SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 19
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่ งประเทศไทย
และสานักโรคติดต่ อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางเวชปฏิบติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
ั
ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมิง เก่าเจริ ญ
ศาสตราจารย์ นายแพทย์พลรัตน์ วิไลรัตน์*
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศรี วชา ครุ ฑสู ตร
ิ
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงยุพิน ศุพุทธมงคล
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงเพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศกดิ์
ั
พลตรี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วชย ประยูรวิวฒน์
ิ ั
ั
ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตั้งภักดี
้
นายแพทย์ อภิญญา นิรมิตสันติพงศ์
นางเสาวนิต วิชยขัทคะ
ั

__________________
*Corresponding author: ศาสตราจารย์ นายแพทย์พลรัตน์ วิไลรัตน์ ภาควิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล 420/6 ถนนราชวิถี ราชเทวี กทม 10400
e-mail: polrat.wil@mahidol.ac.th
ระบาดวิทยา
ปัจจุบนโรคมาลาเรี ยในคน มีสาเหตุมาจากเชื้ อ protozoa 5 ชนิดได้แก่ Plasmodium falciparum, P.
ั
vivax, P. malariae, P. ovale และ P. knowlesi ซึ่ง P. knowlesi ขณะนี้ พบได้มากในประเทศมาเลเซีย และ
อินโดนีเซีย สาหรับประเทศไทยพบ P. knowlesi ได้บ่อยขี้น ในหลายจังหวัด เช่น จันทบุรี ประจวบคีรีขนธ์
ั
่
ยะลา และกระบี่ สถานการณ์ของโรคในประเทศไทยที่ผานมาพบว่าลดลงอย่างต่อเนื่ อง แต่ในปี งบประมาณ
่
พ.ศ.2556 กลับพบผูป่วยมาลาเรี ยเพิ่มขึ้นจากปี ที่ผานมา 5.9 %1 โดยมีการระบาดเป็ นหย่อม ๆ ในพื้นที่สวน
้
ยางพาราที่ปลูกใหม่ทางภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือและภาคเหนื อของประเทศ จากข้อมูลกรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุ ข ณ วันที่ 12 พ.ย. พ.ศ.2556 พบผูป่วยทั้งสิ้ น 29,317 ราย ในจานวนนี้เป็ นผูป่วยคนไทย
้
้
55% คนต่างชาติ 45% เป็ นเชื้อชนิดฟัลซิ ปารัม 42.5% ชนิดไวแวกซ์ 56.8% ที่เหลือเล็กน้อยเป็ นเชื้ อ
ั
ชนิดอื่น ๆ พื้นที่แพร่ เชื้ อมีความสัมพันธ์กบยุงพาหะซึ่งเป็ นยุงก้นปล่องบางชนิดที่มีแหล่งเพาะพันธุ์ในป่ า
หรื อสภาพใกล้เคียงกับป่ าเท่านั้น ปัจจุบนพบผูป่วยมาลาเรี ยตามชายแดนของประเทศไทยที่ติดกับประเทศ
ั
้
พม่า ได้แก่ แม่ฮ่องสอนลงมาจนถึงจังหวัดระนอง
ชายแดนไทย-กัมพูชา บริ เวณชายแดนจังหวัด
อุบลราชธานี ศรี สะเกษ สุ รินทร์ ลงมาจนถึงตราด และเนื่องจากปั ญหาความไม่สงบในสี่ จงหวัดภาคใต้ทา
ั
ให้เชื้อกลับมาแพร่ ระบาดเพิ่มขึ้นในจังหวัดยะลา นราธิวาส และสงขลา กลุ่มเสี่ ยงที่จะเป็ นโรคมาลาเรี ย
ได้แก่ ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับป่ า คนงานสวนยางและสวนผลไม้ ทหาร ตารวจตระเวนชายแดน
และนักท่องเที่ยวนิยมธรรมชาติตามชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน
่
ถึงแม้วาสถานการณ์โรคมาลาเรี ยจะลดลงมาอย่างต่อเนื่ องจนพื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคของประเทศ
ปลอดจากการแพร่ เชื้ อแล้ว แต่โรคก็ยงคงมีความสาคัญสู งอยู่ เนื่องจากปั ญหาเชื้ อมาลาเรี ยชนิดฟัลซิ ปารัม
ั
ดื้อต่อยาเพิ่มขึ้นทาให้ตองใช้เวลาในการรักษาเพิ่มขึ้น อัตราส่ วนการพบเชื้ อไวแวกซ์เพิ่มขึ้นมากกว่าฟัลซิ
้
ปารัมและมีแนวโน้มว่าจะมีอาการทางคลินิกรุ นแรงเพิ่มขึ้นจนถึงขั้นเสี ยชีวิตก็มี และประการสุ ดท้ายที่ตอง
้
ระวังคือ กลุ่มนักท่องเที่ยวนิ ยมธรรมชาติที่ไม่มีภูมิตานทานมาลาเรี ย เมื่อติดเชื้ อฟัลซิ ปารัมจะมีอาการแทรก
้
ซ้อนรุ นแรงได้เร็ วและเสี ยชีวตได้ง่ายกว่าผูอาศัยในแหล่งแพร่ เชื้อ
ิ
้
พยาธิกาเนิด
ผูป่วยมาลาเรี ยจะมีไข้ สาเหตุของไข้ในผูป่วยมาลาเรี ยเกิดจากเชื้ อมาลาเรี ยไปกระตุน inflammatory
้
้
้
cytokines จาก monocytes และ macrophages ในขณะที่เป็ นมาลาเรี ยม้ามจะถูกกระตุนให้มีการจับกินเม็ด
้
เลือดแดงที่มีและไม่มีเชื้ อมาลาเรี ยทาให้ผูป่วยซี ดลง ในผูป่วยมาลาเรี ยฟัลซิ ปารัม เชื้ อมาลาเรี ยในเม็ดเลือด
้
้
แดงจะสร้าง knobs ที่ผวเม็ดเลือดแดงไปเกาะติดบนหลอดเลือดฝอย เรี ยกว่าเกิด cytoadherence เม็ดเลือดแดง
ิ
ในหลอดเลือดจะเคลื่อนที่ลาบาก เกิด sequestration และทาให้เกิด hypoxia หรื อ anoxia ของอวัยวะนั้น ๆ
นอกจากนี้ cytokines ทาให้เกิดการทางานผิดปกติของอวัยวะต่าง ๆด้วย ในผูป่วยมาลาเรี ยชนิ ดอื่น จะไม่พบ
้
cytoadherence ดังนั้นพยาธิ สภาพต่าง ๆ ที่เกิดน่าจะเป็ นกลไกของ cytokines
ลักษณะทางคลินิก
หลังจากถูกยุงกัดอาการที่พบได้บ่อยที่สุดคือ ไข้ ระยะฟักตัว (ระยะเวลาการเกิ ดอาการหลังจากถูก
ยุง กัด) จะแตกต่ า งกัน แล้ว แต่ ช นิ ดของมาลาเรี ย โดยประมาณ 1-2 สั ปดาห์ ยกเว้น ระยะฟั ก ตัว ของ P.
malariae ที่ อาจจะนานได้ถึง 1 เดือน อาการของมาลาเรี ยจะไม่มีลกษณะจาเพาะ เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย
ั
แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ไอ รู ้สึกหน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่า (orthostalic hypotension)2 ซี ด ตับม้ามโต ถ้าผูป่วย
้
มีอาการรุ นแรงก็จะพบความผิดปกติตามระบบของอวัยวะที่สาคัญ (vital organ dysfunction) เช่น ชัก หมด
สติ (ในมาลาเรี ยขึ้นสมอง ) หอบ (ในมาลาเรี ยที่มีน้ าท่วมปอด หรื อมีเลือดเป็ นกรด)3-5 (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1. ลักษณะมาลาเรี ยรุ นแรง*
ลักษณะทางคลินิก
 สติสัมปชัญญะลดลงหรื อหมดสติ
 อ่อนเพลียมาก
 ชัก
 หอบ
 น้ าท่วมปอด
 ช็อก
 ไตวาย
 ดีซ่าน ร่ วมกับอวัยวะที่สาคัญทางานผิดปกติ
 เลือดออกผิดปกติ
การตรวจทางห้ องปฏิ บัติการที่ผิดปกติ
 น้ าตาลในเลือดต่า
 เลือดเป็ นกรด
 ซีดมาก
 ปัสสาวะดา (hemoglobinuria)
 แลคเตทในเลือดสู ง
 ไตวาย
 เอกซย์พบน้ าท่วมปอด
*จากเอกสารอ้างอิงที่ 3-5 ขององค์การอนามัยโลก
ลักษณะผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรงดังตารางที่ 1 อาจพบมากกว่า 1 อย่างก็ได้
้

