SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แนวทาง
การตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ชื่อหนังสือ 	 การบริหารจัดการเชิงระบบเพื่อการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
			 เข้าจอประสาทตาระดับจังหวัด
ที่ปรึกษา		 นายแพทย์ไพจิตร์ 	วราชิต 	ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
			 นายแพทย์โสภณ 	เมฆธน 	รองปลัดกระทรวงสาธารณสาธารณสุข
จัดทำ�โดย		 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
			 กรมการแพทย์
จัดพิมพ์โดย	 สำ�นักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
			 สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พิมพ์ครั้งแรก	 มิถุนายน 2555
จำ�นวน		 26,300 เล่ม
พิมพ์ที่ 		 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด
คำ�นำ�
	
	 โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำ�คัญทาง
สาธารณสุข ถ้าไม่ได้รับการควบคุมดูแลรักษาที่เหมาะสม จะทำ�ให้เกิด
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา ได้แก่ เบาหวานขึ้นตา โรคหลอดเลือด
หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ไตวายเรื้อรัง และการสูญเสียเท้าจาก
แผลเบาหวาน เป็นต้น ทั้งนี้ ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานที่ตา
(diabetic retinopathy) พบมากถึงร้อยละ 31.4 ของผู้ป่วย
เบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งการควบคุมระดับน้ำ�ตาลในเลือดให้อยู่
ใกล้เคียงปกติ ความดันโลหิตและปัจจัยเสี่ยงอื่น รวมทั้งการคัดกรอง
โดยการตรวจจอประสาทตาอย่างสม่ำ�เสมอและให้การดูแลตั้งแต่ระยะ
เริ่มต้น สามารถลดการสูญเสียการมองเห็นและค่าใช้จ่ายในการดูแล
ลงได้ ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตระหนักถึงการป้องกัน และ
การควบคุม ดูแลรักษาให้ถูกต้อง รวมทั้งการจัดเครือข่ายบริการและ
สนับสนุนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา จึงได้จัดทำ� แนวทางการ
บริหารจัดการเชิงระบบเพื่อการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตาระดับจังหวัดขึ้น โดยได้รับความร่วมมือจาก สถาบันวิจัย
และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ ในการจัดทำ�
ต้นฉบับ เพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถจัดบริการสำ�หรับเจ้าหน้าที่
ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล และเครือข่ายบริการสุขภาพ
ได้ถูกต้อง เพื่อให้เกิดผลดีต่อผู้ป่วย ช่วยชะลอและป้องกัน
การดำ�เนินโรค ลดการสูญเสียการมองเห็นในผู้ป่วยโรคเบาหวานลงได้
กระทรวงสาธารณสุข
มิถุนายน 2555
เบาหวานเบาหวาน
สารบัญ
l	 ความสำ�คัญและแนวทางการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน	 1
	 เข้าจอประสาทตา
l 	 การจัดเครือข่ายบริการและบทบาทของเครือข่าย	 8
	 แต่ละระดับ
l 	 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยหลังจากการคัดกรอง	 14
	 โรคแทรกซ้อนทางตา
l 	 แนวทางในการรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา	 20
เบาหวานเบาหวาน
คำ�ย่อ
Abbreviation Key:
DME		 Diabetic macular edema
DR		 Diabetes retinopathy
FC		 finger count, counting finger
HM		 hand movement, hand motion
IRMA		 Intraretinal microvascular abnormalities
KM		 Knowledge management
LE VA	 Left eye visual acuity
NPDR	 Non-Proliferative DR
NVD		 New vessels on the disc
NVE		 new vessels elsewhere
PDR		 Proliferative DR
PH		 Pin hole
RE VA	 Right eye visual acuity
เบาหวานเบาหวาน
1แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ความสำ�คัญและแนวทางการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน
เข้าจอประสาทตา
	 เบาหวานเป็นสาเหตุการตายที่สำ�คัญ อีกทั้งเป็นสาเหตุ
ของการสูญเสียปีสุขภาวะหนึ่งในสิบอันดับแรก สาเหตุหลัก
เกิดจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นตามระบบต่างๆ ของร่างกาย
ที่สำ�คัญได้แก่ หลอดเลือดสมองและหัวใจ ตา ไต และเท้า ภาวะ
แทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวานสามารถป้องกันและชะลอ
ความเจ็บป่วยและพิการได้ โดยเฉพาะโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตา ถ้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาในระยะแรก สามารถ
ลดอัตราการสูญเสียการมองเห็นได้
	 โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา เป็นสาเหตุที่สำ�คัญของ
การสูญเสียการมองเห็นเป็นอันดับสองรองจากต้อกระจก
โดยเฉลี่ยพบว่าโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาเกิดขึ้นประมาณ
ร้อยละ20ของผู้ป่วยเบาหวานแนวทางการตรวจคัดกรองภาวะ
เบาหวานเข้าจอประสาทตาในประเทศไทยนั้นในผู้ป่วยเบาหวาน
ชนิดที่ 1 แนะนำ�ให้ตรวจตาหลังเป็นเบาหวาน 5 ปี และในผู้ป่วย
เบาหวานชนิดที่ 2 ควรได้รับการตรวจตาทันทีหลังได้รับการ
วินิจฉัย ถ้าผลปกติ ควรนัดตรวจตาเป็นประจำ�ทุกปี หากพบผล
ผิดปกติ ควรได้รับการส่งต่อ รักษา และนัดตรวจติดตาม ดังแสดง
ในแผนภาพที่ 1
2 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
3แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ผู้ป่วยเบาหวาน
ตรวจพบเบาหวาน
ขณะตั้งครรภ์
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1
ตรวจตาเมื่ออายุตั้งแต่12ปีขึ้นไปและ
หลังพบเบาหวานภายใน5ปี
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์
มีประวัติเบาหวาน
ตรวจตาในช่วงไตรมาสแรก
ของอายุครรภ์ตรวจตาทันทีหลังได้รับการวินิจฉัยไม่จำ�เป็นต้องตรวจตา
ผลการตรวจตา
ปกติDiabetesretinopathy(DR)Macularedema
แผนภาพที่1.แนวทางการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
Non-proliferativeDR
(NPDR)
ProliferativeDR
(PDR)
MildNPDR
-Microaneurism
ModerateNPDR
-Morethan
mildbutless
thansevere
SevereNPDR
-20ormore
microaneurysmin
4quadrantsor
-Venousbeadingat
least2quadrantsor
-Intraretinal
microvascular
abnormalities(IRMA)
in1ormorequadromt
-Neovascularization
(Newvesselsonthe
disc,NVDornew
vesselselsewherein
theretina,.NVE)or
-Preretinalhemorrhage
or
-Vitreoushemorrhage
นัด1ปีนัด6เดือนนัด3-6เดือนส่งต่อพบจักษุแพทย์
4 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
5แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
	 ปัจจุบัน การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ยังไม่สามารถทำ�ได้ครอบคลุมผู้ป่วยทุกคน สาเหตุที่สำ�คัญ
เกิดจากปัญหาการขาดแคลนทรัพยากร ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร
หรือเครื่องมือที่จำ�เป็น ปัจจุบัน พบว่าประเทศไทยยังมีปัญหา
ขาดแคลนจักษุแพทย์ โดยทั่วประเทศมีจำ�นวนจักษุแพทย์อยู่
ประมาณ 1000 คน และส่วนใหญ่อยู่ในกรุงเทพมหานครหรือ
จังหวัดขนาดใหญ่
	 จากปัญหาดังกล่าว กรมการแพทย์ โดยสถาบันวิจัยและ
ประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ จึงได้จัดทำ�โครงการพัฒนา
รูปแบบการคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา ตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นการดำ�เนินงานเชิงรุก ดำ�เนินการให้บริการ
ตรวจคัดกรองให้บริการผู้ป่วยในพื้นที่ โดยนำ�กล้องถ่ายภาพ
จอประสาทตาเข้ามาใช้ในการคัดกรองผู้ป่วยสามารถให้บริการ
คัดกรองโรคแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยเบาหวานได้ประมาณ
วันละ 150-200 รายต่อชุด ทำ�ให้ความครอบคลุมในการตรวจ
คัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาเพิ่มมากขึ้น เป้าหมาย
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์จากการรักษาตั้งแต่ระยะ
เริ่มแรก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่อยู่ห่างไกล หรือไม่สามารถตรวจ
จอประสาทตากับจักษุแพทย์ได้ นอกจากนี้ ยังมีการส่งต่อผู้ป่วย
ที่มีโรคอยู่ในระดับที่ต้องการการรักษาให้แก่จักษุแพทย์สามารถ
ให้คำ�แนะนำ�แนวทางในการปฏิบัติตนสำ�หรับผู้ป่วยที่เป็นโรค
ในระยะแรก เพื่อลดการเป็นมากขึ้นของโรค ลดอัตราการสูญเสีย
การมองเห็นจากโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา เกิดระบบ
การค้นหาและกระตุ้นให้ผู้ป่วยเบาหวานทุกคนมารับการตรวจ
คัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาเกิดระบบฐานข้อมูลที่มี
ความถูกต้องและสามารถนำ�ไปใช้ได้โดยบุคลากรทางการแพทย์
และสาธารณสุขได้รับข้อมูลอย่างสม่ำ�เสมอ เพิ่มประสิทธิผล
ของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาและ
สามารถรับรองคุณภาพการบริการได้ ตามกรอบแนวคิดการ
บริการจัดการเชิงระบบเพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตา แผนภาพที่ 2
แผนภาพที่ 2.	กรอบแนวคิดการบริหารจัดการเชิงระบบเพื่อการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
ภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยเบาหวาน
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
ภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยเบาหวาน
76
8 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
9แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
การจัดเครือข่ายบริการ
บทบาทของเครือข่ายบริการแต่ละระดับ (แผนภาพที่3)แบ่งเป็น
	 1.	หน่วยบริการปฐมภูมิ
		 ทำ�หน้าที่สนับสนุนทีมคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตา ค้นหากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีระบบบริการ
รับส่งต่อ และรับกลับเพื่อติดตามผู้ป่วยสร้างเครือข่ายกับหน่วย
บริการทุติยภูมิ รณรงค์ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับ
บุคคลและชุมชน นอกจากนี้ ทำ�หน้าที่ในการให้องค์ความรู้
เพื่อการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วย และบุคคลในครอบครัว
	 2.	หน่วยบริการทุติยภูมิ
		 มีการจัดตั้งทีมคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
กำ�หนดและจัดเตรียมสถานที่ในการตรวจคัดกรองเบาหวานเข้า
จอประสาทตา(จุดลงทะเบียนจุดตรวจวัดสายตาจุดหยอดตาและ
ตรวจความดันลูกตา จุดถ่ายรูปจอประสาทตา จุดให้คำ�แนะนำ�)
ทำ�การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษา
	 3.	หน่วยบริการตติยภูมิ
	 	 ค้นหากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วย จัดระบบบริการภายใน
และให้การดูแลรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติและแผนการ
จัดการโรค นอกจากนี้ ยังทำ�หน้าที่สนับสนุนองค์ความรู้ เป็นที่
ปรึกษาให้ทีมคัดกรอง พัฒนาเครือข่ายบริการ เพื่อรองรับการ
ดูแลผู้ป่วย
	 4.	ระดับสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด
	 	 จัดตั้งคณะกรรมการการตรวจโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตาระดับจังหวัด มีการทำ�แผนการจัดการโรค การพัฒนา
ระบบข้อมูลระดับจังหวัดให้มีความครอบคลุม สนับสนุนการ
ออกให้บริการในเชิงรุก โดยกำ�หนดพื้นที่และระยะเวลาที่ใช้ใน
การดำ�เนินการ ซึ่งมีขั้นตอนการตรวจคัดกรองดังนี้ (แผนภาพที่ 4)
ทั้งนี้ควรมีการสนับสนุนการจัดการความรู้ การพัฒนากำ�ลังคน
