SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 9
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1

Clinical Practice Guidelines
เรื่อง การดูแลรักษาสตรีวยทอง
ั
บทนํา
จากความกาวหนาทางการแพทยในปจจุบนทําใหประชากรทั้งชายและหญิงมีอายุยนยาวมากขึ้น สําหรับ
ั
ื
ประเทศไทยจากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบวา
ประชากรทั้งชายและหญิงวัยทองมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในหญิงวัยทองอายุ 40-59 ป จากรอยละ 18 ในป 2533
เปนรอยละ 24 ในป 2548 และคาดวาในป 2563จะเปนรอยละ 28 และอายุโดยเฉลี่ยของหญิงจะสูงกวาชาย
โดยปจจุบนอายุโดยเฉลียของหญิงไทยประมาณ 74.7 ป และของชายประมาณ 70.2 ป ดังนั้นโอกาสที่ผูหญิง
ั
่
จะมีชีวตอยูกบวัยทองจึงมีระยะเวลายาวนานขึ้นดวย
ิ
ั
วัยทองเปนวัยที่สําคัญ มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยเจริญพันธุเขาสูวัยสูงอายุ ซึ่งอยู ณ ชวงอายุ 40-59 ป
จะเริ่มจากมีการเสื่อมสมรรถภาพของรังไข ทําใหมีการสรางฮอรโมนเอสโตรเจนลดลงจนหยุดการสรางไปใน
ที่สุด ทําใหเกิดอาการไมพึงประสงคตาง ๆ มากมายทั้งในระยะสั้น ( Menopausal Symptoms ) และอาการใน
ระยะยาว เชน กระดูกบางและพรุน , อาการทางโรคหัวใจ และอาการทางสมอง
ดังนั้นการดูแลสตรีวัยทองจึงมีความสําคัญ เพื่อจะไดปองกันหรือบรรเทาปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
เพื่อใหมีคณภาพชีวิตที่ดีตอไป
ุ
คําจํากัดความ
องคการอนามัยโลกไดใหความหมายของคําที่เกี่ยวของกับระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงในการเขาสู
วัยหมดระดูหรือวัยทองไวดงนี้
ั
1. วัยใกลหมดระดู ( Perimenopause ) เปนเวลาที่รังไขเริ่มทํางานไมปกติจนหยุดทําหนาที่ไปในทีสุด
่
โดยทั่วไปมีระยะเวลา 2 – 8 ป กอนเขาสูวยหมดระดู และมักนับรวมไปถึงระยะเวลา 1 ป หลังจากระดูครั้งสุดทาย
ั
2. วัยหมดระดู ( menopause ) หมายถึง ชวงเวลาของการสิ้นสุดการมีระดูอยางถาวรเนื่องจากรังไข
ั
หยุดทํางาน ถือวาการมีระดูครั้งสุดทายเปนเวลาที่เขาสูวยหมดระดู
3. วัยหลังหมดระดู ( Postmenopause ) เปนระยะเวลาภายหลังหมดระดูโดยนับจากปที่เขาสูวัยหมดระดู
Menopausal Symptoms
แบงออกไดเปน 4 กลุมดังนี้
1. Somatic Symptoms ไดแก ปวดศีรษะ ปวดตามขอ และ Urogenital Atrophy เชน Senile vaginitis ,
urethritis ชองคลอดแหง และเจ็บแสบขณะมีเพศสัมพันธ , ปสสาวะบอย กลั้นปสสาวะไมไดขณะไอหรือจาม
2. Psychological Symptoms เชน โมโหฉุนเฉียวงาย , อารมณโกรธ , เกลียดงาย , อารมณขุนหมอง
มีความกังวลเปนทุกข , กลุมใจ , ขวัญออนตกใจงาย , ซึมเศรา , หดหู ,ใจหอเหี่ยว , ไมอยากทํากิจการใด ๆ
หลงลืมงาย ไมมีสมาธิ , นอนไมหลับ
2