อาการของมาลาเรี ยรุ นแรงที่มกพบในผูใหญ่ ได้แก่ ดีซ่าน น้ าท่วมปอด ไตวาย6 หมดสติและ เลือด
ั
้
เป็ นกรด พบว่า เพศหญิง อัลบูมินในเลือดต่า BUN-Creatinine ratio >20 เป็ นปั จจัยเสี่ ยงที่ทาให้ผป่วยช็อ ก7
ุ้
ในประเทศไทยผูป่วยมีโอกาสเป็ นมาลาเรี ยรุ นแรงได้มากเมื่อ parasitemia > 5%4 แต่ผป่วยหลายรายอาจเป็ น
้
ู้
8
ั
มาลาเรี ยรุ นแรงได้โดยมี parasitemia ต่ากว่านี้ นอกจากนี้ พบว่า shizontemia สัมพันธ์กบความหนาแน่น
ของเชื้ อมาลาเรี ย ในเลื อด จากการศึ ก ษาที่ โรงพยาบาลเวชศาสตร์ เขตร้ อนในผูป่ วยมาลาเรี ย รุ นแรง พบ
้
shizontemia 39.6% แต่ไม่พบ shizontemia ในผูป่วยมาลาเรี ยไม่รุนแรง9
้
ผูปวยมาลาเรี ยส่ วนใหญ่ติดเชื้อมาลาเรี ยชนิดเดียว ผูป่วยอีกส่ วนหนึ่งติดเชื้อมาลาเรี ยมากกว่า 1 ชนิด
้
้
(mixed infection) เช่น P. falciparum ร่ วมกับ P. vivax เป็ นต้น
การติดเชื้ออืนๆทีพบในมาลาเรียรุ นแรง
่ ่
ในผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง เช่น ช็อก หรื ออาการทางคลินิกเลวลง ไข้ไม่ลดถึงแม้ไม่พบเชื้ อมาลาเรี ย
้
ในเลือดแล้ว อาจพบการติดเชื้ออื่นร่ วมด้วย เช่น melioidosis, leptospirosis หรื อ scrub typhus
มาลาเรียรุ นแรงจาก non-falciparum malaria
มาลาเรี ยรุ นแรงส่ วนใหญ่เกิดจาก P. falciparum มีรายงานหลายแห่ งพบว่า P. vivax อาจทาให้เกิด
ปอดบวม นอกจากนี้ อาจเกิด หมดสติ ไตวาย ช็อก ดีซ่าน เลือดออกผิดปกติ น้ าตาลในเลือดต่าได้ นอกจาก
P. falciparum และ P. vivax แล้ว P. knowlesi ก็ทาให้เกิดมาลาเรี ยรุ นแรงได้
มาลาเรียในหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์มีโอกาสสู งที่จะเป็ นมาลาเรี ยรุ นแรง ซึ่ งมีอตราตายสู งมาก (ประมาณ 50%) พบเม็ด
ั
เลือดแดงที่ติดเชื้ อสู ง ซี ด น้ าตาลในเลื อดต่า และน้ าท่วมปอดบ่อยในหญิงตั้งครรภ์มากกว่าหญิงไม่ต้ งครรภ์
ั
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ นมาลาเรี ยรุ นแรงมักพบ fetal distress, premature labour และ stillbirth เพิ่มขึ้น
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น P. vivax พบน้อยมาก นอกจากนี้ อตราตายของลูกสู งถ้า หญิ งตั้งครรภ์เป็ น
ั
ั
มาลาเรี ยตอนใกล้คลอด โอกาสหญิงตั้งครรภ์ตายขณะคลอดสัมพันธ์กบภาวะซี ดจากมาลาเรี ย
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยว่าผูป่วยเป็ นมาลาเรี ย ต้องยืนยันด้วยการตรวจทางห้องปฏิบติการเสมอ การตรวจสไลด์
้
ั
thick และ thin blood smear เป็ นวิธีมาตรฐานในการวินิจฉัยมาลาเรี ย ซึ่ งต้องใช้ผชานาญในการดูสไลด์ และ
ู้
การดูสไลด์สามารถนับการนับปริ มาณการติดเชื้อมาลาเรี ยในเลือดได้ดวย (ภาคผนวกที่ 1)
้
ในกรณี ที่ไม่สามารถวินิจฉัยโดยสไลด์ได้อาจใช้วิธีอื่นที่ง่ายกว่า และใช้เวลาในการวินิจฉัยยืนยัน
น้อยกว่า เช่น การตรวจโดยใช้ชุดตรวจ (rapid diagnostic test)10 แต่ชุดตรวจ PfHRP2 สาหรับ P. falciparum
่
จะยังให้ผลบวกนานหลายสัปดาห์หลังติดเชื้อเฉี ยบพลัน ถึงแม้จะไม่มีเชื้อมาลาเรี ยที่มีชีวิตอยูในกระแสเลือด
แล้ว ชุ ดตรวจ PfHRP2 มีชนิ ดที่ตรวจ P. falciparum ได้อย่า งเดี ย ว และชนิ ดที่ ส ามารถตรวจได้ท้ ง P.
ั
falciparum และ non-P. falciparum
นอกจากชุดตรวจ PfHRP2 ที่ให้ผลดีเหมือนตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ในการวินิจฉัย P. falciparum
แล้ว ยังมีชุดตรวจ pLDH ที่สามารถตรวจแยก P. falciparum และ non-P. falciparum ได้ ถึงแม้ความไวของ
การพบ P. vivax จะลดลงเมื่อจานวนเชื้ อ <200/µL ก็ตาม นอกจากนี้ ชุดตรวจ pLDH จะให้ผลลบถ้าไม่มีเชื้ อ
มาลาเรี ยที่มีชีวตอยูในกระแสเลือดแล้ว
ิ ่
ในการวินิจฉัยยืนยันการติดเชื้ อ P. knowlesi ต้องใช้วิธี polymerase chain reaction (PCR) เนื่ องจาก
รู ปร่ างของ P. knowlesi คล้าย ring form ของ P. falciparum เมื่อเป็ นตัวอ่อนและ band form ของ P. malariae
เมื่อเป็ นตัวแก่
การรักษาผู้ป่วยมาลาเรี ย (รู ปที่ 1)
ผูป่วยสงสัยเป็ นมาลาเรี ย
้
เช่น มีไข้ และปั จจัยเสี่ ยง
อาการไม่รุนแรง

อาการรุ นแรง

ตรวจเลือดเพื่อยืนยันการวินิจฉัยว่า
เป็ นมาลาเรี ย และชนิดของมาลาเรี ย

Resuscitate ABC

หมดสติ
Pf

ไม่หมดสติ

Non-Pf


ให้ ACT 3 วัน และ
primaquine 1 ครั้ง

Pv, Po

ให้ chloroquine 3 วัน
และ primaquine 14 วัน

Pm, Pk*

ให้ chloroquine
3 วัน

ACT = artemisinin-combination therapy
Pf = P. falciparum, Pv = P. vivax, Pm = P. malariae, Po = P. ovale, Pk = P. knowlesi
non-Pf = non-P. falciparum, ABC = airway, breathing, circulation
* ยืนยันว่าเป็ น P. knowlesi โดย polymerase chain reaction
** อาจมี cerebral malaria หรื อมาลาเรี ยรุ นแรงอื่น ๆ ร่ วมด้วยก็ได้

ไม่มี neck rigidity



เจาะเลือดส่งตรวจหาเชื้อ
มาลาเรี ย และ lab อื่น ๆ
ได้แก่ glucostix, CBC,
plasma gulocose, BUN,
Cr, electrolyte, LFT, CXR
ให้ 50% dextrose (25g)
ละลายใน IV fluid ให้เป็ น
100 mL แล้วฉี ดเข้าหลอด
เลือด ใน 3-5 นาที แล้วต่อ
ด้วย IV fluid 5-10%
dextrose เป็ น maintenance

พบเชื้ อมาลาเรี ยในเลือด

Plasma glucose ปกติ

พบ neck rigidity

หมดสติจาก
cerebral malaria




Plasma glucose ต่า

หมดสติจาก
น้ าตาลในเลือดต่าจาก
มาลาเรี ยรุ นแรง**

ทา lumbar puncture
และหาสาเหตุอื่นของ
encephalopathy ด้วย

ให้ IV artesunate
่
ตรวจดูวามีภาวะแทรกซ้อน
อื่นที่ใดบ้าง และรักษา
ประคับประคองไปตามนั้น
รู ปที่ 1. ขั้นตอนการวินิจฉัยและรักษาผูป่วยมาลาเรี ย
้

การรักษาผูป่วยมาลาเรี ย มีดงนี้
้
ั
1. การรักษาผูป่วยมาลาเรี ยไม่รุนแรง (ตารางที่ 2)
้
2.1) ถ้ารู้ชนิดของมาลาเรี ยว่าเป็ น P. falciparum: ให้ artemisin-combination therapy11 เป็ นยาขนาน
แรก และ quinine ร่ วมกับ doxycycline หรื อ quinine ร่ วมกับ clindamycin เป็ นยาขนานที่สอง
(กรณี ถาไม่มี artemisinin-combination therapy)
้
2.2) ถ้ารู้ชนิดของมาลาเรี ยว่าเป็ น non-falciparum (P. vivax, P. ovale, P. malariae, P. knowlesi): ให้ยา
chloroquine เป็ นยาขนานแรก
2.3) ถ้าไม่รู้ชนิดของเชื้อมาลาเรี ยให้ artemisinin-combination therapy ทุกราย
2.4) ในผูป่ วยมาลาเรี ย ฟั ล ซิ ป ารั ม ถ้า ผูป่ วยมี เ ชื้ อ กลับ ภายใน 2 เดื อ นหลัง ได้รั บ ยา artesunate้
้
mefloquine แล้ว ไม่ควรให้ mefloquine ซ้ า แต่แนะนาให้ใช้ยารักษาขนานที่สองคือ quinine
ร่ วมกับ doxycycline /clindamycin หรื อ artesunate ร่ วมกับ doxycycline /clindamycin นาน 7
วันแทน
2.5) หลังรักษามาลาเรี ยจนได้รับยาครบแล้ว ถ้าผูป่วยมีไข้อีกถึงแม้ไม่ได้เข้าป่ า แนะนาให้ผป่วยมาพบ
้
ู้
แพทย์เพื่อตรวจว่ามีเชื้อมาลาเรี ยกลับหรื อไม่
ตารางที่ 2. การให้ยารักษามาลาเรี ยไม่รุนแรง (ภาคผนวกที่ 2)
P. falciparum
ยาขนานแรก Artesunate 4 mg/kg/day นาน 3 วัน + mefloquine 25 mg /kg แบ่งให้ใน
2-3 วัน
ยาขนานที่สอง Quinine 10 mg /kg + doxycycline 3 mg/kg วันละครั้ง (หรื อแบ่งให้ bid)

หรื อ clindamycin 10 mg/kg bid /วัน นาน 7 วัน หรือ
Artesunate 2 mg/kg/day + doxycycline 3 mg/kg วันละครั้ง (หรื อแบ่งให้
bid) หรื อ clindamycin 10 mg/kg bid /วัน นาน 7 วัน
Non- P. falciparum

