวและบทบาททางอารมณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปของตัวละคร รสในวรรณคดี รสในวรรณคดี คือ ลีลาอันไพเราะที่เกิดจากการแงคาประพันธ์ ซึ่งมี ดังนี้ ๑.เสาวรจนี (ถ้อยคาชมโฉม) คือ บทที่ชมความงาม ส่วนใหญ่เป็นการชมความงามของตัวละคร ๒.นารีปราโมทย์ (ถ้อยคาเกี้ยวหรือบทโอ้โลม) เป็นบทที่แสดงความรักใคร่ หรือพูดจาโอ้โลมให้อีกฝ่ายหนึ่ง
  • 7. ชื่นชอบ ๓.พิโรธวาทัง (ถ้อยคาแสดงความโกรธหรือบทตัดพ้อ) เป็นบทแสดงความโกรธ เคียดแค้น ตัดพ้อ เหน็บ แนม เสียดสี ด้วยประการต่างๆ ๔.สัลลาปังคพิสัย (ถ้อยคาแสดงความโศก) เป็นบทพรรณนาความ โศกเศร้า หรือคร่าครวญ ความไพเราะหรือความดีเด่นของถ้อยคาในบทละครนอกนั้นเน้นหนักที่สานวนโวหารอันคมคาย การใช้ถ้อยคา โต้ตอบกันอย่างเผ็ดร้อนแต่ก็น่าฟัง เพราะเป็นคารมที่เฉียบแหลม ทาให้มองเห็นลักษณะของ “ละคร ชาวบ้าน” ซึ่งการใช้ภาษาไม่ละเมียดละไม ประณีตบรรจงเท่ากับละครใน ซึ่งละครนอกจะใช้คาง่าย ตรงไปตง มา และสนุกแบบ “สาแก่ใจ” ผู้ชม บทที่ ๒ เอกสาร เรื่องย่อ ท้าวยศวิมลมีมเหสีชื่อนางจันท์เทวี มีสนมเอกชื่อนางจันทาเทวี ไม่มีโอรสธิดา จึงบวงสรวงและรักษาศีลห้าเพื่อ ขอบุตร และประกาศแก่พระมเหสีและนางสนมว่าถ้าใครมีโอรสก็จะมอบเมืองให้ครอง อยู่มานางจันท์เทวีทรงครรภ์ เทวบุตรจุติมา เป็นพระโอรสของนาง แต่ประสูติมาเป็นหอยสังข์ นางจันทาเทวี เกิดความริษยาจึงติดสินบนโหรหลวงให้ทานายว่าหอยสังข์จะทาให้บ้านเมืองเกิดความหายนะ ท้าวยศวิมล หลงเชื่อนางจันทาเทวี จึงจาใจต้องเนรเทศนางจันท์เทวีและหอยสังข์ไปจากเมือง นางจันท์เทวีพาหอยสังข์ไปอาศัยตายายช่าวไร่ ช่วยงานตายายเป็นเวลา 5 ปี พระโอรสในหอยสังข์แอบออกมา ช่วยทางาน เช่น หุงหาอาหาร ไล่ไก่ไม่ให้จิกข้าว เมื่อนางจันท์เทวีทราบก็ทุบหอยสังข์เสีย ในเวลาต่อมา พระนางจันทาเทวีได้ไปว่าจ้างแม่เฒ่าสุเมธาให้ช่วยทาเสน่ห์เพื่อที่ท้าวยศวิมลจะได้หลงอยู่ในมนต์ สะกด และได้ยุยงให้ท้าวยศวิมลไปจับตัวพระสังข์มาประหาร ท้าวยศวิมลจึงมีบัญชาให้จับตัวพระสังข์มาถ่วงน้า แต่ท้าวภุชงค์(พญานาค) ราชาแห่งเมืองบาดาลก็มาช่วยไว้ และนาไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม ก่อนจะส่งให้นาง พันธุรัตเลี้ยงดูต่อไปจนพระสังข์มีอายุได้ 15 ปีบริบูรณ์ วันหนึ่ง นางพันธุรัตได้ไปหาอาหาร พระสังข์ได้แอบไปเที่ยวเล่นที่หลังวัง และได้พบกับบ่อเงิน บ่อทอง