การจัดเครือข่ายบริการส่งต่อ สร้างการมีส่วนร่วมขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น การพัฒนาเครือข่ายผู้ป่วย หรือเครือข่าย
สุขภาพ และจำ�เป็นต้องทำ�การเฝ้าระวังและติดตามประเมินผล
การดำ�เนินงาน
10 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
11แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แผนภาพที่3.	บทบาทของเครือข่ายบริการแต่ละระดับในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้า
				จอประสาทตา
12 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
13แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แผนภาพที่4.ขั้นตอนการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
14 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
15แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ผู้ป่วยเบาหวานเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอ
ประสาทตา
ผลการอ่านถ่ายภาพจอประสาทตาในเบื้องต้น
ผลปกติสงสัยมีความ
ผิดปกติ
ภาพถ่ายไม่
ชัดเจน
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยหลังจากผ่านการตรวจคัดกรองโรคแทรกซ้อนทางตาสามารถปฏิบัติได้
ดังแผนภาพที่5
แผนภาพที่5.แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย
ส่งภาพถ่ายจอประสาทตาให้จักษุแพทย์
อ่านซ้ำ�
นัดติดตามทุก
1ปี
ดูแลโดยรพ.สต./   
PCU
ส่งจักษุแพทย์เพื่อการวินิจฉัยและดูแลรักษา
ตามเกณฑ์
16 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
17แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แผนภาพที่6.	ตัวอย่างแบบบันทึกการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาด้วย
				กล้องถ่ายภาพจอประสาทตา
18 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
19แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แผนภาพที่6.(ต่อ)
20 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
21แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางในการรักษา ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรค ซึ่งมีข้อ
แนะนำ� ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1.แนวทางการรักษาผู้ป่วยแบ่งตามระดับความรุนแรงของโรค
Severity of Retinopathy ควบคุมระดับ
HbA1C ให้น้อย
กว่า 7% หรือ
FBS อยู่ระหว่าง
70-130 มก./ดล.
ควบคุมระดับ
ไขมันในเลือด
ให้อยู่ในเกณฑ์
ที่เหมาะสม
ควบคุมความ
ดันโลหิตให้
<130/80 มม.
ปรอท
การรักษาโดย
เลเซอร์
ระยะเวลาที่
นัดติดตาม
(เดือน)
1. ปกติ 3 3 3 - 12
2. Mild NPDR 3 3 3 - 6-12
3. Moderate NPDR 3 3 3 - 3-6
3. Severe NPDR 3 3 3 3 2-4*
4. PDR 3 3 3 3 2-4*
5. Macular edema 3 3 3 3 2-4*
* อาจพิจารณาตรวจติดตามให้ถี่กว่านี้ขึ้นกับดุลพินิจของแพทย์
	 จักษุแพทย์อาจพิจารณาทำ� fluorescein angiography
เพื่อช่วยในการวินิจฉัยและรักษาได้ตามความเหมาะสม แบ่งการ
รักษาได้เป็น
1. การรักษาโดยเลเซอร์ (Laser photocoagulation)
2. การรักษาโดยใช้ความเย็นจี้จอตา (Cryoretinopexy)
3. การรักษาโดยใช้ยาฉีดเข้าน้ำ�วุ้นตา (Intravitreal injection)
4. การผ่าตัดจอตาและน้ำ�วุ้นตา (Vitreoretinal surgery)
	 วิธีการรักษา อาจใช้ยาลดความดันตา การใช้เลเซอร์
การผ่าตัดตา หรือการฉีดยาเข้าในวุ้นตา หรือใช้หลายวิธีร่วมกัน
ขึ้นกับสภาพจอตาความรุนแรงและระดับการมองเห็นของตานั้นๆ
	
	 การติดตามและการประเมินผลของงานตรวจคัดกรอง
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา ควรดำ�เนินการติดตามและ
ประเมินผลทั้งในส่วนขั้นตอนการดำ�เนินงาน และผลลัพธ์ ตารางที่
2 แสดงตัวอย่างในการคำ�นวณตัวชี้วัดเชิงการดำ�เนินการและ