3. Vasomotor Symptoms เชน hot flushes รอนวูบวาบ เหงื่อออกมากตอนกลางคืน เปนอาการที่พบบอยที่สุด
เริ่มตนมีความรูสึกรอน มักใจสั่น รูสึกกลุมใจ แลวตามดวยอาการหนาวสั่น พรอมกันนี้จะเห็นวาสีของผิวหนา
จะแดงขึ้นมาทันทีตรงบริเวณศีรษะ คอ หนาอก อาการเหลานี้มักจะเปนอยูประมาณ 3-4 นาที และตามดวยเหงื่อ
ออกมากในทีสุด บางครั้งพบวาจะมีอาการเหลานี้นํามากอนเกิด hot flushes ไดแก กังวลใจ กลุมใจ ใจสัน โมโห
่
่
ฉุนเฉียว ตกใจงาย หวาดกลัว
4. Sexual Symptoms คือมีการเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศ เชน ความตองการทางเพศลดลง
หรือไมมีความตองการอาการที่แสดงออก ทางคลินิก มีความผันแปรมาก สตรีบางคนมีอาการรุนแรงมากกอน
ที่จะหมดประจําเดือน บางรายอาจไมแสดงอาการใด ๆ เลย
การใหฮอรโมนรักษาในสตรีวัยทอง ( Hormonal Therapy )
การใชฮอรโมนรักษาในสตรีวัยทอง ไดมการใชมาเปนเวลานานแลวมีผลการศึกษาตาง ๆ มากมาย
ี
ที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนและความเสี่ยงของการใชยานี้ แตผลการศึกษาวิจัยที่ถอเปนวิกฤตครังสําคัญที่สุด คือ
ื
้
ผลการศึกษาของ Women ‘ s Health Initiative ( WHI-I ) ซึ่งตีพิมพใน JAMA July 17,2002 ซึ่งเปนการวิจัยที่
ไดรับความเชือถือมากที่สุดเพราะเปนการศึกษาแบบ Randomize , double – blind , placebo – controlled trial ใช
่
สตรีจํานวนมากจากหลายสถาบัน และมีการติดตามเปนเวลานานพอควร อยางไรก็ตามจากขอมูลทั้งหมดจนถึง
ปจจุบัน ( มกราคม 2548 ) พอจะสรุปผลดี และผลเสียจากการใหฮอรโมนในสตรีวยทองไดดังนี้
ั

1.
2.
3.
4.
5.

Benefits
( ลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค )
Vasomotor Symptoms
Urogenital Symptoms
Osteoporosis Fracture
Colorectal cancer
Endometrial cancer ( EPT )
uncertainty ?
- Cognitive Function
- quality of life

EPT = Estrogen – Progestogen therapy
ET = Estrogen therapy

Risks
( เพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรค )
1. Venous thromboembolism
2. Cardiovascular disease
3. Stroke
4. Cancer
- Breast ( EPT )
- Endometrium ( ET )
- Ovarian ?
3

วัตถุประสงคของการรักษาดวยฮอรโมน ( Golds of therapy )
1. เพื่อรักษา menopausal symptoms โดยเฉพาะกลุมอาการ Vasomotor และ Urogenital Symptoms
2. เพื่อปองกันกระดูกพรุน และ Osteoporotic fracture
ในปจจุบนขอบงชี้ของการใหฮอรโมนมีแค 2 กรณี นี้เทานั้น จึงใชคาวา Hormonal Therapy
ั
ํ
( HT ) แทนคําวา Hormonal Replacement Therapy ( HRT )
ขอหามใช ( Absolute Contraindications )
1. เปนมะเร็งที่ตอบสนองตอ estrogen เชน มะเร็งเตานม
2. มีภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดํา หรือภาวะหลอดเลือดดําอักเสบมีลมเลือด ( venous thrombosis /
ิ่
venous Thrombophlebitis )
3. เปนโรคตับเฉียบพลัน
4. เลือดออกผิดปกติทางชองคลอดโดยไมทราบสาเหตุ
ขอควรระมัดระวัง ( Relative Contraindications )
1. กลุมเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งเตานม เชน สูงอายุ ( > 70 ป ) ,มี High breast density , breast cell atypia ,
high bone mineral density , Family history of breast cancer in 1st degree relatives , late menopause
( > 55 ป ) , late first delivery ( > 30 ป ) , high body mass index ( BMI > 30 )
2. กลุมเสี่ยงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ( Coronary heart disease ) โรคหลอดเลือดสมอง
( Cerebrovascular disease หรือ Stroke ) หรือภาวะสมองเสื่อม
3. มีอาการขางเคียงอื่น ๆ จากการไดรับฮอรโมน เชน คัดหนาอกมาก , ปวดระดู , เลือดระดูมามาก
หรือมากระปริดกระปรอย ฝาขึ้นมาก มีผื่นคันที่ผิวหนา
4. มีภาวะหรือโรคที่อาจจะเลวลงจากการไดรับฮอรโมน เชน Malignant melanoma , เนื้องอกกลามเนื้อ
มดลูก ( Myoma uteri ) , เยือบุมดลูกเจริญผิดที่ ( Endometriosis ) , เปนมะเร็งชนิด Adenocarcinoma เปนตน
่
( จากการศึกษาของศจ.เกียรติคุณ พญ.อุรุษา เทพพิสัย และคณะ ไดรายงานใน XVI FIGO World Congress of
Gynecology and Obstetrics , Washington , D.C. , September 2000 ศึกษาในสตรีวัยทองอายุระหวาง 44-63 ป
พบความสัมพันธของคาตาง ๆ กับความผิดปกติของระดับไขมันในเลือดอยางมีนยสําคัญทางสถิติดังนี้
ั
- เสนรอบเอวตอความสูง ( WTH ) > 0.49 มี dyslipidemia รอยละ 66
- เสนรอบเอวตอสะโพก ( WHR ) > 0.8 มี dyslipidemia รอย 58
- เสนรอบเอว
> 78.0 ซม. มี dyslipidemia รอยละ 57.6
คาตางๆ เหลานี้สามารถใชเปนเครื่องชี้วัดในการตรวจคัดกรองหญิงวัยทองที่มีระดับไขมันในเลือดสูงได )
4