Chloroquine 25 mg/kg แบ่งให้ใน 3 วัน

ตัวอย่ าง:
ผูป่วยชายเป็ นมาลาเรี ยชนิด P. falciparum น้ าหนัก 50 kg
้
ยาขนานแรก
วันที่ 1 ให้ artesunate 4 เม็ด และ mefloquine 3 เม็ด
วันที่ 2 ให้ artesunate 4 เม็ด และ mefloquine 2 เม็ด
วันที่ 3 ให้ artesunate 4 เม็ด และ primaquine (15 mg) 2 เม็ด (เพื่อฆ่า
gametocytes)
ยาขนานที่สอง
วันที่ 1-7 ให้ quinine 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ร่ วมกับ doxycycline 100 mg วันละ 2
ครั้ง หรื อ clindamycin 300 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน
วันที่ 7 ให้ primaquine (15 mg) 2 เม็ด (เพื่อฆ่า gametocytes)
ผูป่วยชายเป็ นมาลาเรี ยชนิด Non-P. falciparum น้ าหนัก 60 kg
้
วันที่ 1 มื้อที่ 1 ให้ chloroquine 2 เม็ด
มื้อที่ 2 ให้ chloroquine 2 เม็ด
มื้อที่ 3 ให้ chloroquine 2 เม็ด
วันที่ 2 ให้ chloroquine 2 เม็ด
วันที่ 3 ให้ chloroquine 2 เม็ด
และ primaquine (15 mg) 1 เม็ด/วัน นาน 14 วัน (เพื่อฆ่า hypnozoites ใน
กรณี P. vivax หรื อ P. ovale) ในกรณี ที่ไม่สามารถตรวจหาว่า G-6-PD
พร่ องหรื อไม่ก่อนให้ยา primaquine
 Artesunate ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 -3
 หลังจากรักษา P. falciparum แล้ว อาจให้ primaquine (0.25 mg /kg) (หรื อ15 mg) ครั้งเดียวหลังให้
artemisinin-combination therapy ครบแล้วเพื่อฆ่า gametocytes (แต่ในประเทศไทยหลายแห่ งใช้
primaquine 30 mg ครั้งเดี ยว มานาน โดยไม่มีปัญหา) การใช้ primaquine ครั้งเดี ยวนั้น ไม่
จาเป็ นต้องตรวจหา G-6-PD ก่อน อย่างไรก็ดีห้ามให้ primaquine ในหญิงตั้งครรภ์ถึงแม้ จะให้เพียง
ครั้งเดียว ก็ตาม
 หลังจากรักษา P. vivax แล้ว อาจให้ primaquine (0.5 mg /kg) (หรื อ 30 mg/วัน) วันละครั้ง นาน 14
วัน เพื่อป้ องกัน relapse (ในประเทศไทยหลายแห่ งให้ primaquine (0.25 mg/kg) (หรื อ 15 mg/วัน)
วันละครั้ ง นาน 14 วัน โดยไม่ ตรวจหาว่า G-6-PD พร่ องหรื อไม่ก่ อน ซึ่ ง อาจจะเสี่ ย งการเกิ ด
hemolysis ในผูป่วยที่พร่ อง G-6-PD ได้)
้
 สาหรับ P. ovale ควรให้ primaquine (0.25 mg /kg) (หรื อ 15 mg/วัน) วันละครั้ง นาน 14 วัน เพื่อ
ป้ องกัน relapse
 การให้ primaquine เป็ นระยะเวลานาน 14 วัน ควรตรวจว่าผูป่วยมี G-6-PD พร่ องหรื อไม่ เนื่ องจาก
้
primaquine จะทาให้เกิด hemolysis ได้ในผูป่วยที่มี G-6-PD พร่ อง ในผูป่วยที่พบว่า G-6-PD พร่ อง
้
้
อย่างอ่อน อาจจะให้ primaquine (0.75 mg /kg) (45 mg) สัปดาห์ละครั้ง นาน 8 สัปดาห์
 หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น P. vivax หรื อ P. ovale ห้ามให้ primaquine แต่ให้ suppressive prophylaxis ด้วย
chloroquine (5 mg /kg/สัปดาห์) (หรื อ 300 mg/สัปดาห์) จนคลอด หลังจากนั้นจึงให้ primaquine ได้
หญิงให้นมบุตรสามารถรับประทาน primaquine ได้ถาบุตรมี G-6-PD ปกติ
้
 การให้ยารั บประทานในขณะผูป่วยมี ไข้สูง อาจทาให้ผูป่วยอาเจียนยาออกทาให้ได้รับยาไม่เต็ม
้
้
ขนาด ควรลดไข้ให้ผป่วยก่อน เช่น รับประทานยาพาราเซตามอล หรื อเช็ดตัว
ู้
1. การรักษาผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง (ตารางที่ 3)
้
1.1) การั กษาจาเพาะ
 ให้ยาฉี ด artesunate เข้าหลอดเลือดดาเป็ นยาขนานแรก ต้องให้ยาฉี ดอย่างน้อย 24
ชัวโมง และต้องให้เป็ น bolus injection ไม่ให้ infusion หรื อ continuous drip ยา
่
artesunate ให้ใช้ครั้งเดียว ยาที่เหลือจากการฉี ดให้ทิ้งไป ห้ามเก็บไว้ใช้ต่อ เนื่องจาก
ยาไม่คงตัวหลังผสมกับ NaHCO3 แล้ว12-13(ภาคผนวกที่ 3) ถ้าผูป่วยอาการดี ข้ ึนและ
้
รับประทานได้แล้ว จึงเปลี่ยนเป็ นยารับประทาน artemisinin-combination therapy 3
วัน คือ artesunate-mefloquine
 ถ้าไม่มี artesunate ให้ยาฉีด quinine เป็ นยาขนานที่สองฉีดเข้าหลอดเลือดดาและต้อง
ให้ยาฉี ด อย่างน้อย 24 ชัวโมง การให้ quinine ต้องให้ infusion ใน 4 ชัวโมง ห้าม
่
่
ให้ bolus injection เพราะอาจเกิด cardiotoxic effect เช่น หัวใจหยุดเต้นได้ ให้ยา
จนกว่าผูป่วยรับประทานได้ จึงเปลี่ยนเป็ นยารับประทาน
้
ตารางที่ 2. ขนาดยาที่ใช้รักษาผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง
้
ยาขนานแรก: Artesunate 2.4 mg/kg เข้าหลอดเลือดดา แล้วตามด้วย 2.4 mg/kg ที่ 12 และ 24 ชัวโมง
่
ต่ อ จากนั้ นฉี ด วัน ละครั้ งจนกว่ า รั บ ประทานได้ แ ล้ ว จึ ง เปลี่ ย นเป็ นยา artemisinincombination therapy รับประทาน นาน 3 วัน
ยาขนานที่สอง: Quinine dihydrochloride 20 mg /kg ฉีดใน 4 ชัวโมง แล้วตามด้วย 10 mg /kg
่
ฉี ดใน 2-4 ชั่วโมง ทุก 8 ชัวโมง เมื่อรับประทานยาได้แล้วจึงเปลี่ ยนเป็ นยา artemisinin่
combination therapy รับประทาน นาน 3 วัน หรื อ quinine-doxycycline หรื อ quinineclindamycin หรื อ artesunate-doxycycline หรื อ artesunate-clindamycin รับประทานนาน
7 วัน
 แนะนาให้เลือกใช้ artesunate มากกว่า quinine เนื่ องจาก artesunate ลดอัตราการตายในผูป่วย
้
มาลาเรี ยรุ นแรงได้มากกว่า quinine
 ในกรณี ที่ผป่วยมีตบทางานผิดปกติหรื อไตวายหรื อหรื ออาการทัวไปทรุ ดลง
ู้
ั
่
 ไม่ตองปรับขนาดยา artesunate
้
 ปรับขนาดยา quinine เหลือ 1/2 - 1/3 ในวันที่ 3 ของการให้ยา maintenance dose
 ห้ามให้ doxycycline ในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร
 การให้ยารับประทานในขณะผูป่วยมีไข้สูง อาจทาให้ผูป่วยอาเจียนยาออกทาให้ได้รับยาไม่เต็ม
้
้
ขนาด ควรลดไข้ให้ผป่วยก่อน เช่น รับประทานยาพาราเซตามอลหรื อเช็ดตัว
ู้
1.2) การรั กษาประคับประคอง
ให้การรักษาประคับประคองในผูป่วยที่มีอวัยวะสาคัญล้มเหลว เช่น
้
หมดสติ:
ดูแลทางเดินหายใจ ดูสาเหตุอื่นที่ทาให้ผูป่วยหมดสติดวย เช่ น
้
้
น้ าตาลในเลื อดต่ า ห้ามให้ยา corticosteroid หรื อ mannitol ใน
ผู้ป่ วยหมดสติ ถ้ า จ าเป็ นอาจต้ อ งใส่ ท่ อ ช่ ว ยหายใจหรื อ
เครื่ องช่วยหายใจ
ชัก:
ดูแลทางเดินหายใจ ให้ยากันชัก เช่น diazepam
น้ าตาลในเลือดต่า: ตรวจ plasma glucose ทุก 6 ชัวโมง รักษาภาวะน้ าตาลในเลือดต่า
่
และให้ IV fluid ที่มีน้ าตาล เช่น 5-10% dextrose/ NSS
ซีด:
ให้ packed red cells ถ้าผูป่วยซี ดมี hematocrit < 24%
้
(hemoglobin <8 g/dl) หรื อมีอาการจากภาวะซีด
น้ าท่วมปอด:
ให้ผป่วยนอนหัวตั้ง 45°, ให้ออกซิ เจน, ให้ยาขับปั สสาวะ, ลด
ู้
หรื อหยุด IV fluid อาจต้องใช้ positive end-expiratory pressure /
continuous positive airway pressure ในผูป่วย adult respiratory
้
distress syndrome
่ ้
ไตวาย:
หาสาเหตุวา ผูป่วยที่มีปัสสาวะน้อยจากอะไร ถ้าผูป่วยขาดน้ า ให้
้
IV fluid; ถ้าผูป่วยมีไตวายให้ hemofiltration หรื อ hemodialysis14
้
หรื อ peritoneal dialysis
่
เลือดออกง่าย:
ดูวาสาเหตุมีเลือดออกง่ายจาก ขาด blood component ใด แล้วให้
blood component therapy ตามสาเหตุน้ น ๆ เช่ น ให้ platelet
ั
concentrate หรื อ fresh frozen plasma
เลือดเป็ นกรด:
แก้ ไ ขภาวะพร่ องน้ า (hypovolemic)
ในผู้ป่ วยขาดน้ า
hemofiltration หรื อ hemodialysis หรื อ peritoneal dialysis;
ไม่ให้ NaHCO3 ยกเว้นเลือดเป็ นกรดรุ นแรง เช่น pHa <7.15
ช็อก:
หาสาเหตุของความดันต่ า อาจจะเกิ ดจาก ภาวะพร่ องน้ า ขาด
น้ าตาล หรื อติดเชื้ อแบคทีเรี ยในเลื อดร่ วมด้วย หรื อจากมาลาเรี ย
เอง ควร เจาะเลื อดไปเพาะเชื้ อแบคทีเรี ยและให้ยาปฏิชีวนะฆ่า
แบคที เ รี ย ด้ว ย ถ้า ผูป่วยช็ อ กหรื อ มี อ าการทรุ ดลง ตลอดจน
้
รักษาความดันเลือดให้ปกติ
ยาปองกันมาลาเรีย
้
นักท่องเที่ยวที่จะไปในพื้นที่ที่มีมาลาเรี ยชุ กชุ ม (โดยดูจาก Annual Parasite Index หรื อ อัตราการ
เกิดโรคในรอบปี ต่อประชากร 1,000 คน) ถ้า API > 10 ต่อปี แสดงว่า จะว่าพื้นที่น้ น ๆ มีมาลาเรี ยชุกชุม)
ั
นักท่องเที่ยวจะประโยชน์จากยาป้ องกันป้ องกันมาลาเรี ยมากกว่าความเสี่ ยงจากฤทธิ์ ข้างเคียงของยา แต่ ใน
ประเทศไทยพบว่า API < 1 ต่อปี ในหลายๆพื้นที่ที่มีป่า ดังนั้นโดยทัวไปจึงไม่แนะนาให้รับประทานยา
่
ป้ องกันมาลาเรี ยในประเทศไทย แต่จะแนะนาว่าถ้ามีไข้ภายใน 1 สัปดาห์ -2 เดือนหลังออกจากป่ า ต้อง
คิดถึงมาลาเรี ยด้วยว่าอาจเป็ นสาเหตุให้เกิดไข้ ให้ผป่วยมาโรงพยาบาลและแจ้งให้แพทย์ทราบถึงประวัติการ
ู้
เดินเทางในพื้นที่ที่เสี่ ยงจะเป็ นมาลาเรี ยด้วยเพือจะได้ตรวจเลือดวินิจฉัยต่อไป
่
เอกสารอ้างอิง
1. สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข. สถานการณ์โรคมาลาเรี ย
ประจาสัปดาห์ พ.ศ. 2556.
2. White NJ, Pukrittayakamee S, Hien TT, Faiz MA, Mokulo OA, Dondorp AM. Malaria. Lancet
2013. doi:pii: S0140-6736(13)60024-0. 10.1016/S0140-6736(13)60024-0.
3. World Health Organization. Severe falciparum malaria. Trans R Soc Trop Med Hyg
2000;94(suppl 1): S1/5.
4. World Health Organization. Guidelines for the treatment of malaria. 2nd ed. Geneva: World
Health Organization; 2010.
5. World Health Organization. Management of severe malaria: a practical handbook. 3rd ed. Geneva.
World Health Organization; 2012.
6. Tangpukdee, Elshiekh SB, Phumratanaprapin W, Krudsood S, Wilairatana P. Factors associated
with acute renal failure in falciparum malaria infected patients. Southeast Asian J Trop Med
Public Health 2011;42:1305-12.
7. Arnold BJ, Tangpukdee N, Krudsood S, Wilairatana P. Risk factors of shock in severe falciparum
malaria. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2013 ;44:541-50.
8. Tangpukdee N, Krudsood S, Kano S, Wilairatana P. Falciparum malaria parasitemia index for
predicting severe malaria. Int J Lab Hematol 2012;34:320-7.
9. Tangpukdee N, Krudsood, Wilairatana P. Schizontemia as an indicator of severe malaria.
Southeast Asian J Trop Med Public Health 2013;44:740-3.
10. Tangpukdee N, Duangdee C, Wilairatana P, Krudsood S. Malaria diagnosis: a brief review.
Korean J Parasitol 2009;47:93-102.
11. Looareesuwan S, Viravan C, Vanijanonta S, Wilairatana P, Suntharasamai P, Charoenlarp P,
Arnold K, Kyle D, Canfield C, Webster K. Randomised trial of artesunate and mefloquine alone
and in sequence for acute uncomplicated falciparum malaria. Lancet 1992;339:821-4
12. Medicines for Malaria Venture. Injectable artesunate for severe malaria.
http://www.mmv.org/sites/default/files/uploads/docs/access/Injectable_Artesunate_Tool_Kit/Inje
ctableArtesunatePoster.pdf
13. Wilairatana P, Tangpukdee , Krudsood S. Practical aspects of artesunate administration in severe
malaria treatment. Trop Med Surg 2013;1:1000e109.
14. Wilairatana P, Westerlund EK, Aursudkij B, Vannaphan S, Krudsood S, Viriyavejakul P,
Chokejindachai W, Treeprasertsuk S, Srisuriya P, Gordeuk VR, Brittenham GM, Neild G,
Looareesuwan S. Treatment of malarial acute renal failure by hemodialysis. Am J Trop Med Hyg
1999;60:233-7.
ภาคผนวกที่ 1: การนับปริมาณการติดเชื้อมาลาเรียในเลือด (Quantitative parasite
count)
1. Number of parasites/µL of blood (thick film) วิธีน้ ี เป็ นการตรวจหาความหนาแน่นของเชื้ อมาลาเรี ย
เมื่อนับเม็ดเลือดขาว (WBC) ครบ 200 ตัว นอกจากนี้ ยงต้องทราบจานวนเม็ดเลื อดขาวในเลื อด 1 µL
ั
่ ้
ด้วย ถ้าไม่ทราบ hemogram ให้สมมุติวาผูป่วยมีเม็ดเลือดขาว 8,000 ตัว
Malarial parasites/µL of blood

=

Number of observed asexual parasites/200 WBC x total WBC count/µL
200

ตัวอย่างเช่น ผูป่วยมี WBC 5.7 x 109/L และพบ malaria parasites 4 ตัว/200 WBC
้
4

Malaria parasites/µL =



5.7  103 /µL
200

= 114 /µL

2. Number of parasites/µL of blood (thin film) วิธีน้ ี ตองทราบจานวนเม็ดเลือดแดง (RBC) ใน average
้
microscopic film ที่ตรวจ โดยทัวไปประมาณ 1,000 ตัว แต่อย่างไรก็ตามอาจคลาดเคลื่อนได้เนื่ องจาก
่
คุณภาพการ smear และกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ นอกจากนี้ยงต้องทราบจานวนเม็ดเลือดแดง
ั
่ ้
ที่นบด้วย ถ้าไม่ทราบ hemogram ให้สมมุติวาผูป่วยมีเม็ดเลือดแดง 5,000,000 ตัว/µL (ในผูชาย) และ
ั
้
่
4,500,000 ตัว/µL (ในผูหญิง) ถึงแม้วาในผูป่วยมาลาเรี ยมักมี anemia ได้มากกว่าปกติ ซึ่ งอาจทาให้การ
้
้
สมมุติไม่ถูกต้องนักก็ตาม
Malarial parasites/µL of blood

=

Number of observed asexual parasites/1000 RBC x total RBC count/µL
1,000
0

ตัวอย่างเช่น ผูป่วยมี RBC 4.06 x 1012/L และพบ malaria parasites 4 ตัว/1,000 RBC
้
Malaria parasites/µL =

4



4.06  106 /µL
1,000

= 16,240 /µL

3. Proportion of parasitized red blood cell count (thin film) วิธีน้ ี ตองทราบจานวนเม็ดเลือดแดงใน
้
average microscopic field ซึ่ งมักประมาณ 200 หรื อ 1,000 ตัว แต่อาจคลาดเคลื่ อนได้มากจากการไถ
smear และกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ จานวน parasitized red blood cells (asexual forms) หาร
ด้วยจานวน เม็ดเลือดแดงใน field เหล่านั้น คูณด้วย 100 จะได้เปอร์ เซ็นต์ของ parasitized red blood
cells
ภาคผนวกที่ 2: ยารักษามาลาเรี ย
ยารับประทาน
Artesunate: เม็ดละ 50 mg
Atovaquone-proguanil: 1 เม็ด ประกอบด้วย atovaquone 250 mg และ proguanil 100 mg
Chloroquine: เม็ดละ 150 mg
Clindamycin: เม็ดละ 300 mg
Doxycycline: เม็ดละ 100 mg
Mefloquine: เม็ดละ 250 mg
Primaquine: เม็ดละ 15 mg
Quinine sulphate: เม็ดละ 300 mg
ยาฉีด
Artesunate: vial ละ 60 mg
Quinine dihydrochloride: ampule ละ 600 mg
____________________________________________________________________________
ขนาดยารับประทาน artesunate
ให้ยาในขนาด 4 mg/kg/day
ยา 1 เม็ด มี artesunate 50 mg
น้ าหนัก (kg)
21 – 23
24 – 26
27 – 28
29
30 – 32
33 – 34
35
36 – 39
40
41 – 42
43 – 45
46
47 – 48
49 – 51
52 – 53
54
55 – 57
58 – 59
60
61 – 64
65
66 – 67
67 – 70

จานวนเม็ดยา
1¾
2
2¼
2¼
2½
2¾
2¾
3
3¼
3¼
3½
3¾
3¾
4
4¼
4¼
4½
4¾
4¾
5
5¼
5¼
5½
ขนาดยารับประทาน mefloquine
ให้ยาขนาด 25 mg/kg โดยให้ 15 mg/kg 1 ครั้ง ในวันแรก และอีก 10 mg/kg 1 ครั้ง ในวันที่ 2
ยา 1 เม็ด มี mefloquine 250 mg
จานวนเม็ดยา
จานวนเม็ดยา
น้ าหนัก
วันแรก
วันที่สอง
(kg)
(15 mg/kg)
(10 mg/kg)
20 – 21
1¼
¾
22 – 23
1½
¾
24 – 26
1½
1
27 – 28
1¾
1
29 – 31
1¾
1¼
32 – 33
2
1¼
34 – 36
2
1½
37 – 38
2¼
1½
39 – 41
2½
1½
42 – 43
2½
1¾
44 – 46
2¾
1¾
47 – 48
2¾
2
49 – 51
3
2
52 – 53
3¼
2
54 – 56
3¼
2¼
57 – 58
3½
1¼
59 – 61
3½
2½
62 – 63
3¾
2½
64 – 66
4
2½
67 – 68
4
2¾
69 – 71
4
3
72
4¼
3
73 - 77
4½
3
78
4¾
3
79 -81
4¾
3¼
ขนาดยารับประทาน primaquine สาหรับฆ่า hypozoites ในมาลาเรียไวแวกซ์
 ถ้า G-6-PD ปกติให้ขนาดยา 0.5 mg/kg/day นาน 14 วัน
 ถ้าไม่ทราบว่า G-6-PD พร่ องหรื อไม่ ให้ primaquine ขนาด 0.25 mg/kg/day นาน 14 วัน พร้อมกับ
แนะนาคนไข้ ว่าถ้ามีปัสสาวะคล้ าหรื อดา หรื อรู ้สึกซี ดลง ให้หยุดยา primaquine ทันที แล้วมาพบ
แพทย์
 ยา 1 เม็ด มี primaquine 15 mg
น้ าหนัก
จานวนเม็ดยา
(kg)
(ขนาด 0.5 mg/kg)
21 – 26
0.75
27 – 34
1
35 – 40
1.25
41 – 48
1.5
49 – 56
1.75
57 – 65
2
66 – 80
2.5
81 – 100
3
ใช้มีดตัดเม็ดยา (tablet cutter) ตัดยา

จานวนเม็ดยา
(ขนาด 0.25 mg/kg)
0.5
0.5
0.75
0.75
1
1
1.25
1.5
ภาคผนวกที่ 3: การเตรี ยมยาฉีด artesunate เข้าหลอดเลือดเพื่อรักษามาลาเรี ยรุ นแรง12
 ชัง น้ าหนักผูป่วย
้
่
 ให้ artesunate ขนาด 2.4 mg/kg/dose
 ตรวจจานวน vials ของยาที่ตองการ เช่น
้
น้ าหนัก 26-50 kg ใช้ 2 vials
น้ าหนัก 51-75 kg ใช้ 3 vials
น้ าหนัก 76-100 kg ใช้ 4 vials

่
 ผสมยา artesunic acid (60 mg/vial) กับ sodium bicarbonate 1 mL ใน ampoule ที่อยูในกล่องยา
แล้วเขย่าจนยาเข้ากันเป็ น artesunate solution
 เจือจางยาด้วย sodium saline หรื อ 5% dextrose 5 mL จนได้ปริ มาณยา 6 mL ทาให้ยามีความเข้มข้น
10 mg/mL
 คานวณปริ มาณ ยาเป็ น mL ที่ตองใช้
้
ตัวอย่ าง: ผูป่วยน้ าหนัก 60 kg ต้องใช้ยา artesunate ความเข้มข้น 10 mg/mL จานวน 2.4 x 60/10 = 14.4 mL หรื อประมาณ 15 mL
้

 ฉีดยาเข้าหลอดเลือดแบบ bolus injection
ตารางปริ มาณ (mL) ของ artesunate (ความเข้มข้น 10 mg/mL) ที่ตองใช้
้
ขนาดยา artesunate
น้ าหนักผูป่วย (kg)
้
mg
21-25
60
26-29
70
30-33
80
34-37
90
38-41
100
42-45
110
46-50
120
51-54
130
55-58
140
59-62
150
63-66
160
67-70
170

mL
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
71-75
76-79
80-83
84-87
88-91
92-95
96-100

180
190
200
210
220
230
240

18
19
20
21
22
23
24

_____________________________________________________________________________________

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 

Was ist angesagt? (20)

คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Malaria
MalariaMalaria
Malaria
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 

Andere mochten auch

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.Pairot Sreerata
 
Pathophy -Dengue Fever
Pathophy -Dengue FeverPathophy -Dengue Fever
Pathophy -Dengue FeverMj Hernandez
 
Praktikum protozoa-picture
Praktikum protozoa-picturePraktikum protozoa-picture
Praktikum protozoa-picture70131n9
 
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551rookiess
 

Andere mochten auch (10)

แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.
 
Pathophy -Dengue Fever
Pathophy -Dengue FeverPathophy -Dengue Fever
Pathophy -Dengue Fever
 
Praktikum protozoa-picture
Praktikum protozoa-picturePraktikum protozoa-picture
Praktikum protozoa-picture
 
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
 

Ähnlich wie แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisUtai Sukviwatsirikul
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Kamol Khositrangsikun
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนาsupphawan
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 

Ähnlich wie แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557 (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
ลำไส้อุดตันในเด็ก (Intestinal obstruction in children)
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
วัฒนา
วัฒนาวัฒนา
วัฒนา
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557

  • 1. ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่ งประเทศไทย และสานักโรคติดต่ อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แนวทางเวชปฏิบติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557 ั ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมิง เก่าเจริ ญ ศาสตราจารย์ นายแพทย์พลรัตน์ วิไลรัตน์* ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศรี วชา ครุ ฑสู ตร ิ ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงยุพิน ศุพุทธมงคล ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงเพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศกดิ์ ั พลตรี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วชย ประยูรวิวฒน์ ิ ั ั ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตั้งภักดี ้ นายแพทย์ อภิญญา นิรมิตสันติพงศ์ นางเสาวนิต วิชยขัทคะ ั __________________ *Corresponding author: ศาสตราจารย์ นายแพทย์พลรัตน์ วิไลรัตน์ ภาควิชาอายุรศาสตร์เขตร้อน คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล 420/6 ถนนราชวิถี ราชเทวี กทม 10400 e-mail: polrat.wil@mahidol.ac.th
  • 2. ระบาดวิทยา ปัจจุบนโรคมาลาเรี ยในคน มีสาเหตุมาจากเชื้ อ protozoa 5 ชนิดได้แก่ Plasmodium falciparum, P. ั vivax, P. malariae, P. ovale และ P. knowlesi ซึ่ง P. knowlesi ขณะนี้ พบได้มากในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย สาหรับประเทศไทยพบ P. knowlesi ได้บ่อยขี้น ในหลายจังหวัด เช่น จันทบุรี ประจวบคีรีขนธ์ ั ่ ยะลา และกระบี่ สถานการณ์ของโรคในประเทศไทยที่ผานมาพบว่าลดลงอย่างต่อเนื่ อง แต่ในปี งบประมาณ ่ พ.ศ.2556 กลับพบผูป่วยมาลาเรี ยเพิ่มขึ้นจากปี ที่ผานมา 5.9 %1 โดยมีการระบาดเป็ นหย่อม ๆ ในพื้นที่สวน ้ ยางพาราที่ปลูกใหม่ทางภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือและภาคเหนื อของประเทศ จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข ณ วันที่ 12 พ.ย. พ.ศ.2556 พบผูป่วยทั้งสิ้ น 29,317 ราย ในจานวนนี้เป็ นผูป่วยคนไทย ้ ้ 55% คนต่างชาติ 45% เป็ นเชื้อชนิดฟัลซิ ปารัม 42.5% ชนิดไวแวกซ์ 56.8% ที่เหลือเล็กน้อยเป็ นเชื้ อ ั ชนิดอื่น ๆ พื้นที่แพร่ เชื้ อมีความสัมพันธ์กบยุงพาหะซึ่งเป็ นยุงก้นปล่องบางชนิดที่มีแหล่งเพาะพันธุ์ในป่ า หรื อสภาพใกล้เคียงกับป่ าเท่านั้น ปัจจุบนพบผูป่วยมาลาเรี ยตามชายแดนของประเทศไทยที่ติดกับประเทศ ั ้ พม่า ได้แก่ แม่ฮ่องสอนลงมาจนถึงจังหวัดระนอง ชายแดนไทย-กัมพูชา บริ เวณชายแดนจังหวัด อุบลราชธานี ศรี สะเกษ สุ รินทร์ ลงมาจนถึงตราด และเนื่องจากปั ญหาความไม่สงบในสี่ จงหวัดภาคใต้ทา ั ให้เชื้อกลับมาแพร่ ระบาดเพิ่มขึ้นในจังหวัดยะลา นราธิวาส และสงขลา กลุ่มเสี่ ยงที่จะเป็ นโรคมาลาเรี ย ได้แก่ ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับป่ า คนงานสวนยางและสวนผลไม้ ทหาร ตารวจตระเวนชายแดน และนักท่องเที่ยวนิยมธรรมชาติตามชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน ่ ถึงแม้วาสถานการณ์โรคมาลาเรี ยจะลดลงมาอย่างต่อเนื่ องจนพื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคของประเทศ ปลอดจากการแพร่ เชื้ อแล้ว แต่โรคก็ยงคงมีความสาคัญสู งอยู่ เนื่องจากปั ญหาเชื้ อมาลาเรี ยชนิดฟัลซิ ปารัม ั ดื้อต่อยาเพิ่มขึ้นทาให้ตองใช้เวลาในการรักษาเพิ่มขึ้น อัตราส่ วนการพบเชื้ อไวแวกซ์เพิ่มขึ้นมากกว่าฟัลซิ ้ ปารัมและมีแนวโน้มว่าจะมีอาการทางคลินิกรุ นแรงเพิ่มขึ้นจนถึงขั้นเสี ยชีวิตก็มี และประการสุ ดท้ายที่ตอง ้ ระวังคือ กลุ่มนักท่องเที่ยวนิ ยมธรรมชาติที่ไม่มีภูมิตานทานมาลาเรี ย เมื่อติดเชื้ อฟัลซิ ปารัมจะมีอาการแทรก ้ ซ้อนรุ นแรงได้เร็ วและเสี ยชีวตได้ง่ายกว่าผูอาศัยในแหล่งแพร่ เชื้อ ิ ้ พยาธิกาเนิด ผูป่วยมาลาเรี ยจะมีไข้ สาเหตุของไข้ในผูป่วยมาลาเรี ยเกิดจากเชื้ อมาลาเรี ยไปกระตุน inflammatory ้ ้ ้ cytokines จาก monocytes และ macrophages ในขณะที่เป็ นมาลาเรี ยม้ามจะถูกกระตุนให้มีการจับกินเม็ด ้ เลือดแดงที่มีและไม่มีเชื้ อมาลาเรี ยทาให้ผูป่วยซี ดลง ในผูป่วยมาลาเรี ยฟัลซิ ปารัม เชื้ อมาลาเรี ยในเม็ดเลือด ้ ้ แดงจะสร้าง knobs ที่ผวเม็ดเลือดแดงไปเกาะติดบนหลอดเลือดฝอย เรี ยกว่าเกิด cytoadherence เม็ดเลือดแดง ิ ในหลอดเลือดจะเคลื่อนที่ลาบาก เกิด sequestration และทาให้เกิด hypoxia หรื อ anoxia ของอวัยวะนั้น ๆ นอกจากนี้ cytokines ทาให้เกิดการทางานผิดปกติของอวัยวะต่าง ๆด้วย ในผูป่วยมาลาเรี ยชนิ ดอื่น จะไม่พบ ้ cytoadherence ดังนั้นพยาธิ สภาพต่าง ๆ ที่เกิดน่าจะเป็ นกลไกของ cytokines
  • 3. ลักษณะทางคลินิก หลังจากถูกยุงกัดอาการที่พบได้บ่อยที่สุดคือ ไข้ ระยะฟักตัว (ระยะเวลาการเกิ ดอาการหลังจากถูก ยุง กัด) จะแตกต่ า งกัน แล้ว แต่ ช นิ ดของมาลาเรี ย โดยประมาณ 1-2 สั ปดาห์ ยกเว้น ระยะฟั ก ตัว ของ P. malariae ที่ อาจจะนานได้ถึง 1 เดือน อาการของมาลาเรี ยจะไม่มีลกษณะจาเพาะ เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ั แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ไอ รู ้สึกหน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่า (orthostalic hypotension)2 ซี ด ตับม้ามโต ถ้าผูป่วย ้ มีอาการรุ นแรงก็จะพบความผิดปกติตามระบบของอวัยวะที่สาคัญ (vital organ dysfunction) เช่น ชัก หมด สติ (ในมาลาเรี ยขึ้นสมอง ) หอบ (ในมาลาเรี ยที่มีน้ าท่วมปอด หรื อมีเลือดเป็ นกรด)3-5 (ตารางที่ 1)
  • 4. ตารางที่ 1. ลักษณะมาลาเรี ยรุ นแรง* ลักษณะทางคลินิก  สติสัมปชัญญะลดลงหรื อหมดสติ  อ่อนเพลียมาก  ชัก  หอบ  น้ าท่วมปอด  ช็อก  ไตวาย  ดีซ่าน ร่ วมกับอวัยวะที่สาคัญทางานผิดปกติ  เลือดออกผิดปกติ การตรวจทางห้ องปฏิ บัติการที่ผิดปกติ  น้ าตาลในเลือดต่า  เลือดเป็ นกรด  ซีดมาก  ปัสสาวะดา (hemoglobinuria)  แลคเตทในเลือดสู ง  ไตวาย  เอกซย์พบน้ าท่วมปอด *จากเอกสารอ้างอิงที่ 3-5 ขององค์การอนามัยโลก ลักษณะผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรงดังตารางที่ 1 อาจพบมากกว่า 1 อย่างก็ได้ ้ อาการของมาลาเรี ยรุ นแรงที่มกพบในผูใหญ่ ได้แก่ ดีซ่าน น้ าท่วมปอด ไตวาย6 หมดสติและ เลือด ั ้ เป็ นกรด พบว่า เพศหญิง อัลบูมินในเลือดต่า BUN-Creatinine ratio >20 เป็ นปั จจัยเสี่ ยงที่ทาให้ผป่วยช็อ ก7 ุ้ ในประเทศไทยผูป่วยมีโอกาสเป็ นมาลาเรี ยรุ นแรงได้มากเมื่อ parasitemia > 5%4 แต่ผป่วยหลายรายอาจเป็ น ้ ู้ 8 ั มาลาเรี ยรุ นแรงได้โดยมี parasitemia ต่ากว่านี้ นอกจากนี้ พบว่า shizontemia สัมพันธ์กบความหนาแน่น ของเชื้ อมาลาเรี ย ในเลื อด จากการศึ ก ษาที่ โรงพยาบาลเวชศาสตร์ เขตร้ อนในผูป่ วยมาลาเรี ย รุ นแรง พบ ้ shizontemia 39.6% แต่ไม่พบ shizontemia ในผูป่วยมาลาเรี ยไม่รุนแรง9 ้ ผูปวยมาลาเรี ยส่ วนใหญ่ติดเชื้อมาลาเรี ยชนิดเดียว ผูป่วยอีกส่ วนหนึ่งติดเชื้อมาลาเรี ยมากกว่า 1 ชนิด ้ ้ (mixed infection) เช่น P. falciparum ร่ วมกับ P. vivax เป็ นต้น