เชิงผลลัพธ์ของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
22 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
23แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
ตารางที่2.ตัวชี้วัดการดำ�เนินการและผลลัพธ์ของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเข้า
			จอประสาทตา
ประเด็นรายละเอียดตัวชี้วัดการดำ�เนินการรายละเอียดตัวชี้วัดผลลัพธ์
1)ชื่อของตัวชี้วัดอัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ
ตรวจจอประสาทตาประจำ�ปี
อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่เป็น
Diabeticretinopathy
2)ความหมายของตัวชี้วัดการตรวจจอประสาทตาหมายถึงผู้ป่วย
เบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาโดย
ละเอียดโดยจักษุแพทย์หรือใช้Fundus
cameraอย่างน้อย1ครั้งต่อปี
Diabeticretinopathyหมายถึงภาวะจอ
ประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานมีรอยโรค
แบ่งได้เป็น
l	Non-proliferative
	diabeticretinopathy
	(NPDR)(ซึ่งแบ่งเป็น
	mildNPR,moderate
	NPDR,severeNPDR)
l	Proliferativediabeticretinopathy
	(PDR)
3)วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัดลดความเสี่ยงด้านmicrovascularติดตามผลของระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยเบา
หวาน
4)สูตรในการคำ�นวณตัวตั้ง:จำ�นวนผู้ป่วย
เบาหวานที่ได้รับการตรวจจอประสาทตา
อย่างน้อย1ครั้งต่อปีx100
ตัวหาร:จำ�นวนผู้ป่วยเบาหวานที่มา
รักษาที่คลินิกเบาหวานในรอบ1ปี
ตัวตั้ง:จำ�นวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ
วินิจฉัยว่าเป็นDiabeticretinopathy
ในรอบ1ปีx100
ตัวหาร:จำ�นวนผู้ป่วยเบาหวานที่มา
รักษาที่คลินิกเบาหวานในรอบ1ปี
5)ความถี่ในการเก็บข้อมูลปีละ1ครั้งปีละ1ครั้ง
6)แหล่งข้อมูลเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนสมุดทะเบียน
หรือฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่คลินิกเบาหวาน
เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนสมุดทะเบียน
หรือฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
ที่คลินิกเบาหวาน
7)รอบระยะเวลาในการนำ�   
   เสนอตัวชี้วัด
1ปี1ปี
8)หน่วยที่ใช้ในตัวชี้วัดร้อยละร้อยละ
หมายเหตุถ้าผู้ป่วยได้รับการตรวจจอประสาทตาโดย
จักษุแพทย์ภายนอกและมีเอกสารผลการ
ตรวจให้นับด้วย
24 แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษา
โรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
บันทึก
บันทึก บันทึก
บันทึก
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 

Was ist angesagt? (20)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 

Ähnlich wie แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา

แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔Puku Wunmanee
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กUtai Sukviwatsirikul
 

Ähnlich wie แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา (20)

แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
4 0
4 04 0
4 0
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
hypertension guidebook
hypertension guidebookhypertension guidebook
hypertension guidebook
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็กแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคอ้วนในเด็ก
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ Utai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
 

แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา