SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
กิจ กรรมการทดลอง
            เรื่อ ง วงจรไฟฟ้า กระแสตรงแบบอนุก รม
                       (Series DC Circuits)
สมาชิก
      1.นางสาวกวีนาง            พิกุลขาว เลขที่14
      2.นางสาวกนกวรรณ          เกษสังข์ เลขที่23
วัต ถุป ระสงค์
   1. เข้าใจคุณลักษณะของตัวความต้านทานในวงจรไฟฟ้าแบบ
      อนุกรม
   2. คำานวณหาค่ากระแสไฟฟ้า ความต้านทานรวม และแรงดันตก
      คร่อมในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้
   3. นำากฎของโอห์มมาใช้แก้ปัญหาวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้อย่าง
      เหมาะสม
   4. ปฏิบัติการทดลองได้อย่างปลอดภัย และเป็นไปตามขั้นตอน

ทฤษฎี
     วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม (Series Resistive Circuits) นิยาม
ของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ
  1. กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานทุกตัวในวงจรมีค่าเท่ากัน และมี
     เพียงค่าเดียวเท่านั้น ถ้าค่าความต้านทานรวมในวงจรอนุกรม
       คือ RT จะได้ RT = R1+R2+R3+……………..Rn
       ค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรอนุกรมคำานวณได้จากสมการ            I=V
       / RT
       ตัวอย่างวงจรอนุกรมตัวต้านทาน 3 ตัว คือ R1 , R2 และ R3
       ต่อกับแบตเตอรี่ดังรูปที่ 2-1 แสดงให้เห็นว่ากระแสที่ไหลใน
       วงจรมีเพียงตัวเดียว
  2.   แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานทุกตัวรวมกันเท่ากับแรงดันของ
       แหล่งจ่ายไฟฟ้าในวงจร จากรูป 2-1 ถ้า V1 = IR1 , V2 = IR2
       และ V3 = IR3 ดังนั้น E = V1+V2+V3 หรือ E = I (R1+R2+R3)
รูป ที่ 2.1 แสดงคุณลักษณะวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม

อุป กรณ์ท ี่ใ ช้ใ นการทดลอง
   1. มัลติมิเตอร์                      2 เครื่อง
   2. ชุดทดลอง BU-1                          1 เครื่อง
   3. ALPHA BOARD                            1 เครื่อง
      3.1 ตัวต้านทานที่ใช้งาน ค่า 100Ωx1 , 220Ωx2
   4. สายต่อวงจร                             1 ชุด

วีธ ีก ารทดลองและผลการทดลอง
การทดลองที่ 1           ความสัมพันธ์ของกระแส และแรงดันไฟฟ้าตาม
กฎของโอห์ม
   1.1 ต่อวงจรไฟฟ้าตามรูปที่ 2-2 แต่ยังไม่ต้องต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้า
        (off สวิตซ์ S1)




              รูป ที่ 2.2 แสดงวงจรการทดลองข้อ 1.1
1.2 จากวงจรรูปที่  2-2 ความต้านทานรวมในวงจรอนุกรม (RT)
    คำานวณได้จาก RT = R1+R2+R3 ดังนั้นคำานวณค่าความ
    ต้านทานรวมได้ RT = …………640……………..โอห์ม
1.3 ใช้มัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดความต้านทาน วัดค่าความต้านทานรวม
    ของวงจรที่จุด A และ D จะได้ RT = ………………
    650…………………..โอห์ม
    ข้อ ควรระวัง การวัดค่าต้านทานรวมในวงจรไฟฟ้า ต้องไม่ต่อ
    แหล่งจ่ายไฟฟ้าให้กับวงจรไฟฟ้านั้น
1.4 ค่าความต้านทานที่คำานวณได้ในข้อที่ 1.2 ต่างจากค่าความ
    ต้านทานที่วัดได้จากข้อ 1.3 หรือไม่อย่างไร ให้นักศึกษาบอก
    ความแตกต่างในรูปร้อยละของค่าผิดพลาด (% Error) % Error
    =………………1.5625………………%
1.5 คำานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ารวม (IT) ของวงจรในรูปที่ 2-2 โดย
    ใช้กฎของโอห์ม IT = V1 / IT คำานวณได้ IT = ……………
    0.02222…………………mA
1.6 จากวงจรรูปที่ 2-3 ใช้มัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัดไฟฟ้ากระแสตรง
    (Range 25 mA) วัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ (IT) และวัดค่ากระแส
    ไฟฟ้าที่ผ่าน I1 , I2 และ I3 ตามรูปที่ 2-3 (a) , (b) , (c) และ
    (d)




