SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
-47- . CPG. for Topical Steroid Usage
   สถาบันโรคผิวหนัง
ตารางที่ 1 การแบงโรคตามการตอบสนองตอสตีรอยด
ความนํา
แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน
ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการ
ดูแลรักษาผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใช
เปนแนวทางในการดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎ
ตายตัวที่ตองปฏิบัติการรักษาตามที่เขียนไว
ทุกประการ ทั้งนี้เพราะผูปวยแตละรายมี
ปญหาที่แตกตางกัน การวางแนวทางการ
รักษานี้เปนการสรางมาตรฐานและพัฒนาการ
ดูแลรักษาโรคผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มา
พบแพทยไดรับความมั่นใจวาจะไดรับการ
ดูแลรักษาที่ดี
คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใช
อางอิง
ทางกฎหมายโดยไมผานการพิจารณาจาก
ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี
นิยาม
ยาทาคอรติโคสตีรอยด (Corticosteroid)
หมายถึงยาที่ใชทาผิวหนังและเยื่อบุ โดยมี
ฤทธิ์ลดการอักเสบ กดปฏิกิริยาอิมมูน และ
ยับยั้งการแบงเซลล
เกณฑการพิจารณาใชยา
ใหทําการซักประวัติ ตรวจรางกาย การ
ตรวจทางหองปฏิบัติการและใหการวินิจฉัย
วาเปนโรคที่ตอบสนองตอการใชยาทาคอรติ
โคสตีรอยด (ตารางที่ 1) กอนทําการรักษา
ตอบสนองดีมาก ตอบสนองดีปานกลาง ตอบสนองนอย
Psoriasis(intertriginous)
Atopic dermatitis (children)
Seborrheic dermatitis
Intertrigo (non-infectious)
Psoriasis
Atopic dermatitis (adults)
Nummular eczema
Allergic contact dermatitis,
subacute phase
Primary irritant dermatitis
Papular urticaria
Parapsoriasis
Lichen simplex chronicus
Palmoplantar psoriasis
Psoriasis of nails
Dyshidrotic eczema
Lupus erythematosus
Pemphigus
Lichen planus
Granuloma annulare
Necrobiosis lipoidica diabeticorum
Sarcoidosis
Allergic contact dermatitis, acute
phase
Insect bites
Topical Steroid Usage
CPG. for Topical Steroid Usage
   สถาบันโรคผิวหนัง
-48-
หลักการใชยา
เนื่องจากการออกฤทธิ์ของยาในกลุมนี้
ขึ้นกับปจจัยหลายอยาง ดังนั้นการเลือกใชยา
จึงตองคํานึงถึงปจจัย ดังตอไปนี้
1.ตัวยา ดังนี้
1.1 รูปแบบของยา (Form): ยาทาคอรติ
โคสตีรอยด โดยทั่วไปตองผสมอยูในยา
พื้นฐาน (Base) ทําใหเกิดเปนรูปแบบของยา
(form) ชนิดตางๆ ดังนี้
1.1.1 ขี้ผึ้ง (ointment): ใชเคลือบ
ผิวหนังทําใหชุมชื้น เหมาะสําหรับผิวหนังที่
แหง จะไดผลดีในผื่นผิวหนังที่หนา แหงแตก
เนื่องจากคุณสมบัติของขี้ผึ้งจะเคลือบผิวหนัง
ไดดี จึงทําใหยาถูกดูดซึมไดมากขึ้น แตผูใช
1.1.2 จะรูสึกเหนียวเหนอะหนะ ขี้ผึ้งมัก
ไมมีสารกันบูด
1.1.3 ครีมและโลชัน (cream and
lotion): เหมาะสําหรับผื่นผิวหนังอักเสบชนิด
เฉียบพลัน และกึ่งเฉียบพลัน อาจใชกับ
ผิวหนังบริเวณที่อับชื้น ยาประเภทครีมจําเปน
จะตองใชสารกันบูด ซึ่งอาจทําใหเกิดการแพ
ได
1.1.4 รูปสารละลาย (lotion และ
solution), เจล (gel), สเปรย (spray) : เหมาะ
ที่จะใชกับบริเวณที่มีขนและผม ยาประเภทนี้
บางชนิดมีสวนผสมของแอลกอฮอลและ
propylene glycol ซึ่งอาจทําใหเกิดการระคาย
เคือง หากใชบริเวณที่มีรอยแตกหรือแผล
. CPG. for Topical Steroid Usage
   สถาบันโรคผิวหนัง
-49-
1.2 ความแรงของยา (Potency)
ตารางที่ 2 การจําแนกยาทาคอรติโคสตีรอยดตามความแรงเรียงตามลําดับจากมากไปหานอยโดยวิธี
Vasoconstriction assay
Generic name Trade name
Super-potent
ความแรงสูงมาก
Clobetasol propionate 0.05%
Augmented betamethasone dipropionate 0.05%
Dermovate cream
Diprotop cream, ointment
Potent
ความแรงสูง
Betamethasone dipropionate 0.05%
Desoximetasone 0.25%
Diprosone ointment
Topicort
Esperson
Moderately
Potent
ความแรงปาน
กลาง
Betamethasone dipropionate 0.05%
Amcinonide 0.1%
Triamcinolone acetonide 0.1%
Mometasone furoate 0.1%
Betamethasone valerate 0.1%
Fluocinolone acetonide 0.025%
Prednicarbae 0.1%
Triamcinolone acetonide 0.02%
Clobetasone butyrate 0.5%
Diprosone Cream
Visderm cream, lotion
Arisocort A 0.1%
TA cream 0.1%
Elomet cream
Betnovate cream
Synalar cream
Dermatop cream
TA cream 0.02%
Aristocort 0.02%
Eumovate
MILD
ความแรงต่ํา
Hydrocortisone 1-2%
Prednisolone 0.5%
Hydrocortisone cream
Prednisil cream
*หมายเหตุ - ตารางนี้เปนเพียงตัวอยางของยาทาคอรติโคสตีรอยดที่มีใชในประเทศไทย
- ยาทาคอรติโคสตีรอยดชนิดเดียวกัน แตเมื่ออยูในรูปแบบที่แตกตางกัน อาจใหความ
แรงไมเทากัน โดยทั่วไป ขี้ผึ้งแรงกวาครีม ครีมแรงกวาโลชัน
2. ลักษณะของรอยโรค
2.1 ผื่นที่ไมหนา หรือมีการอักเสบ
เฉียบพลัน ยกเวนระยะที่มีน้ําเหลืองไหลควร
เลือกยาที่มีความแรงต่ําหรือปานกลาง
2.2 ผื่นที่หนาเปนเรื้อรัง อาจจําเปนตอง
ใชยาคอรติโคสตีรอยดที่มีความแรงสูงถึงสูง
มาก
CPG. for Topical Steroid Usage
   สถาบันโรคผิวหนัง
-50-
3.ตําแหนงของรอยโรค
3.1 ใบหนา และบริเวณที่อับชื้น (รักแร
ขาหนีบ ใตราวนม อวัยวะเพศ) ควรใชยาทาที่
มีความแรงต่ํา ถาจะใชยาที่มีความแรงสูงขึ้น
ควรใชไมเกิน 2 สัปดาห ยกเวนผื่นที่เปน
เรื้อรัง หรือโรคบางอยางที่จําเปน
3.2 บริเวณที่ผิวหนังหนา เชน ที่ฝามือ
ฝาเทา มักจะตองใชยาทาที่มีความแรงสูงหรือ
สูงมาก
4.พื้นที่ของรอยโรค : เนื่องจากยาทาคอรติโค
สตีรอยดสามารถถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือด
ได ดังนั้นหากมีรอยโรคเปนบริเวณกวาง ควร
เลือกใชยาที่ความแรงต่ําถึงปานกลาง
5.อายุ เด็กและผูสูงอายุมีผิวหนังบาง จึงมี
โอกาสเกิดฤทธิ์ขางเคียงจากยาทาและการดูด
ซึมของยาเขาสูรางกาย จึงควรเลือกใชยาทา
ดวยความระมัดระวัง
6.ระยะเวลาในการทายา : เนื่องจากยาทาคอร
ติโคสตีรอยด อาจมีฤทธิ์ขางเคียงไดทั้ง
เฉพาะที่และการดูดซึมเขาสูรางกาย และการ
ทายาตอเนื่องเปนเวลานาน อาจทําใหเกิดการ
ตอบสนองตอยาลดลง (Tachyphylaxis)
ดังนั้น ถารอยโรคหาย ควรหยุดยา แตหากมี
ความจําเปนตองใชยาเปนระยะเวลานาน ควร
จะหยุดยาบางเปนระยะๆ ดังนี้
- ยาทาที่มีความแรงสูงมาก ไมควรใช
ตอเนื่องเกิน 3 สัปดาห
- ยาทาที่มีความแรงปานกลางถึงสูง ไม
ควรใชตอเนื่องเกิน 3 เดือน
7.ความถี่ในการทายา ขึ้นอยูกับชนิดของยา
คอรติโคสตีรอยดที่เลือกใช แตโดยทั่วไปควร
ทายาวันละ 2 ครั้ง การทายาบอยครั้งกวานี้
มักจะไมเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาแต
อาจเพิ่มผลขางเคียง
8.ปริมาณยาที่ทา
- ยาทา 1 กรัม จะทาผิวหนังไดเปนพื้นที่
ประมาณ 100 ตารางเซนติเมตร (ในผูใหญจะ
ใชยาประมาณ 30 กรัม ถาทาทั้งตัว)
- ยาทาที่มีความแรงสูงมาก ไมควรใช
เกินสัปดาหละ 50 กรัม
- ยาทาที่มีความแรงสูง ไมควรใชเกิน
สัปดาหละ 100 กรัม
9.ขอควรระวัง
9.1 การใชยาทาในบริเวณผื่นผาออมใน
เด็ก ควรระวังเปนพิเศษ เนื่องจากจะเพิ่มการ
ดูดซึมของยา จึงควรใชยาที่มีฤทธิ์ออน
9.2 การใชยาทาในหญิงที่ใหนมบุตร ไม
ควรทายาบริเวณหัวนมและเตานมกอนใหนม
ผลขางเคียง
1.ผลขางเคียงเฉพาะที่ (local side effect)
1.1 Atrophic changes ไดแก ผิวหนังบาง
ลง, แตกลาย (striae), หลอดเลือดขยาย
(telangiectasia), จ้ําเลือด (purpura), ฯลฯ
1.2 สีผิวบริเวณที่ทาจางลง
(hypopigmentation)
. CPG. for Topical Steroid Usage
   สถาบันโรคผิวหนัง
-51-
1.3 มีขนขึ้นบริเวณที่ทาย
(hypertrichosis)
1.4 สิว, rosacea, perioral dermatitis
1.5 การติดเชื้อ : ทําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงหรือการกําเริบของรอยโรค
ผิวหนังติดเชื้อตางๆ เชน โรคกลาก
1.2 ผื่นแพสัมผัส อาจเกิดจากโมเลกุล
ของคอรติโคสตีรอยดเอง หรือสวนประกอบ
อื่นในตัวยา เชน สารกันบูด
2.ผลขางเคียงตามระบบ (systemic side
effect)
พบเมื่อใชยาทาเปนเวลานาน เปนบริเวณ
กวางหรือใชยาที่มีความแรงสูงมาก
โดยเฉพาะอยางยิ่งในเด็ก ไดแก
2.1 ผลขางเคียงทางตา เชน ตอกระจก ตอ
หิน
2.2 การกดการทํางานของตอมหมวกไต
(HPA-axis)
2.3 Iatrogenic Cushing’s syndrome
2.4 การเจริญเติบโตชาในเด็ก
References
1. Baumann L, Kerdel F. Topical
glucocorticoids. In: Freedberg IM, Eisen
AZ, Wolff K, eds. Dermatology in
General Medicine. New York: McGraw-
Hill, 1999;2713-7.
2. riffiths WAD, Wilkinson JD. Topical
therapy. In: Champion RH, Burton JL,
Burns DA, Breathnach SM, eds.
Rook/Wilkinson/Ebling. Textbook of
Dermatology. Oxford: Blackwell Science,
1998;3519-51.
3. Guin JD. Contact sensitivity to topical
corticosteroids. J Am Acad Dermatol
1984; 10: 773-82.
4. Hepburn D, Yohn JJ, Weston WL. Topical
steroid treatment in infants, children and
adolescents. Adv Dermatol 1994; 9: 225-
54.
5. Lepoittevin JP, Drieghe J, Dooms-
Goossens A. Studies in patients with
corticosteroid contact allergy:
understanding cross-reactivity among
different steroids. Arch Dermatol
1995;131:31-7.
6. Singh G, Singh PK. Tachyphylaxis to
topical steroid measured by histamine-
induced wheal suppression. Int J Dermatol
1986;25:324-6.
7. Stoughton RB. The vasoconstrictor assay
in bioequivalence testing: practical
concerns and recent developments. Int J
Dermatol 1992;31:26-8.
CPG. for Topical Steroid Usage-52-
8. Yohn JJ, Weston WL. Topical
glucocorticosteroids. Curr Probl Dermatol
1990;2:31-63.
   สถาบันโรคผิวหนัง

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 
Psoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best PresentationPsoriasis-The best Presentation
Psoriasis-The best Presentation
 
Psoriasis
PsoriasisPsoriasis
Psoriasis
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

CPG. for Topical Steroid Usage - สถาบันโรคผิวหนัง

  • 1. -47- . CPG. for Topical Steroid Usage    สถาบันโรคผิวหนัง ตารางที่ 1 การแบงโรคตามการตอบสนองตอสตีรอยด ความนํา แนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการ ดูแลรักษาผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใช เปนแนวทางในการดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎ ตายตัวที่ตองปฏิบัติการรักษาตามที่เขียนไว ทุกประการ ทั้งนี้เพราะผูปวยแตละรายมี ปญหาที่แตกตางกัน การวางแนวทางการ รักษานี้เปนการสรางมาตรฐานและพัฒนาการ ดูแลรักษาโรคผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มา พบแพทยไดรับความมั่นใจวาจะไดรับการ ดูแลรักษาที่ดี คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใช อางอิง ทางกฎหมายโดยไมผานการพิจารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี นิยาม ยาทาคอรติโคสตีรอยด (Corticosteroid) หมายถึงยาที่ใชทาผิวหนังและเยื่อบุ โดยมี ฤทธิ์ลดการอักเสบ กดปฏิกิริยาอิมมูน และ ยับยั้งการแบงเซลล เกณฑการพิจารณาใชยา ใหทําการซักประวัติ ตรวจรางกาย การ ตรวจทางหองปฏิบัติการและใหการวินิจฉัย วาเปนโรคที่ตอบสนองตอการใชยาทาคอรติ โคสตีรอยด (ตารางที่ 1) กอนทําการรักษา ตอบสนองดีมาก ตอบสนองดีปานกลาง ตอบสนองนอย Psoriasis(intertriginous) Atopic dermatitis (children) Seborrheic dermatitis Intertrigo (non-infectious) Psoriasis Atopic dermatitis (adults) Nummular eczema Allergic contact dermatitis, subacute phase Primary irritant dermatitis Papular urticaria Parapsoriasis Lichen simplex chronicus Palmoplantar psoriasis Psoriasis of nails Dyshidrotic eczema Lupus erythematosus Pemphigus Lichen planus Granuloma annulare Necrobiosis lipoidica diabeticorum Sarcoidosis Allergic contact dermatitis, acute phase Insect bites Topical Steroid Usage
  • 2. CPG. for Topical Steroid Usage    สถาบันโรคผิวหนัง -48- หลักการใชยา เนื่องจากการออกฤทธิ์ของยาในกลุมนี้ ขึ้นกับปจจัยหลายอยาง ดังนั้นการเลือกใชยา จึงตองคํานึงถึงปจจัย ดังตอไปนี้ 1.ตัวยา ดังนี้ 1.1 รูปแบบของยา (Form): ยาทาคอรติ โคสตีรอยด โดยทั่วไปตองผสมอยูในยา พื้นฐาน (Base) ทําใหเกิดเปนรูปแบบของยา (form) ชนิดตางๆ ดังนี้ 1.1.1 ขี้ผึ้ง (ointment): ใชเคลือบ ผิวหนังทําใหชุมชื้น เหมาะสําหรับผิวหนังที่ แหง จะไดผลดีในผื่นผิวหนังที่หนา แหงแตก เนื่องจากคุณสมบัติของขี้ผึ้งจะเคลือบผิวหนัง ไดดี จึงทําใหยาถูกดูดซึมไดมากขึ้น แตผูใช 1.1.2 จะรูสึกเหนียวเหนอะหนะ ขี้ผึ้งมัก ไมมีสารกันบูด 1.1.3 ครีมและโลชัน (cream and lotion): เหมาะสําหรับผื่นผิวหนังอักเสบชนิด เฉียบพลัน และกึ่งเฉียบพลัน อาจใชกับ ผิวหนังบริเวณที่อับชื้น ยาประเภทครีมจําเปน จะตองใชสารกันบูด ซึ่งอาจทําใหเกิดการแพ ได 1.1.4 รูปสารละลาย (lotion และ solution), เจล (gel), สเปรย (spray) : เหมาะ ที่จะใชกับบริเวณที่มีขนและผม ยาประเภทนี้ บางชนิดมีสวนผสมของแอลกอฮอลและ propylene glycol ซึ่งอาจทําใหเกิดการระคาย เคือง หากใชบริเวณที่มีรอยแตกหรือแผล