การตรวจทางหองปฏิบติการ
ั
1. ตรวจมะเร็งปากมดลูก
2. ตรวจหาไขขาวและน้ําตาลในปสสาวะ
3. CBC, FBS , BUN/Cr. , LFT , Lipid profile
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
EKG เมื่ออายุมากกวา 50 ป หรือมีอาการเกี่ยวกับโรคหัวใจ
Chest X-ray
Mammogram ควรตรวจกอนเริ่มใชฮอรโมน และควรตรวจติดตามทุกป ( แนะนํา )
ตรวจวัดความหนาแนนของกระดูกเฉพาะกลุมเสี่ยง(ดู CPG เรื่อง menopausal osteoporosis)
หลักการใชฮอรโมนรักษาแนวใหมในสตรีวยทอง
ั
พิจารณาตามความประสงคและความเหมาะสมในแตละบุคคล
ใชปริมาณฮอรโมนนอยที่สุดที่ยังคงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของยา
ถามีอาการทาง Urogenital อยางเดียวเทานั้นใหเริ่มบําบัดดวยฮอรโมนเฉพาะที่กอน
ใชระยะสั้นทีสุดเทาที่จําเปน และไมควรติดตอกันเกิน 5 ป สวนในรายที่ใชระยะยาวเชน
่
เพื่อปองกันกระดูกพรุนหรือกระดูกหักในรายที่มีความเสี่ยงสูง เมื่อใชไปนาน 4-5 ป
ควรกลับมาทบทวนถึงประโยชน และความเสี่ยงในการใชฮอรโมนตอไป
การลดปริมาณฮอรโมน สามารถกระทําได 3 วิธี คือ
1. ลด dose ลงทีละนอย ( dose taper ) เชน เคยให CEE วันละ 0.625 มก. ใหลดลงเหลือวันละ 0.3
มก. แลวในทีสุดก็หยุดให เมื่อผูปวยไมมอาการผิดปกติแลว
่
ี
2. ลดชวงใหฮอรโมน ( dosing interval taper ) เชน เคยใหทกวัน ใหเปลี่ยนเปนวันเวนวัน ตอมา
ุ
เปลี่ยนเปนทุก ๆ 3 วัน และคอย ๆ ลดจํานวนนี้เรื่อย ๆ ไป จนหยุดได
3. ลดจํานวนวันตอสัปดาห ( day taper ) เชน เคยให 7 วันตอสัปดาห ใหลดลงเปน 6 วัน ตอ
สัปดาห และคอย ๆ ลดจํานวนวันลงทํานองนี้ตอไปจนหยุดได
5

การใหฮอรโมนรักษา HT
กรณีตัดมดลูกแลว
ให Estrogen อยางเดียว

ทางเลือกที่ 1
Estrogen ทางผิวหนัง

- รูปแบบ gel ( Divigel )
- รูปแบบ ( Climara )

ทางเลือกที่ 2
Estrogen รับประทาน

- Premorin 0.3 , 0.625
- Estradiol 1 มก. ( Estrofem )
- Estradiol valerate 1 มก. ( Progynova )

• ถาการให Estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทานแลวยังไมสามารถระงับ Urogenital Symptoms ได
ใหเพิ่ม Estrogen เฉพาะที่
• ถามี Urogenital Symptoms อยางเดียวให Estrogen เฉพาะที่
6

การใหฮอรโมนรักษา ( HT )
กรณียังมีมดลูกอยู
ให Estrogen + Progestogen

Perimenopause หรือ Early postmenopause

Postmenopause

Cyclic sequential ( CSR )

Continuous Combined ( CCR )

- ให estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทาน
28 วัน + progestogen 12 วันทาย หลังหยุด
ยาประจําเดือนมา 4-5 วัน แลวเริ่มยาชุดใหม
- หรือยาทุกเม็ดมีฮอรโมน estrogen เทากัน
21 เม็ด และมี Progestogen 10-14 เม็ดหลัง
เชน cycloprogynova หยุดยา 7 วัน จึงจะเริมชุดใหม
่

- ให estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทาน

รวมกับ progestogens ขนาดเทากันทุกวัน
รับประทานยาทุกวันเชน
- Premarin ( 0.3 – 0.625 ) + MPA 2.5 มก.
หรือฮอรโมนสําเร็จรูป เชน
- Premarin 0.3 มก. + MPA 1.5 มก.
( Premelle lite )
- estradiol 1 มก. + NETA 0.5 มก.
( Activelle )
- Tibolone 2.5 มก. ( Livial )
7

Dose ของ progesterone และ progestogens ที่สามารถควบคุม endomotrium
วันละ ( มิลลิกรัม )
Progesterone + Progestogens
Progesterone microniszed
Dydrogesterone
Medroxyprogesterone acetate
Norethisterone
Cyproterone acetate

ใหเปนชวง
( Cyclic sequential )
200-300
10-20
5-10
1
1

ใหทุกวัน
( Continuous Combined )
100
5-10
1.5-2.5
0.5
-

การปฏิบัติขณะใหฮอรโมนและการติดตาม
1. หลังจากเริ่มใหฮอรโมน 1-2 เดือน ควรนัดตรวจติดตาม ถาไมมีปญหาอาจนัดครั้งตอไปทุก 3-4 เดือน
2. แนะนําใหผูปวยหมั่นตรวจเตานมดวยตนเอง ตลอดจนสุขภาพโดยทัวไป เชน น้ําหนักตัว ความดันโลหิต
่
3. ใหการรักษาโรคที่ผูปวยมีอยูกอนแลว เพือลดความเสี่ยงจากการรักษาดวยฮอรโมน เชน ไขมันผิดปกติ
่
ความดันโลหิตสูง และงดสูบบุหรี่ และใหออกกําลังกายเปนประจํา
4. ในกรณีทมี Osteoporosis คอนขางรุนแรง อาจให Bisphosphonates รวมดวย
ี่
5. ถามีเลือดออกผิดปกติทางชองคลอดระหวางรักษาดวยฮอรโมนควรตรวจสอบความหนาของเยือยุโพรงมดลูก
่
6. เมื่อครบรอบป ควรตรวจรางกายทัวไป , EKG , PV + pap smear , transvaginal ultrasound และ
่
mammogram

การรักษาทางเลือก ( Alternative therapy )
ในกรณีที่มีขอหามหรือมีอาการขางเคียงจากการรักษาดวยฮอรโมนอาจใชการรักษาทางเลือก เพื่อบําบัด
หรือบรรเทาปญหาตาง ๆ ไดบางพอสมควร ไดแก
1. การปรับเปลี่ยนการดํารงชีวิตประจําวัน เพื่อบรรเทา hot flushes
- สวมใสเสื้อผาบาง ๆ
- ลดอุณหภูมในหองทํางานหรือหองนอนใหเย็นลงอีก
ิ
- หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด หรือรสเผ็ดรอน แอลกอฮอล และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
- ผอนคลาย
- ออกกําลังกายสม่ําเสมอ
8

2. รับประทานอาหารที่มี Phytoestrogens
3. Nonhormonal therapy
- Antidepressants เชน กลุม Tricyclic จะไดผลไมดีเทากลุม SSRI และ SNRI ในการรักษา
ความเครียดระยะยาวนอกจากนี้ยังตองใชขนาดยาสูงกวา ทําใหพบอาการขางเคียงไดบอย
- Bellergal หรือยา Sedative ขนาดต่ํา เชน Diazepam แตควรใชในระยะสั้น ๆ

สรุป
การดูแลสตรีวยทองมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคหรือความผิดปกติตาง ๆ ที่เกิดขึ้น และ
ั
รักษาโรคหรือความผิดปกติที่ตรวจพบ ถึงแมวาการใชฮอรโมนจะมีความเสี่ยงอันตรายอยูบาง แตก็จําเปนตองใช
โดยเฉพาะในรายที่มีกลุมอาการของการหมดประจําเดือนมาก ดังนันการใชสําคัญอยูที่แพทยที่ใหการรักษาตองมี
้
กฎเกณฑการใชอยางถูกตอง มีขอบงชี้ในการใชและไมมขอหามใช และมีการปรับเปลี่ยนวิธีหรือขนาดการใช
ี
ฮอรโมน เพื่อใหเหมาะสมตามวัตถุประสงคของสตรีในแตละราย ก็จะทําใหผลของการรักษาดวยฮอรโมนไดรับ
ประโยชนสูงสุดและมีอันตรายนอยที่สุด

แนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเตานมในระยะเริ่มแรก

การตรวจเตานมดวยตนเอง

- เริ่มตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไป
- ตรวจเดือนละครั้งหลังหมดประจําเดือน
1 สัปดาห
- หรือทุกวันที่ 1 ของเดือน
ถาประจําเดือนหมด

ตรวจโดยบุคลากรทางการแพทย

- อายุ 20-39 ป ทุก 3 ป
- อายุ 40 ป ขึ้นไปทุกป

mammogram

- เริ่มตรวจตั้งแตอายุ 35 ป
เปนพื้นฐาน
- อายุ 40 ป ทําทุกป
- อายุ 50 ป ขึ้นไปทํา 1-2 ป
หรือตามแพทยแนะนํา

พบแพทยเมื่อสังเกตพบสิ่งผิดปกติ
สําหรับผูที่มีประวัติมีคนในครอบครัวเปนมะเร็งเตานม อาจตองทํา mammogram เร็วกวาปกติ
9

เอกสารอางอิง
สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร www.nso.go.th.2547
อภิชาต จิตติเจริญ . การบริบาลปฐมภูมิในชาย – หญิงวัยทอง . ใน : อุรุษา เทพพิสัย , อภิชาต จิตติเจริญ ,
จิตติมา มโนนัย บรรณาธิการ . แผนบําบัดแนวใหมในวัยทอง . กรุงเทพ ฯ :
สํานักพิมพขาวฟาง จํากัด 2548 : 29-45
ั
หะทัย เทพพิสัย . วิกฤติฮอรโมน ! …. ปรับเปนโอกาสไดอยางไรในวินาทีสุดทายกอนใหฮอรโมนในสตรีวย
หมดประจําเดือน. ใน : อุรุษา เทพพิสัย , อภิชาต จิตติเจริญ , จิตติมา มโนนัย , บรรณาธิการ. แผนบําบัด
แนวใหมในวัยทอง . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพขาวฟาง จํากัด 2548 : 97-202
มยุรี จิรภิญโญ . The visionary wisdom of the menopause . เอกสารประกอบคําบรรยาย Menopause
Academic Conference 2005 ณ โรงแรมเซนตจูรี่ ปารค กรุงเทพฯ . 16-18 กุมภาพันธ 2548
อรรณพ ใจสําราญ . HRT today . เอกสารประกอบคําบรรยาย Menopause Academic Conference 2005
ณ โรงแรมเซนตจูรี่ ปารค กรุงเทพฯ . 16-18 กุมภาพันธ 2548
The writing Group for the Women ‘ s Health Initiative Investigators Risks and Benefits of estrogen
plus progestin in Healthy post menopausal women : principle results from the woman ‘ s Health
Initiative RCT. JAMA 2002 ; 288:321-33 .
นิมิต เตชไกรชนะ . Management of Menopause After WHI . ในเอกสารประกอบคําบรรยาย 2nd Intensive Course on
Menopausal Therapy ณ คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 4-5 สิงหาคม 2546 .
นิมิต เตชไกรชนะ , กอบจิตต ลิมปพยอม .การเปลี่ยนแปลงในวัยหมดระดู . ใน : นิมิต เตชไกรชนะ บรรณาธิการ .
ฮอรโมนทดแทนในวัยหมดระดู . กรุงเทพฯ : บียอนด เอ็นเทอรไพรช จํากัด 2543 : 1 - 25

จัดทําโดย
แพทยกลุมงานสูต-นรีเวชกรรมฯ โรงพยาบาลสงขลา
ิ
13 มิถุนายน 2548

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรbo2536
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
9 การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 

Andere mochten auch

Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาทCpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาทUtai Sukviwatsirikul
 
Free Survival First Aid Downloads
Free Survival First Aid Downloads  Free Survival First Aid Downloads
Free Survival First Aid Downloads Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์Run't David
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณ
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณNano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณ
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณUtai Sukviwatsirikul
 
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ โดย ประเวศ อรรถศุภผล
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่  โดย ประเวศ อรรถศุภผล สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่  โดย ประเวศ อรรถศุภผล
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ โดย ประเวศ อรรถศุภผล Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 

Andere mochten auch (20)

Guidline ebola 1_aug_2014
Guidline ebola 1_aug_2014Guidline ebola 1_aug_2014
Guidline ebola 1_aug_2014
 
Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาทCpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
Cpg neuropathic pain 2551 แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท
 
160214 drug shop association
160214 drug shop association160214 drug shop association
160214 drug shop association
 
Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
Free Survival First Aid Downloads
Free Survival First Aid Downloads  Free Survival First Aid Downloads
Free Survival First Aid Downloads
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
Osteoporosis guideline2010
Osteoporosis guideline2010Osteoporosis guideline2010
Osteoporosis guideline2010
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณ
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณNano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณ
Nano mba 3_aec ผลกระทบร้านยา ดร นิลสุวรรณ
 
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ โดย ประเวศ อรรถศุภผล
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่  โดย ประเวศ อรรถศุภผล สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่  โดย ประเวศ อรรถศุภผล
สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ โดย ประเวศ อรรถศุภผล
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พศ. 2554
 
D
DD
D
 
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ยากันลืม: คู่มือป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
 
Wound management
Wound  managementWound  management
Wound management
 
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13
 
Ht ebook
Ht ebookHt ebook
Ht ebook
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Update management for keloid scar
Update management for keloid scarUpdate management for keloid scar
Update management for keloid scar
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 

Ähnlich wie Cpg menopause

Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Jin Chinphanee
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfKrongdai Unhasuta
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน44LIFEYES
 

Ähnlich wie Cpg menopause (20)

Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Detail3
Detail3Detail3
Detail3
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
Female contraception g5 342
Female contraception g5 342Female contraception g5 342
Female contraception g5 342
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Cpg menopause