            รูป ที่ 2.3 แสดงวงจรการทดลองที่ 1.6
1.7       บันทึกผลการวัดค่ากระแสไฟฟ้าจากข้อ 1.6 ได้ดังนี้
     IT = …………………………………..mA
     IR1 = …………………………………..mA
    IR2 = …………………………………..mA
    IR3 = …………………………………..mA
1.8 จากการทดลองในข้อ 1.6 กระแส (IT) ที่วัดได้ และกระแสรวม
    (IT) ที่คำานวณได้จากข้อ 1.5 แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร ให้
    นักศึกษาบอกความแตกต่างในรูปร้อยละของค่าผิดพลาด (%
    Error) % Error = ……………………………..%
1.9 คำานวณค่าแรงดันตกคร่อม ตัวต้านทาน R1 , R2 , R3 โดยใช้
    กฎของโอห์มแสดงการคำานวณตามลำาดับดังนี้
    VR1 = IR1 x R1…………………………………..V
    VR2 = IR2 x R2…………………………………..V
    VR3 = IR3 x R3…………………………………..V
1.10 ทำาการทดลองวัดค่าแรงดันตกคร่อมตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้า
      รูปที่ 2-2 โดยใช้มัลติมิเตอร์ตั้งย่านวัด 10 V ผลการวัดค่าแรง
      ดันได้ตามลำาดับดังนี้
    VR1 = …………………………………..V
    VR2 = …………………………………..V
    VR3 = …………………………………..V
    VR1+ VR2+ VR3 = ……………..………..V
1.11 ผลรวมของแรงดันตกคร่อม VR1 , VR2 , VR3 ที่วัดได้จากข้อ
      1.10 เท่ากับค่าของแรงดันที่คำานวณได้จากข้อ 1.9 หรือไม่
      อย่างไร ให้นักศึกษาบอกความแตกต่างในรูปร้อยละของค่าผิด
      พลาด (% Error) % Error = ……………………………..
      %
1.12 ผลรวมของแรงดันตกคร่อม VR1 , VR2 , VR3 ที่ได้จากการ
      ทดลองเท่ากับแรงดันที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า V1 หรือไม่ อย่างไร
      ให้นักศึกษาบอกความแตกต่างในรูปของร้อยละของค่าผิด
      พลาด (% Error) % Error = ……………………………..
      %
การวิเ คราะห์ผ ลการทดลอง

  1.   ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรมกระแสที่ไหลในวงจรมี
       เพียง.............................เท่านั้น และค่ากระแสนี้จะเท่ากับ
       กระแสที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าจ่ายออกมา สามารถคำานวณหาค่า
       กระแสได้จากกฎของโอห์มดังนี้ IT =
       ………………………………
  2.   แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
       แบบอนุกรม เมื่อนำามารวมกันจะเท่ากับ แรงดัน
       ที่.............................จ่ายให้กับวงจร แสดงได้ว่าสมการ VT
       = …………………V
  3.   จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 2-4 จงวิเคราะห์เพื่อหาแรงดันตกคร่อม
       R2 ได้ว่า VR2 = .……………..V



                                                     รูป ที่ 2-4
                                                     วงจรที่ใช้
                                                    วิเคราะห์ใน
                                                       ข้อ 3.
  4.   จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ 2-5 ถ้ากระแสผ่าน R1 เท่ากับ 100mA
       จงหาค่าของกระแสที่ไหลผ่าน R2 , R3 และ R4




                 รูป ที่ 2-5 วงจรที่ใช้วิเคราะห์ในข้อ 4.
ผลลัพธ์การวิเคราะห์คือ
        IR1 = …………………………………..mA IR2 =
        …………………………………..mA
        IR3 = …………………………………..mA IR4 =
        …………………………………..mA
   5.   จากวงจรรูปที่ 2-5 ทางเดินของกระแสไฟฟ้าในวงจรมีจำานวน
        เท่ากับ................................mA
   6.   ถ้าตัวต้านทาน 10Ω 3 ตัว ต่ออนุกรมกันและต่อกับแหล่งจ่าย
        แรงดันไฟฟ้าขนาด 9 V แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวมี
        ค่าเท่ากับ...........................................Volt
สรุป และวิจ ารณ์ผ ลการทดลอง
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
..................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
..................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
..................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
..................................................................
ปัญ หาอุป สรรคและแนวทางแก้ไ ข




                               ใบงาน
                     เรื่อ ง การต่อ ตัว ต้า นทาน
คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนแดงวิธีการหาค่าความต้านทานต่างดังต่อไปนี้
   1.   จากวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้จงหาค่าความต้านทานรวม (RT)




………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………………….................................
.......................................................................................
.......................................................................................
........................
.......................................................................................
................................................................................
.......................................................................................
................................................................................




………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……………….
………………………………………………………………………
…………………………………….
 2. จากวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้จงคำานวณหาค่า Rx




………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……………………………………………………………………




………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………..
 3. จากวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้จงคำานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าในวงจร
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
………………………………………………………………….




……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………
4. จากวงจรอนุกรมต่อไปนี้จงคำานวณหาค่ากระแส I
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………....

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie Lab kawee knok

สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 

Ähnlich wie Lab kawee knok (20)

สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
Meter
MeterMeter
Meter
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
Mt2 3 56
Mt2 3 56Mt2 3 56
Mt2 3 56
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
Lab9 (1)
Lab9 (1)Lab9 (1)
Lab9 (1)
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
Ac current46
Ac current46Ac current46
Ac current46
 

Lab kawee knok