รูปเงาะ เกือกทอง(รองเท้าทองนั้นเอง) ไม้พลอง และพระสังข์ก็รู้ความจริงว่านางพันธุรัตเป็นยักษ์ เมื่อพระสังข์พบเข้า กับโครงกระดูก จึงได้เตรียมแผนการหนีด้วยการสวมกระโดดลงไปชุบตัวในบ่อทอง สวมรูปเงาะ กับเกือกทอง และขโมยไม้พลองเหาะหนีไป เมื่อนางพันธุรัตทราบว่าพระสังข์หนีไป ก็ออกตามหาจนพบพระสังข์อยู่บนเขาลูกหนึ่ง จึงขอร้องให้พระสังข์ลง มา แต่พระสังข์ก็ไม่ยอม นางพันธุรัตจึงเขียนมหาจินดามนตร์ที่ใช้เรียกเนื้อเรียกปลาได้ไว้ที่ก้อนหิน ก่อนที่นาง จะอกแตกตาย ซึ่งพระสังข์ได้ลงมาท่องมหาจินดามนตร์จนจาได้ และได้สวมรูปเงาะออกเดินทางต่อไป
  • 8. พระสังข์เดินทางมาถึงเมืองสามล ซึ่งมีท้าวสามลและพระนางมณฑาปกครองเมือง ซึ่งท้าวสามลและพระนาง มณฑามีธิดาล้วนถึง 7 พระองค์ โดยเฉพาะ พระธิดาองค์สุดท้องที่ชื่อ รจนา มีสิริโฉมเลิศล้ากว่าธิดาทุกองค์ จน วันหนึ่ง ท้าวสามลได้จัดให้มีพิธีเสี่ยงมาลัยเลือกคู่ให้ธิดาทั้งเจ็ด ซึ่งธิดาทั้ง 6 ต่างเสี่ยงมาลัยได้คู่ครองทั้งสิ้น เว้น แต่นางรจนาที่มิได้เลือกเจ้าชายองค์ใดเป็นคู่ครอง ท้าวสามลจึงได้ให้ทหารไปนาตัวพระสังข์ในร่างเจ้าเงาะซึ่ง เป็นชายเพียงคนเดียวที่เหลือในเมืองสามล ซึ่งนางรจนาเห็นรูปทองภายในของเจ้าเงาะ จึงได้เสี่ยงพวงมาลัยให้ เจ้าเงาะ ทาให้ท้าวสามลโกรธมาก เนรเทศนางรจนาไปอยู่ที่กระท่อมปลายนากับเจ้าเงาะ ท้าวสามลคิดจะกาจัดเจ้าเงาะทุกวิถีทาง จึงได้ให้เขยทั้งหมดไปจับปลามาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์จึงได้ถอด รูปเงาะออก และท่องมหาจินดามนตร์จนได้ปลามานับร้อย ส่วนหกเขยจับปลาไม่ได้เลยสักตัว จึงเข้ามาขอพระ สังข์เพราะคิดว่าเป็นเทวดา พระสังข์ก็ยินดีให้ แต่ต้องแลกกับปลายจมูกของหกเขยด้วย ต่อมา ท้าวสามลได้ให้เขยทั้งหมดไปหาเนื้อมาให้ได้คนละร้อยตัว พระสังข์ก็ใช้มหาจินดามนตร์จนได้เนื้อมานับ ร้อย ส่วนหกเขยก็หาไม่ได้อีกตามเคย และได้เข้ามาขอพระสังข์ พระสังข์ก็ยินดีให้ แต่ต้องแลกกับปลายหูของ หกเขยด้วย ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ของพระอินทร์ อาสน์ที่ประทับของพระอินทร์เกิดแข็งกระด้าง อันเป็นสัญญาณว่ามีผู้มี บุญกาลังเดือดร้อน จึงส่องทิพยเนตรลงไปพบเหตุการณ์ในเมืองสามล จึงได้แปลงกายเป็นกษัตริย์เมืองยกทัพ ไปล้อมเมืองสามล ท้าให้ท้าวสามลออกมาแข่งตีคลีกับพระองค์ หากท้าวสามลแพ้ พระองค์จะยึดเมืองสามล เสีย ท้าวสามลส่งหกเขยไปแข่งตีคลีกับพระอินทร์ แต่ก็แพ้ไม่เป็นท่า จึงจาต้องเรียกเจ้าเงาะให้มาช่วยตีคลี ซึ่งนาง รจนาได้ขอร้องให้สามีช่วยถอดรูปเงาะมาช่วยตีคลี เจ้าเงาะถูกขอร้องจนใจอ่อน และยอมถอดรูปเงาะมาช่วย เมืองสามลตีคลีจนชนะในที่สุด หลังจากเสร็จภารกิจที่เมืองสามลแล้ว พระอินทร์ได้ไปเข้าฝันท้าวยศวิมล และเปิดโปงความชั่วของพระนางจัน ทาเทวี พร้อมกับสั่งให้ท้าวยศวิมลไปรับพระนางจันท์เทวีกับพระสังข์มาอยู่ด้วยกันดังเดิม ท้าวยศวิมลจึงยก ขบวนเสด็จไปรับพระนางจันท์เทวีกลับมา และพากันเดินทางไปยังเมืองสามลเมื่อตามหาพระสังข์ ท้าวยศวิมลและพระนางจันท์เทวีปลอมตัวเป็นสามัญชนเข้าไปอยู่ในวัง โดยท้าวยศวิมลเข้าไปสมัครเป็นช่าง สานกระบุง ตะกร้า ส่วนพระนางจันท์เทวีเข้าไปสมัครเป็นแม่ครัว และในวันหนึ่ง พระนางจันท์เทวีก็ปรุงแกง ฟักถวายพระสังข์ โดยพระนางจันท์เทวีได้แกะสลักชิ้นฟักเจ็ดชิ้นเป็นเรื่องราวของพระสังข์ตั้งแต่เยาว์วัย ทาให้ พระสังข์รู้ว่าพระมารดาตามมาแล้ว จึงมาที่ห้องครัวและได้พบกับพระมารดาที่พลัดพรากจากกันไปนานอีกครั้ง หลังจากนั้น ท้าวยศวิมล พระนางจันท์เทวี พระสังข์กับนางรจนาได้เดินทางกลับเมืองยศวิมล ท้าวยศวิมลได้สั่ง ประหารพระนางจันทาเทวี และสละราชสมบัติให้พระสังข์ได้ครองราชย์สืบต่อมา ลักษณะของบทละคร บทละครมีทั้งหมด 9 ตอนดังนี้
  • 9. 1. กาเนิดพระสังข์ 2. ถ่วงพระสังข์ 3. นางพันธุรัตน์เลี้ยงพระสังข์ 4. พระสังข์หนีนางพันธุรัต 5. ท้าวสามลให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่ 6. ท้าวสามลให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ 7. พระสังข์ตีคลี 8. ท้าวยศวิมลตามพระสังข์ ลักษณะตัวละครในเรื่อง สังข์ทอง ตัวละครที่สาคัญในเรื่องสังข์ทองมีอยู่ ๕ กลุ่ม คือ ตัวเอก ตัวโกง พระราชา พระมเหสี และตัวละครอมนุษย์ ตัวเอก ตัวเอกฝ่ายชายมักเป็นกษัตริย์หรือบุคคลชั้นสูง เพราะไทยเราได้เค้าเรื่องมาจากวรรณคดีฮินดูซึ่งนิยม เล่าเรื่องราวของชนชั้นสูง และยังได้เค้าเรื่องมาจากชาดกซึ่งเชื่อว่าพระโพธิสัตว์เป็นผู้มีบุญญาธิการกว่ามนุษย์ ธรรมดา ตัวเอกในนิทานมักมีบุคลิกภาพเดียวกัน คือเป็นผู้มีบุญมาเกิดเพื่อปราบยุคเข็ญ และชดใช้หนี้เวรอัน เป็นผลกรรมของชาติที่แล้ว ดังนั้นตัวเอกจึงต้องรับผลวิบากกรรมในชาตินี้ คือถูกตัวละคร ฝ่าย พระสังข์ พระสังข์เป็นตัวเอกที่มีรูปงามตามแบบการสร้างตัวเอกในวรรณคดีไทย ทั่วไป แต่ในตอนเด็กปรากฏ เป็น ๒ รูป คือ รูปหอยสังข์กับรูปกุมาร ส่วนตอนเป็นหนุ่มก็มี ๒ รูปเช่นเดียวกัน คือ รูปเงาะกับรูปทอง ทั้ง รูปหอยสังข์และรูปเงาะเปรียบเสมือน “ เกาะ” คุ้มครองพระสังข์ ในตอนเด็กเมื่อนางจันท์เทวีต่อยหอยสังข์ แตกแหลกไป พระสังข์ร้องไห้คร่าครวญ ต่อว่าพระมารดาว่า พระแม่ต่อยสังข์ดังชีวิต จะชมชิดลูกนี้สักกี่ วัน ซึ่งเป็นการบอกเป็นนัยๆ ถึงภัยที่จะมาถึงและต่อมาพระองค์ก็ถูกจับไปถ่วงน้า เพราะเมื่อไม่ได้ซ่อนตัว อยู่ในหอยสังข์ ชาวบ้านก็เห็นและเล่าลือกันต่อๆไป จนท้าวยศวิมลและนางจันทารู้ ส่วนรูปเงาะนั้นพระสังข์ กราบทูลท้าวสามลว่า “ ซึ่งแปลงมาจะหาคู่ครอง ” ซึ่งแสดงว่ารูปเงาะนี้นอกจากจะเป็นของวิเศษ เป็นเกราะ กาบังแล้ว ยังเป็นเครื่องมือในการหาคู่ครองที่เหมาะสมคือมีบุญบารมีเทียบเท่ากันด้วย การวิเคราะห์ตัวเอก เป็นการเน้นในลักษณะเด่น อุปนิสัย และบทบาทดังนี้ ๑. ความมีบุญญาธิการ เรื่องชาดกมักจะเน้นความมีบุญของพระโพธิสัตว์ แต่ขณะเดียวกันผู้คนก็มี ความเชื่อในไสยศาสตร์ด้วย การกาจัดพระโอรสท่ามีกาเนิดผิดปรกติเพื่อความปลอดภัยของบ้านเมือง เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางไสยศาสตร์มาก แต่พระโอรสสังข์ทองเป็นผู้มีบุญจะฆ่าอย่างไรๆ ก็ไม่ ตาย นอกจากนี้ยังมีของวิเศษที่ไม่มีใครทาลายล้างได้ คือ รูปเงาะ เกือกแก้ว และไม้เท้า ซึ่งช่วยให้พระ
  • 10. สังข์กระทาการสาเร็จทุกอย่าง รวมทั้งมากจินดามนตร์ที่นางพันธุรัต “เตรียม” ไว้ให้พระสังข์ในตอนที่ถูก ทดสอบ โดยมีชีวิตเป็นเดิมพัน การที่สร้างเรื่องไว้ว่าเทวดาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์มาจุติเป็นพระสังข์ เป็นการปู พื้นฐานให้ผู้อ่านรู้สึกว่า ความมีบุญญาธิการของพระสังข์เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผล ไม่มหัศจรรย์พ้นวิสัย จนเกินไปนัก ๒. ความกตัญญู พระสังข์มีความกตัญญูต่อพระมารดา ตั้งแต่เล็กก็ได้ออกมาจากหอยสังข์ ช่วยพระ มารดาทางานบ้าน เนื่องจากพระมารดาไปก็ครุ่นคิดถึงนาง เป็นห่วงนางอยู่ตลอดเวลา พอมีโอกาสพบนาง โดยไม่คาดฝัน พระองค์ก็โศกศัลย์จนสิ้นสติไป และเมื่อนางจันท์เทวีขอให้ยกโทษให้กับท้าวยศวิมลว่า “เจ้า อย่าปองจิตคิดร้าย พยาบาทมาดหมายแก่บิดา” พระสังข์ก็ไม่ได้ถือโทษโกรธเคือง สาหรับนางพันธุรัตนั้น นางเป็นแม่ที่อุ้มชูเลี้ยงดูพระสังข์มาแต่เล็กจนโต ให้ความรักเสมอต้นเสมอปลาย แต่ การที่นางไม่ยอมเปิดเผยความจริงให้รู้ว่านางเป็นยักษ์ ทาให้พระสังข์ เกิดความไม่ไว้วางใจ ประกอบกับความ ต้องการที่จะไปตามหาแม่จริง ที่จากกันไปถึงสิบปีมีมากกว่า พระสังข์จึงต้องทิ้งนางไป หากจะกล่าวว่าพระ สังข์อกตัญญูต่อนางพันธุรัต ก็เป็นการกล่าวอย่างไม่ยุติธรรมนัก เนื่องจากพระองค์หนีนางด้วยความกลัว และถ้าหากจะชั่งน้าหนักระหว่าง “ แม่จริง ” ซึ่งกาลังตกระกาลาบาก ใช้ชีวิตอย่างสุดลาเค็ญ เสี่ยงต่อการถูก ตามฆ่าจากพระสวามีที่ถูกเสน่ห์และเมียน้อยผู้เหี้ยมโหด กับ “ แม่เลี้ยง ” ผู้มีอิทธิฤทธิ์ อานาจ ข้าราช บริพารพร้อมสรรพแล้ว ความรู้สึกของพระสังข์ย่อมเอนเอียงไปทางแม่จริงซึ่งอยู่ในฐานะด้อยกว่าอย่าง แน่นอน ๓. ความฉลาดรอบคอบ พระสังข์เป็นคนที่ฉลาด เอาตัวรอด บางครั้งก็ใช้ความลาดนี้มาทดสอบ ลองใจคนอื่น ดังที่ผู้นิพนธ์บทละครมักเรียกว่า “ เจ้าเงาะแสนกล ” พระองค์แกล้งสวมรูปเงาะทาเป็นบ้า ใบ้ จึงได้รู้ซึ้งถึงจิตใจ ของคนรอบข้างว่าคิดกับพระองค์อย่างไร พระสังข์ย่อมรู้ดีว่าท้าวสามนต์ เกลียดและ รังเกียจเจ้าเงาะ จึงกลั่นแกล้งให้ไปหาปลาหาเนื้อ แม้หามาได้แล้วก็ไม่ยอมรับ กลับพยายามหาทางแกล้ง ต่อไป เพื่อเอาผิดและประหารเจ้าเงาะให้ได้ ขณะเดียวกันก็ลาเอียงเข้าหาหกเขยซึ่งมีรูปงามและมีพวก มาก พระองค์จึงสั่งสอนหกเขยด้วยการตัดจมูกตัดใบหูหกเขยเพื่อ “ ประจาน ” ในฐานะที่ชอบโอ้อวดตัว และเยาะเย้ยคนอื่น ผลที่ได้ก็คือ หกเขยเปลี่ยนนิสัยไปเป็นทางตรงกันข้าม ไม่หาเรื่องดูถูกดูหมิ่นคนที่ด้อย กว่า ผลนี้กระทบไปถึงหกนางผู้มักเหยียบย่านางรจนาด้วย การสั่งสอนนี้อาจจะก้าวร้าวรุนแรงไปบ้างใน สายตาของคนทั่วไป แต่ถ้าหากพิจารณาให้ดีแล้ว หกเขยผู้ทะนงหลงตัวเองว่ารูปงาม มียศศักดิ์ เมื่อถูก “ ทาลาย ” รูปงามนั้นเสียแล้ว ก็คงหมดหนทางที่จะคงความหยิ่งยโสอีกต่อไป ตัวเอกฝ่ายหญิงคือนางรจนานั้นเป็นนางแก้วคู่บารมีของพระเอก มีบทบาทในทางส่งเสริมพระเอก ตัวโกง ตัวโกง คือตัวละครฝ่ายตรงข้ามกับตัวเอก มักมีบทบาทร้ายเพียงด้านเดียว ไม่มีคุณธรรม ไม่ปฏิบัติ ตนตามหลักศีลธรรม บทบาทของตัวโกงจะเป็นไปในทานองเดียวกัน คือทาให้คู่รักหรือสามีภรรยาต้องพลัด พรากจากกัน หรือมีพฤติการณ์ไม่ดี คอยอิจฉาริษยาต ที่มาตัวอย่างโครงงาน : http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=18412