  • 5. การติดเชื้ออืนๆทีพบในมาลาเรียรุ นแรง ่ ่ ในผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง เช่น ช็อก หรื ออาการทางคลินิกเลวลง ไข้ไม่ลดถึงแม้ไม่พบเชื้ อมาลาเรี ย ้ ในเลือดแล้ว อาจพบการติดเชื้ออื่นร่ วมด้วย เช่น melioidosis, leptospirosis หรื อ scrub typhus มาลาเรียรุ นแรงจาก non-falciparum malaria มาลาเรี ยรุ นแรงส่ วนใหญ่เกิดจาก P. falciparum มีรายงานหลายแห่ งพบว่า P. vivax อาจทาให้เกิด ปอดบวม นอกจากนี้ อาจเกิด หมดสติ ไตวาย ช็อก ดีซ่าน เลือดออกผิดปกติ น้ าตาลในเลือดต่าได้ นอกจาก P. falciparum และ P. vivax แล้ว P. knowlesi ก็ทาให้เกิดมาลาเรี ยรุ นแรงได้ มาลาเรียในหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์มีโอกาสสู งที่จะเป็ นมาลาเรี ยรุ นแรง ซึ่ งมีอตราตายสู งมาก (ประมาณ 50%) พบเม็ด ั เลือดแดงที่ติดเชื้ อสู ง ซี ด น้ าตาลในเลื อดต่า และน้ าท่วมปอดบ่อยในหญิงตั้งครรภ์มากกว่าหญิงไม่ต้ งครรภ์ ั หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ นมาลาเรี ยรุ นแรงมักพบ fetal distress, premature labour และ stillbirth เพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น P. vivax พบน้อยมาก นอกจากนี้ อตราตายของลูกสู งถ้า หญิ งตั้งครรภ์เป็ น ั ั มาลาเรี ยตอนใกล้คลอด โอกาสหญิงตั้งครรภ์ตายขณะคลอดสัมพันธ์กบภาวะซี ดจากมาลาเรี ย การวินิจฉัย การวินิจฉัยว่าผูป่วยเป็ นมาลาเรี ย ต้องยืนยันด้วยการตรวจทางห้องปฏิบติการเสมอ การตรวจสไลด์ ้ ั thick และ thin blood smear เป็ นวิธีมาตรฐานในการวินิจฉัยมาลาเรี ย ซึ่ งต้องใช้ผชานาญในการดูสไลด์ และ ู้ การดูสไลด์สามารถนับการนับปริ มาณการติดเชื้อมาลาเรี ยในเลือดได้ดวย (ภาคผนวกที่ 1) ้ ในกรณี ที่ไม่สามารถวินิจฉัยโดยสไลด์ได้อาจใช้วิธีอื่นที่ง่ายกว่า และใช้เวลาในการวินิจฉัยยืนยัน น้อยกว่า เช่น การตรวจโดยใช้ชุดตรวจ (rapid diagnostic test)10 แต่ชุดตรวจ PfHRP2 สาหรับ P. falciparum ่ จะยังให้ผลบวกนานหลายสัปดาห์หลังติดเชื้อเฉี ยบพลัน ถึงแม้จะไม่มีเชื้อมาลาเรี ยที่มีชีวิตอยูในกระแสเลือด แล้ว ชุ ดตรวจ PfHRP2 มีชนิ ดที่ตรวจ P. falciparum ได้อย่า งเดี ย ว และชนิ ดที่ ส ามารถตรวจได้ท้ ง P. ั falciparum และ non-P. falciparum นอกจากชุดตรวจ PfHRP2 ที่ให้ผลดีเหมือนตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ในการวินิจฉัย P. falciparum แล้ว ยังมีชุดตรวจ pLDH ที่สามารถตรวจแยก P. falciparum และ non-P. falciparum ได้ ถึงแม้ความไวของ การพบ P. vivax จะลดลงเมื่อจานวนเชื้ อ <200/µL ก็ตาม นอกจากนี้ ชุดตรวจ pLDH จะให้ผลลบถ้าไม่มีเชื้ อ มาลาเรี ยที่มีชีวตอยูในกระแสเลือดแล้ว ิ ่ ในการวินิจฉัยยืนยันการติดเชื้ อ P. knowlesi ต้องใช้วิธี polymerase chain reaction (PCR) เนื่ องจาก รู ปร่ างของ P. knowlesi คล้าย ring form ของ P. falciparum เมื่อเป็ นตัวอ่อนและ band form ของ P. malariae เมื่อเป็ นตัวแก่
  • 6. การรักษาผู้ป่วยมาลาเรี ย (รู ปที่ 1) ผูป่วยสงสัยเป็ นมาลาเรี ย ้ เช่น มีไข้ และปั จจัยเสี่ ยง อาการไม่รุนแรง อาการรุ นแรง ตรวจเลือดเพื่อยืนยันการวินิจฉัยว่า เป็ นมาลาเรี ย และชนิดของมาลาเรี ย Resuscitate ABC หมดสติ Pf ไม่หมดสติ Non-Pf  ให้ ACT 3 วัน และ primaquine 1 ครั้ง Pv, Po ให้ chloroquine 3 วัน และ primaquine 14 วัน Pm, Pk* ให้ chloroquine 3 วัน ACT = artemisinin-combination therapy Pf = P. falciparum, Pv = P. vivax, Pm = P. malariae, Po = P. ovale, Pk = P. knowlesi non-Pf = non-P. falciparum, ABC = airway, breathing, circulation * ยืนยันว่าเป็ น P. knowlesi โดย polymerase chain reaction ** อาจมี cerebral malaria หรื อมาลาเรี ยรุ นแรงอื่น ๆ ร่ วมด้วยก็ได้ ไม่มี neck rigidity  เจาะเลือดส่งตรวจหาเชื้อ มาลาเรี ย และ lab อื่น ๆ ได้แก่ glucostix, CBC, plasma gulocose, BUN, Cr, electrolyte, LFT, CXR ให้ 50% dextrose (25g) ละลายใน IV fluid ให้เป็ น 100 mL แล้วฉี ดเข้าหลอด เลือด ใน 3-5 นาที แล้วต่อ ด้วย IV fluid 5-10% dextrose เป็ น maintenance พบเชื้ อมาลาเรี ยในเลือด Plasma glucose ปกติ พบ neck rigidity หมดสติจาก cerebral malaria   Plasma glucose ต่า หมดสติจาก น้ าตาลในเลือดต่าจาก มาลาเรี ยรุ นแรง** ทา lumbar puncture และหาสาเหตุอื่นของ encephalopathy ด้วย ให้ IV artesunate ่ ตรวจดูวามีภาวะแทรกซ้อน อื่นที่ใดบ้าง และรักษา ประคับประคองไปตามนั้น
  • 7. รู ปที่ 1. ขั้นตอนการวินิจฉัยและรักษาผูป่วยมาลาเรี ย ้ การรักษาผูป่วยมาลาเรี ย มีดงนี้ ้ ั 1. การรักษาผูป่วยมาลาเรี ยไม่รุนแรง (ตารางที่ 2) ้ 2.1) ถ้ารู้ชนิดของมาลาเรี ยว่าเป็ น P. falciparum: ให้ artemisin-combination therapy11 เป็ นยาขนาน แรก และ quinine ร่ วมกับ doxycycline หรื อ quinine ร่ วมกับ clindamycin เป็ นยาขนานที่สอง (กรณี ถาไม่มี artemisinin-combination therapy) ้ 2.2) ถ้ารู้ชนิดของมาลาเรี ยว่าเป็ น non-falciparum (P. vivax, P. ovale, P. malariae, P. knowlesi): ให้ยา chloroquine เป็ นยาขนานแรก 2.3) ถ้าไม่รู้ชนิดของเชื้อมาลาเรี ยให้ artemisinin-combination therapy ทุกราย 2.4) ในผูป่ วยมาลาเรี ย ฟั ล ซิ ป ารั ม ถ้า ผูป่ วยมี เ ชื้ อ กลับ ภายใน 2 เดื อ นหลัง ได้รั บ ยา artesunate้ ้ mefloquine แล้ว ไม่ควรให้ mefloquine ซ้ า แต่แนะนาให้ใช้ยารักษาขนานที่สองคือ quinine ร่ วมกับ doxycycline /clindamycin หรื อ artesunate ร่ วมกับ doxycycline /clindamycin นาน 7 วันแทน 2.5) หลังรักษามาลาเรี ยจนได้รับยาครบแล้ว ถ้าผูป่วยมีไข้อีกถึงแม้ไม่ได้เข้าป่ า แนะนาให้ผป่วยมาพบ ้ ู้ แพทย์เพื่อตรวจว่ามีเชื้อมาลาเรี ยกลับหรื อไม่ ตารางที่ 2. การให้ยารักษามาลาเรี ยไม่รุนแรง (ภาคผนวกที่ 2) P. falciparum ยาขนานแรก Artesunate 4 mg/kg/day นาน 3 วัน + mefloquine 25 mg /kg แบ่งให้ใน 2-3 วัน ยาขนานที่สอง Quinine 10 mg /kg + doxycycline 3 mg/kg วันละครั้ง (หรื อแบ่งให้ bid) หรื อ clindamycin 10 mg/kg bid /วัน นาน 7 วัน หรือ Artesunate 2 mg/kg/day + doxycycline 3 mg/kg วันละครั้ง (หรื อแบ่งให้ bid) หรื อ clindamycin 10 mg/kg bid /วัน นาน 7 วัน Non- P. falciparum Chloroquine 25 mg/kg แบ่งให้ใน 3 วัน ตัวอย่ าง: ผูป่วยชายเป็ นมาลาเรี ยชนิด P. falciparum น้ าหนัก 50 kg ้ ยาขนานแรก
  • 8. วันที่ 1 ให้ artesunate 4 เม็ด และ mefloquine 3 เม็ด วันที่ 2 ให้ artesunate 4 เม็ด และ mefloquine 2 เม็ด วันที่ 3 ให้ artesunate 4 เม็ด และ primaquine (15 mg) 2 เม็ด (เพื่อฆ่า gametocytes) ยาขนานที่สอง วันที่ 1-7 ให้ quinine 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ร่ วมกับ doxycycline 100 mg วันละ 2 ครั้ง หรื อ clindamycin 300 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 7 วัน วันที่ 7 ให้ primaquine (15 mg) 2 เม็ด (เพื่อฆ่า gametocytes) ผูป่วยชายเป็ นมาลาเรี ยชนิด Non-P. falciparum น้ าหนัก 60 kg ้ วันที่ 1 มื้อที่ 1 ให้ chloroquine 2 เม็ด มื้อที่ 2 ให้ chloroquine 2 เม็ด มื้อที่ 3 ให้ chloroquine 2 เม็ด วันที่ 2 ให้ chloroquine 2 เม็ด วันที่ 3 ให้ chloroquine 2 เม็ด และ primaquine (15 mg) 1 เม็ด/วัน นาน 14 วัน (เพื่อฆ่า hypnozoites ใน กรณี P. vivax หรื อ P. ovale) ในกรณี ที่ไม่สามารถตรวจหาว่า G-6-PD พร่ องหรื อไม่ก่อนให้ยา primaquine  Artesunate ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 -3  หลังจากรักษา P. falciparum แล้ว อาจให้ primaquine (0.25 mg /kg) (หรื อ15 mg) ครั้งเดียวหลังให้ artemisinin-combination therapy ครบแล้วเพื่อฆ่า gametocytes (แต่ในประเทศไทยหลายแห่ งใช้ primaquine 30 mg ครั้งเดี ยว มานาน โดยไม่มีปัญหา) การใช้ primaquine ครั้งเดี ยวนั้น ไม่ จาเป็ นต้องตรวจหา G-6-PD ก่อน อย่างไรก็ดีห้ามให้ primaquine ในหญิงตั้งครรภ์ถึงแม้ จะให้เพียง ครั้งเดียว ก็ตาม  หลังจากรักษา P. vivax แล้ว อาจให้ primaquine (0.5 mg /kg) (หรื อ 30 mg/วัน) วันละครั้ง นาน 14 วัน เพื่อป้ องกัน relapse (ในประเทศไทยหลายแห่ งให้ primaquine (0.25 mg/kg) (หรื อ 15 mg/วัน) วันละครั้ ง นาน 14 วัน โดยไม่ ตรวจหาว่า G-6-PD พร่ องหรื อไม่ก่ อน ซึ่ ง อาจจะเสี่ ย งการเกิ ด hemolysis ในผูป่วยที่พร่ อง G-6-PD ได้) ้  สาหรับ P. ovale ควรให้ primaquine (0.25 mg /kg) (หรื อ 15 mg/วัน) วันละครั้ง นาน 14 วัน เพื่อ ป้ องกัน relapse  การให้ primaquine เป็ นระยะเวลานาน 14 วัน ควรตรวจว่าผูป่วยมี G-6-PD พร่ องหรื อไม่ เนื่ องจาก ้ primaquine จะทาให้เกิด hemolysis ได้ในผูป่วยที่มี G-6-PD พร่ อง ในผูป่วยที่พบว่า G-6-PD พร่ อง ้ ้ อย่างอ่อน อาจจะให้ primaquine (0.75 mg /kg) (45 mg) สัปดาห์ละครั้ง นาน 8 สัปดาห์
  • 9.  หญิงตั้งครรภ์ที่เป็ น P. vivax หรื อ P. ovale ห้ามให้ primaquine แต่ให้ suppressive prophylaxis ด้วย chloroquine (5 mg /kg/สัปดาห์) (หรื อ 300 mg/สัปดาห์) จนคลอด หลังจากนั้นจึงให้ primaquine ได้ หญิงให้นมบุตรสามารถรับประทาน primaquine ได้ถาบุตรมี G-6-PD ปกติ ้  การให้ยารั บประทานในขณะผูป่วยมี ไข้สูง อาจทาให้ผูป่วยอาเจียนยาออกทาให้ได้รับยาไม่เต็ม ้ ้ ขนาด ควรลดไข้ให้ผป่วยก่อน เช่น รับประทานยาพาราเซตามอล หรื อเช็ดตัว ู้ 1. การรักษาผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง (ตารางที่ 3) ้ 1.1) การั กษาจาเพาะ  ให้ยาฉี ด artesunate เข้าหลอดเลือดดาเป็ นยาขนานแรก ต้องให้ยาฉี ดอย่างน้อย 24 ชัวโมง และต้องให้เป็ น bolus injection ไม่ให้ infusion หรื อ continuous drip ยา ่ artesunate ให้ใช้ครั้งเดียว ยาที่เหลือจากการฉี ดให้ทิ้งไป ห้ามเก็บไว้ใช้ต่อ เนื่องจาก ยาไม่คงตัวหลังผสมกับ NaHCO3 แล้ว12-13(ภาคผนวกที่ 3) ถ้าผูป่วยอาการดี ข้ ึนและ ้ รับประทานได้แล้ว จึงเปลี่ยนเป็ นยารับประทาน artemisinin-combination therapy 3 วัน คือ artesunate-mefloquine  ถ้าไม่มี artesunate ให้ยาฉีด quinine เป็ นยาขนานที่สองฉีดเข้าหลอดเลือดดาและต้อง ให้ยาฉี ด อย่างน้อย 24 ชัวโมง การให้ quinine ต้องให้ infusion ใน 4 ชัวโมง ห้าม ่ ่ ให้ bolus injection เพราะอาจเกิด cardiotoxic effect เช่น หัวใจหยุดเต้นได้ ให้ยา จนกว่าผูป่วยรับประทานได้ จึงเปลี่ยนเป็ นยารับประทาน ้ ตารางที่ 2. ขนาดยาที่ใช้รักษาผูป่วยมาลาเรี ยรุ นแรง ้ ยาขนานแรก: Artesunate 2.4 mg/kg เข้าหลอดเลือดดา แล้วตามด้วย 2.4 mg/kg ที่ 12 และ 24 ชัวโมง ่ ต่ อ จากนั้ นฉี ด วัน ละครั้ งจนกว่ า รั บ ประทานได้ แ ล้ ว จึ ง เปลี่ ย นเป็ นยา artemisinincombination therapy รับประทาน นาน 3 วัน ยาขนานที่สอง: Quinine dihydrochloride 20 mg /kg ฉีดใน 4 ชัวโมง แล้วตามด้วย 10 mg /kg ่ ฉี ดใน 2-4 ชั่วโมง ทุก 8 ชัวโมง เมื่อรับประทานยาได้แล้วจึงเปลี่ ยนเป็ นยา artemisinin่ combination therapy รับประทาน นาน 3 วัน หรื อ quinine-doxycycline หรื อ quinineclindamycin หรื อ artesunate-doxycycline หรื อ artesunate-clindamycin รับประทานนาน 7 วัน  แนะนาให้เลือกใช้ artesunate มากกว่า quinine เนื่ องจาก artesunate ลดอัตราการตายในผูป่วย ้ มาลาเรี ยรุ นแรงได้มากกว่า quinine  ในกรณี ที่ผป่วยมีตบทางานผิดปกติหรื อไตวายหรื อหรื ออาการทัวไปทรุ ดลง ู้ ั ่
  • 10.  ไม่ตองปรับขนาดยา artesunate ้  ปรับขนาดยา quinine เหลือ 1/2 - 1/3 ในวันที่ 3 ของการให้ยา maintenance dose  ห้ามให้ doxycycline ในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงให้นมบุตร  การให้ยารับประทานในขณะผูป่วยมีไข้สูง อาจทาให้ผูป่วยอาเจียนยาออกทาให้ได้รับยาไม่เต็ม ้ ้ ขนาด ควรลดไข้ให้ผป่วยก่อน เช่น รับประทานยาพาราเซตามอลหรื อเช็ดตัว ู้ 1.2) การรั กษาประคับประคอง ให้การรักษาประคับประคองในผูป่วยที่มีอวัยวะสาคัญล้มเหลว เช่น ้ หมดสติ: ดูแลทางเดินหายใจ ดูสาเหตุอื่นที่ทาให้ผูป่วยหมดสติดวย เช่ น ้ ้ น้ าตาลในเลื อดต่ า ห้ามให้ยา corticosteroid หรื อ mannitol ใน ผู้ป่ วยหมดสติ ถ้ า จ าเป็ นอาจต้ อ งใส่ ท่ อ ช่ ว ยหายใจหรื อ เครื่ องช่วยหายใจ ชัก: ดูแลทางเดินหายใจ ให้ยากันชัก เช่น diazepam น้ าตาลในเลือดต่า: ตรวจ plasma glucose ทุก 6 ชัวโมง รักษาภาวะน้ าตาลในเลือดต่า ่ และให้ IV fluid ที่มีน้ าตาล เช่น 5-10% dextrose/ NSS ซีด: ให้ packed red cells ถ้าผูป่วยซี ดมี hematocrit < 24% ้ (hemoglobin <8 g/dl) หรื อมีอาการจากภาวะซีด น้ าท่วมปอด: ให้ผป่วยนอนหัวตั้ง 45°, ให้ออกซิ เจน, ให้ยาขับปั สสาวะ, ลด ู้ หรื อหยุด IV fluid อาจต้องใช้ positive end-expiratory pressure / continuous positive airway pressure ในผูป่วย adult respiratory ้ distress syndrome ่ ้ ไตวาย: หาสาเหตุวา ผูป่วยที่มีปัสสาวะน้อยจากอะไร ถ้าผูป่วยขาดน้ า ให้ ้ IV fluid; ถ้าผูป่วยมีไตวายให้ hemofiltration หรื อ hemodialysis14 ้ หรื อ peritoneal dialysis ่ เลือดออกง่าย: ดูวาสาเหตุมีเลือดออกง่ายจาก ขาด blood component ใด แล้วให้ blood component therapy ตามสาเหตุน้ น ๆ เช่ น ให้ platelet ั concentrate หรื อ fresh frozen plasma เลือดเป็ นกรด: แก้ ไ ขภาวะพร่ องน้ า (hypovolemic) ในผู้ป่ วยขาดน้ า hemofiltration หรื อ hemodialysis หรื อ peritoneal dialysis; ไม่ให้ NaHCO3 ยกเว้นเลือดเป็ นกรดรุ นแรง เช่น pHa <7.15 ช็อก: หาสาเหตุของความดันต่ า อาจจะเกิ ดจาก ภาวะพร่ องน้ า ขาด น้ าตาล หรื อติดเชื้ อแบคทีเรี ยในเลื อดร่ วมด้วย หรื อจากมาลาเรี ย เอง ควร เจาะเลื อดไปเพาะเชื้ อแบคทีเรี ยและให้ยาปฏิชีวนะฆ่า
  • 11. แบคที เ รี ย ด้ว ย ถ้า ผูป่วยช็ อ กหรื อ มี อ าการทรุ ดลง ตลอดจน ้ รักษาความดันเลือดให้ปกติ ยาปองกันมาลาเรีย ้ นักท่องเที่ยวที่จะไปในพื้นที่ที่มีมาลาเรี ยชุ กชุ ม (โดยดูจาก Annual Parasite Index หรื อ อัตราการ เกิดโรคในรอบปี ต่อประชากร 1,000 คน) ถ้า API > 10 ต่อปี แสดงว่า จะว่าพื้นที่น้ น ๆ มีมาลาเรี ยชุกชุม) ั นักท่องเที่ยวจะประโยชน์จากยาป้ องกันป้ องกันมาลาเรี ยมากกว่าความเสี่ ยงจากฤทธิ์ ข้างเคียงของยา แต่ ใน ประเทศไทยพบว่า API < 1 ต่อปี ในหลายๆพื้นที่ที่มีป่า ดังนั้นโดยทัวไปจึงไม่แนะนาให้รับประทานยา ่ ป้ องกันมาลาเรี ยในประเทศไทย แต่จะแนะนาว่าถ้ามีไข้ภายใน 1 สัปดาห์ -2 เดือนหลังออกจากป่ า ต้อง คิดถึงมาลาเรี ยด้วยว่าอาจเป็ นสาเหตุให้เกิดไข้ ให้ผป่วยมาโรงพยาบาลและแจ้งให้แพทย์ทราบถึงประวัติการ ู้ เดินเทางในพื้นที่ที่เสี่ ยงจะเป็ นมาลาเรี ยด้วยเพือจะได้ตรวจเลือดวินิจฉัยต่อไป ่ เอกสารอ้างอิง 1. สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข. สถานการณ์โรคมาลาเรี ย ประจาสัปดาห์ พ.ศ. 2556. 2. White NJ, Pukrittayakamee S, Hien TT, Faiz MA, Mokulo OA, Dondorp AM. Malaria. Lancet 2013. doi:pii: S0140-6736(13)60024-0. 10.1016/S0140-6736(13)60024-0. 3. World Health Organization. Severe falciparum malaria. Trans R Soc Trop Med Hyg 2000;94(suppl 1): S1/5. 4. World Health Organization. Guidelines for the treatment of malaria. 2nd ed. Geneva: World Health Organization; 2010. 5. World Health Organization. Management of severe malaria: a practical handbook. 3rd ed. Geneva. World Health Organization; 2012. 6. Tangpukdee, Elshiekh SB, Phumratanaprapin W, Krudsood S, Wilairatana P. Factors associated with acute renal failure in falciparum malaria infected patients. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2011;42:1305-12. 7. Arnold BJ, Tangpukdee N, Krudsood S, Wilairatana P. Risk factors of shock in severe falciparum malaria. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2013 ;44:541-50. 8. Tangpukdee N, Krudsood S, Kano S, Wilairatana P. Falciparum malaria parasitemia index for predicting severe malaria. Int J Lab Hematol 2012;34:320-7. 9. Tangpukdee N, Krudsood, Wilairatana P. Schizontemia as an indicator of severe malaria. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2013;44:740-3.