  • 3. . CPG. for Topical Steroid Usage    สถาบันโรคผิวหนัง -49- 1.2 ความแรงของยา (Potency) ตารางที่ 2 การจําแนกยาทาคอรติโคสตีรอยดตามความแรงเรียงตามลําดับจากมากไปหานอยโดยวิธี Vasoconstriction assay Generic name Trade name Super-potent ความแรงสูงมาก Clobetasol propionate 0.05% Augmented betamethasone dipropionate 0.05% Dermovate cream Diprotop cream, ointment Potent ความแรงสูง Betamethasone dipropionate 0.05% Desoximetasone 0.25% Diprosone ointment Topicort Esperson Moderately Potent ความแรงปาน กลาง Betamethasone dipropionate 0.05% Amcinonide 0.1% Triamcinolone acetonide 0.1% Mometasone furoate 0.1% Betamethasone valerate 0.1% Fluocinolone acetonide 0.025% Prednicarbae 0.1% Triamcinolone acetonide 0.02% Clobetasone butyrate 0.5% Diprosone Cream Visderm cream, lotion Arisocort A 0.1% TA cream 0.1% Elomet cream Betnovate cream Synalar cream Dermatop cream TA cream 0.02% Aristocort 0.02% Eumovate MILD ความแรงต่ํา Hydrocortisone 1-2% Prednisolone 0.5% Hydrocortisone cream Prednisil cream *หมายเหตุ - ตารางนี้เปนเพียงตัวอยางของยาทาคอรติโคสตีรอยดที่มีใชในประเทศไทย - ยาทาคอรติโคสตีรอยดชนิดเดียวกัน แตเมื่ออยูในรูปแบบที่แตกตางกัน อาจใหความ แรงไมเทากัน โดยทั่วไป ขี้ผึ้งแรงกวาครีม ครีมแรงกวาโลชัน 2. ลักษณะของรอยโรค 2.1 ผื่นที่ไมหนา หรือมีการอักเสบ เฉียบพลัน ยกเวนระยะที่มีน้ําเหลืองไหลควร เลือกยาที่มีความแรงต่ําหรือปานกลาง 2.2 ผื่นที่หนาเปนเรื้อรัง อาจจําเปนตอง ใชยาคอรติโคสตีรอยดที่มีความแรงสูงถึงสูง มาก
  • 4. CPG. for Topical Steroid Usage    สถาบันโรคผิวหนัง -50- 3.ตําแหนงของรอยโรค 3.1 ใบหนา และบริเวณที่อับชื้น (รักแร ขาหนีบ ใตราวนม อวัยวะเพศ) ควรใชยาทาที่ มีความแรงต่ํา ถาจะใชยาที่มีความแรงสูงขึ้น ควรใชไมเกิน 2 สัปดาห ยกเวนผื่นที่เปน เรื้อรัง หรือโรคบางอยางที่จําเปน 3.2 บริเวณที่ผิวหนังหนา เชน ที่ฝามือ ฝาเทา มักจะตองใชยาทาที่มีความแรงสูงหรือ สูงมาก 4.พื้นที่ของรอยโรค : เนื่องจากยาทาคอรติโค สตีรอยดสามารถถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือด ได ดังนั้นหากมีรอยโรคเปนบริเวณกวาง ควร เลือกใชยาที่ความแรงต่ําถึงปานกลาง 5.อายุ เด็กและผูสูงอายุมีผิวหนังบาง จึงมี โอกาสเกิดฤทธิ์ขางเคียงจากยาทาและการดูด ซึมของยาเขาสูรางกาย จึงควรเลือกใชยาทา ดวยความระมัดระวัง 6.ระยะเวลาในการทายา : เนื่องจากยาทาคอร ติโคสตีรอยด อาจมีฤทธิ์ขางเคียงไดทั้ง เฉพาะที่และการดูดซึมเขาสูรางกาย และการ ทายาตอเนื่องเปนเวลานาน อาจทําใหเกิดการ ตอบสนองตอยาลดลง (Tachyphylaxis) ดังนั้น ถารอยโรคหาย ควรหยุดยา แตหากมี ความจําเปนตองใชยาเปนระยะเวลานาน ควร จะหยุดยาบางเปนระยะๆ ดังนี้ - ยาทาที่มีความแรงสูงมาก ไมควรใช ตอเนื่องเกิน 3 สัปดาห - ยาทาที่มีความแรงปานกลางถึงสูง ไม ควรใชตอเนื่องเกิน 3 เดือน 7.ความถี่ในการทายา ขึ้นอยูกับชนิดของยา คอรติโคสตีรอยดที่เลือกใช แตโดยทั่วไปควร ทายาวันละ 2 ครั้ง การทายาบอยครั้งกวานี้ มักจะไมเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาแต อาจเพิ่มผลขางเคียง 8.ปริมาณยาที่ทา - ยาทา 1 กรัม จะทาผิวหนังไดเปนพื้นที่ ประมาณ 100 ตารางเซนติเมตร (ในผูใหญจะ ใชยาประมาณ 30 กรัม ถาทาทั้งตัว) - ยาทาที่มีความแรงสูงมาก ไมควรใช เกินสัปดาหละ 50 กรัม - ยาทาที่มีความแรงสูง ไมควรใชเกิน สัปดาหละ 100 กรัม 9.ขอควรระวัง 9.1 การใชยาทาในบริเวณผื่นผาออมใน เด็ก ควรระวังเปนพิเศษ เนื่องจากจะเพิ่มการ ดูดซึมของยา จึงควรใชยาที่มีฤทธิ์ออน 9.2 การใชยาทาในหญิงที่ใหนมบุตร ไม ควรทายาบริเวณหัวนมและเตานมกอนใหนม ผลขางเคียง 1.ผลขางเคียงเฉพาะที่ (local side effect) 1.1 Atrophic changes ไดแก ผิวหนังบาง ลง, แตกลาย (striae), หลอดเลือดขยาย (telangiectasia), จ้ําเลือด (purpura), ฯลฯ 1.2 สีผิวบริเวณที่ทาจางลง (hypopigmentation)
  • 5. . CPG. for Topical Steroid Usage    สถาบันโรคผิวหนัง -51- 1.3 มีขนขึ้นบริเวณที่ทาย (hypertrichosis) 1.4 สิว, rosacea, perioral dermatitis 1.5 การติดเชื้อ : ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงหรือการกําเริบของรอยโรค ผิวหนังติดเชื้อตางๆ เชน โรคกลาก 1.2 ผื่นแพสัมผัส อาจเกิดจากโมเลกุล ของคอรติโคสตีรอยดเอง หรือสวนประกอบ อื่นในตัวยา เชน สารกันบูด 2.ผลขางเคียงตามระบบ (systemic side effect) พบเมื่อใชยาทาเปนเวลานาน เปนบริเวณ กวางหรือใชยาที่มีความแรงสูงมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเด็ก ไดแก 2.1 ผลขางเคียงทางตา เชน ตอกระจก ตอ หิน 2.2 การกดการทํางานของตอมหมวกไต (HPA-axis) 2.3 Iatrogenic Cushing’s syndrome 2.4 การเจริญเติบโตชาในเด็ก References 1. Baumann L, Kerdel F. Topical glucocorticoids. In: Freedberg IM, Eisen AZ, Wolff K, eds. Dermatology in General Medicine. New York: McGraw- Hill, 1999;2713-7. 2. riffiths WAD, Wilkinson JD. Topical therapy. In: Champion RH, Burton JL, Burns DA, Breathnach SM, eds. Rook/Wilkinson/Ebling. Textbook of Dermatology. Oxford: Blackwell Science, 1998;3519-51. 3. Guin JD. Contact sensitivity to topical corticosteroids. J Am Acad Dermatol 1984; 10: 773-82. 4. Hepburn D, Yohn JJ, Weston WL. Topical steroid treatment in infants, children and adolescents. Adv Dermatol 1994; 9: 225- 54. 5. Lepoittevin JP, Drieghe J, Dooms- Goossens A. Studies in patients with corticosteroid contact allergy: understanding cross-reactivity among different steroids. Arch Dermatol 1995;131:31-7. 6. Singh G, Singh PK. Tachyphylaxis to topical steroid measured by histamine- induced wheal suppression. Int J Dermatol 1986;25:324-6. 7. Stoughton RB. The vasoconstrictor assay in bioequivalence testing: practical concerns and recent developments. Int J Dermatol 1992;31:26-8.
  • 6. CPG. for Topical Steroid Usage-52- 8. Yohn JJ, Weston WL. Topical glucocorticosteroids. Curr Probl Dermatol 1990;2:31-63.    สถาบันโรคผิวหนัง