  • 12. 10. Tangpukdee N, Duangdee C, Wilairatana P, Krudsood S. Malaria diagnosis: a brief review. Korean J Parasitol 2009;47:93-102. 11. Looareesuwan S, Viravan C, Vanijanonta S, Wilairatana P, Suntharasamai P, Charoenlarp P, Arnold K, Kyle D, Canfield C, Webster K. Randomised trial of artesunate and mefloquine alone and in sequence for acute uncomplicated falciparum malaria. Lancet 1992;339:821-4 12. Medicines for Malaria Venture. Injectable artesunate for severe malaria. http://www.mmv.org/sites/default/files/uploads/docs/access/Injectable_Artesunate_Tool_Kit/Inje ctableArtesunatePoster.pdf 13. Wilairatana P, Tangpukdee , Krudsood S. Practical aspects of artesunate administration in severe malaria treatment. Trop Med Surg 2013;1:1000e109. 14. Wilairatana P, Westerlund EK, Aursudkij B, Vannaphan S, Krudsood S, Viriyavejakul P, Chokejindachai W, Treeprasertsuk S, Srisuriya P, Gordeuk VR, Brittenham GM, Neild G, Looareesuwan S. Treatment of malarial acute renal failure by hemodialysis. Am J Trop Med Hyg 1999;60:233-7.
  • 13. ภาคผนวกที่ 1: การนับปริมาณการติดเชื้อมาลาเรียในเลือด (Quantitative parasite count) 1. Number of parasites/µL of blood (thick film) วิธีน้ ี เป็ นการตรวจหาความหนาแน่นของเชื้ อมาลาเรี ย เมื่อนับเม็ดเลือดขาว (WBC) ครบ 200 ตัว นอกจากนี้ ยงต้องทราบจานวนเม็ดเลื อดขาวในเลื อด 1 µL ั ่ ้ ด้วย ถ้าไม่ทราบ hemogram ให้สมมุติวาผูป่วยมีเม็ดเลือดขาว 8,000 ตัว Malarial parasites/µL of blood = Number of observed asexual parasites/200 WBC x total WBC count/µL 200 ตัวอย่างเช่น ผูป่วยมี WBC 5.7 x 109/L และพบ malaria parasites 4 ตัว/200 WBC ้ 4 Malaria parasites/µL =  5.7  103 /µL 200 = 114 /µL 2. Number of parasites/µL of blood (thin film) วิธีน้ ี ตองทราบจานวนเม็ดเลือดแดง (RBC) ใน average ้ microscopic film ที่ตรวจ โดยทัวไปประมาณ 1,000 ตัว แต่อย่างไรก็ตามอาจคลาดเคลื่อนได้เนื่ องจาก ่ คุณภาพการ smear และกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ นอกจากนี้ยงต้องทราบจานวนเม็ดเลือดแดง ั ่ ้ ที่นบด้วย ถ้าไม่ทราบ hemogram ให้สมมุติวาผูป่วยมีเม็ดเลือดแดง 5,000,000 ตัว/µL (ในผูชาย) และ ั ้ ่ 4,500,000 ตัว/µL (ในผูหญิง) ถึงแม้วาในผูป่วยมาลาเรี ยมักมี anemia ได้มากกว่าปกติ ซึ่ งอาจทาให้การ ้ ้ สมมุติไม่ถูกต้องนักก็ตาม Malarial parasites/µL of blood = Number of observed asexual parasites/1000 RBC x total RBC count/µL 1,000 0 ตัวอย่างเช่น ผูป่วยมี RBC 4.06 x 1012/L และพบ malaria parasites 4 ตัว/1,000 RBC ้ Malaria parasites/µL = 4  4.06  106 /µL 1,000 = 16,240 /µL 3. Proportion of parasitized red blood cell count (thin film) วิธีน้ ี ตองทราบจานวนเม็ดเลือดแดงใน ้ average microscopic field ซึ่ งมักประมาณ 200 หรื อ 1,000 ตัว แต่อาจคลาดเคลื่ อนได้มากจากการไถ smear และกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ จานวน parasitized red blood cells (asexual forms) หาร ด้วยจานวน เม็ดเลือดแดงใน field เหล่านั้น คูณด้วย 100 จะได้เปอร์ เซ็นต์ของ parasitized red blood cells
  • 14. ภาคผนวกที่ 2: ยารักษามาลาเรี ย ยารับประทาน Artesunate: เม็ดละ 50 mg Atovaquone-proguanil: 1 เม็ด ประกอบด้วย atovaquone 250 mg และ proguanil 100 mg Chloroquine: เม็ดละ 150 mg Clindamycin: เม็ดละ 300 mg Doxycycline: เม็ดละ 100 mg Mefloquine: เม็ดละ 250 mg Primaquine: เม็ดละ 15 mg Quinine sulphate: เม็ดละ 300 mg ยาฉีด Artesunate: vial ละ 60 mg Quinine dihydrochloride: ampule ละ 600 mg ____________________________________________________________________________
  • 15. ขนาดยารับประทาน artesunate ให้ยาในขนาด 4 mg/kg/day ยา 1 เม็ด มี artesunate 50 mg น้ าหนัก (kg) 21 – 23 24 – 26 27 – 28 29 30 – 32 33 – 34 35 36 – 39 40 41 – 42 43 – 45 46 47 – 48 49 – 51 52 – 53 54 55 – 57 58 – 59 60 61 – 64 65 66 – 67 67 – 70 จานวนเม็ดยา 1¾ 2 2¼ 2¼ 2½ 2¾ 2¾ 3 3¼ 3¼ 3½ 3¾ 3¾ 4 4¼ 4¼ 4½ 4¾ 4¾ 5 5¼ 5¼ 5½
  • 16. ขนาดยารับประทาน mefloquine ให้ยาขนาด 25 mg/kg โดยให้ 15 mg/kg 1 ครั้ง ในวันแรก และอีก 10 mg/kg 1 ครั้ง ในวันที่ 2 ยา 1 เม็ด มี mefloquine 250 mg จานวนเม็ดยา จานวนเม็ดยา น้ าหนัก วันแรก วันที่สอง (kg) (15 mg/kg) (10 mg/kg) 20 – 21 1¼ ¾ 22 – 23 1½ ¾ 24 – 26 1½ 1 27 – 28 1¾ 1 29 – 31 1¾ 1¼ 32 – 33 2 1¼ 34 – 36 2 1½ 37 – 38 2¼ 1½ 39 – 41 2½ 1½ 42 – 43 2½ 1¾ 44 – 46 2¾ 1¾ 47 – 48 2¾ 2 49 – 51 3 2 52 – 53 3¼ 2 54 – 56 3¼ 2¼ 57 – 58 3½ 1¼ 59 – 61 3½ 2½ 62 – 63 3¾ 2½ 64 – 66 4 2½ 67 – 68 4 2¾ 69 – 71 4 3 72 4¼ 3 73 - 77 4½ 3 78 4¾ 3 79 -81 4¾ 3¼
  • 17. ขนาดยารับประทาน primaquine สาหรับฆ่า hypozoites ในมาลาเรียไวแวกซ์  ถ้า G-6-PD ปกติให้ขนาดยา 0.5 mg/kg/day นาน 14 วัน  ถ้าไม่ทราบว่า G-6-PD พร่ องหรื อไม่ ให้ primaquine ขนาด 0.25 mg/kg/day นาน 14 วัน พร้อมกับ แนะนาคนไข้ ว่าถ้ามีปัสสาวะคล้ าหรื อดา หรื อรู ้สึกซี ดลง ให้หยุดยา primaquine ทันที แล้วมาพบ แพทย์  ยา 1 เม็ด มี primaquine 15 mg น้ าหนัก จานวนเม็ดยา (kg) (ขนาด 0.5 mg/kg) 21 – 26 0.75 27 – 34 1 35 – 40 1.25 41 – 48 1.5 49 – 56 1.75 57 – 65 2 66 – 80 2.5 81 – 100 3 ใช้มีดตัดเม็ดยา (tablet cutter) ตัดยา จานวนเม็ดยา (ขนาด 0.25 mg/kg) 0.5 0.5 0.75 0.75 1 1 1.25 1.5
  • 18. ภาคผนวกที่ 3: การเตรี ยมยาฉีด artesunate เข้าหลอดเลือดเพื่อรักษามาลาเรี ยรุ นแรง12  ชัง น้ าหนักผูป่วย ้ ่  ให้ artesunate ขนาด 2.4 mg/kg/dose  ตรวจจานวน vials ของยาที่ตองการ เช่น ้ น้ าหนัก 26-50 kg ใช้ 2 vials น้ าหนัก 51-75 kg ใช้ 3 vials น้ าหนัก 76-100 kg ใช้ 4 vials ่  ผสมยา artesunic acid (60 mg/vial) กับ sodium bicarbonate 1 mL ใน ampoule ที่อยูในกล่องยา แล้วเขย่าจนยาเข้ากันเป็ น artesunate solution  เจือจางยาด้วย sodium saline หรื อ 5% dextrose 5 mL จนได้ปริ มาณยา 6 mL ทาให้ยามีความเข้มข้น 10 mg/mL  คานวณปริ มาณ ยาเป็ น mL ที่ตองใช้ ้ ตัวอย่ าง: ผูป่วยน้ าหนัก 60 kg ต้องใช้ยา artesunate ความเข้มข้น 10 mg/mL จานวน 2.4 x 60/10 = 14.4 mL หรื อประมาณ 15 mL ้  ฉีดยาเข้าหลอดเลือดแบบ bolus injection ตารางปริ มาณ (mL) ของ artesunate (ความเข้มข้น 10 mg/mL) ที่ตองใช้ ้ ขนาดยา artesunate น้ าหนักผูป่วย (kg) ้ mg 21-25 60 26-29 70 30-33 80 34-37 90 38-41 100 42-45 110 46-50 120 51-54 130 55-58 140 59-62 150 63-66 160 67-70 170 mL 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17