  • 1. 1 Clinical Practice Guidelines เรื่อง การดูแลรักษาสตรีวยทอง ั บทนํา จากความกาวหนาทางการแพทยในปจจุบนทําใหประชากรทั้งชายและหญิงมีอายุยนยาวมากขึ้น สําหรับ ั ื ประเทศไทยจากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พบวา ประชากรทั้งชายและหญิงวัยทองมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ ในหญิงวัยทองอายุ 40-59 ป จากรอยละ 18 ในป 2533 เปนรอยละ 24 ในป 2548 และคาดวาในป 2563จะเปนรอยละ 28 และอายุโดยเฉลี่ยของหญิงจะสูงกวาชาย โดยปจจุบนอายุโดยเฉลียของหญิงไทยประมาณ 74.7 ป และของชายประมาณ 70.2 ป ดังนั้นโอกาสที่ผูหญิง ั ่ จะมีชีวตอยูกบวัยทองจึงมีระยะเวลายาวนานขึ้นดวย ิ ั วัยทองเปนวัยที่สําคัญ มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยเจริญพันธุเขาสูวัยสูงอายุ ซึ่งอยู ณ ชวงอายุ 40-59 ป จะเริ่มจากมีการเสื่อมสมรรถภาพของรังไข ทําใหมีการสรางฮอรโมนเอสโตรเจนลดลงจนหยุดการสรางไปใน ที่สุด ทําใหเกิดอาการไมพึงประสงคตาง ๆ มากมายทั้งในระยะสั้น ( Menopausal Symptoms ) และอาการใน ระยะยาว เชน กระดูกบางและพรุน , อาการทางโรคหัวใจ และอาการทางสมอง ดังนั้นการดูแลสตรีวัยทองจึงมีความสําคัญ เพื่อจะไดปองกันหรือบรรเทาปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อใหมีคณภาพชีวิตที่ดีตอไป ุ คําจํากัดความ องคการอนามัยโลกไดใหความหมายของคําที่เกี่ยวของกับระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงในการเขาสู วัยหมดระดูหรือวัยทองไวดงนี้ ั 1. วัยใกลหมดระดู ( Perimenopause ) เปนเวลาที่รังไขเริ่มทํางานไมปกติจนหยุดทําหนาที่ไปในทีสุด ่ โดยทั่วไปมีระยะเวลา 2 – 8 ป กอนเขาสูวยหมดระดู และมักนับรวมไปถึงระยะเวลา 1 ป หลังจากระดูครั้งสุดทาย ั 2. วัยหมดระดู ( menopause ) หมายถึง ชวงเวลาของการสิ้นสุดการมีระดูอยางถาวรเนื่องจากรังไข ั หยุดทํางาน ถือวาการมีระดูครั้งสุดทายเปนเวลาที่เขาสูวยหมดระดู 3. วัยหลังหมดระดู ( Postmenopause ) เปนระยะเวลาภายหลังหมดระดูโดยนับจากปที่เขาสูวัยหมดระดู Menopausal Symptoms แบงออกไดเปน 4 กลุมดังนี้ 1. Somatic Symptoms ไดแก ปวดศีรษะ ปวดตามขอ และ Urogenital Atrophy เชน Senile vaginitis , urethritis ชองคลอดแหง และเจ็บแสบขณะมีเพศสัมพันธ , ปสสาวะบอย กลั้นปสสาวะไมไดขณะไอหรือจาม 2. Psychological Symptoms เชน โมโหฉุนเฉียวงาย , อารมณโกรธ , เกลียดงาย , อารมณขุนหมอง มีความกังวลเปนทุกข , กลุมใจ , ขวัญออนตกใจงาย , ซึมเศรา , หดหู ,ใจหอเหี่ยว , ไมอยากทํากิจการใด ๆ หลงลืมงาย ไมมีสมาธิ , นอนไมหลับ
  • 2. 2 3. Vasomotor Symptoms เชน hot flushes รอนวูบวาบ เหงื่อออกมากตอนกลางคืน เปนอาการที่พบบอยที่สุด เริ่มตนมีความรูสึกรอน มักใจสั่น รูสึกกลุมใจ แลวตามดวยอาการหนาวสั่น พรอมกันนี้จะเห็นวาสีของผิวหนา จะแดงขึ้นมาทันทีตรงบริเวณศีรษะ คอ หนาอก อาการเหลานี้มักจะเปนอยูประมาณ 3-4 นาที และตามดวยเหงื่อ ออกมากในทีสุด บางครั้งพบวาจะมีอาการเหลานี้นํามากอนเกิด hot flushes ไดแก กังวลใจ กลุมใจ ใจสัน โมโห ่ ่ ฉุนเฉียว ตกใจงาย หวาดกลัว 4. Sexual Symptoms คือมีการเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศ เชน ความตองการทางเพศลดลง หรือไมมีความตองการอาการที่แสดงออก ทางคลินิก มีความผันแปรมาก สตรีบางคนมีอาการรุนแรงมากกอน ที่จะหมดประจําเดือน บางรายอาจไมแสดงอาการใด ๆ เลย การใหฮอรโมนรักษาในสตรีวัยทอง ( Hormonal Therapy ) การใชฮอรโมนรักษาในสตรีวัยทอง ไดมการใชมาเปนเวลานานแลวมีผลการศึกษาตาง ๆ มากมาย ี ที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนและความเสี่ยงของการใชยานี้ แตผลการศึกษาวิจัยที่ถอเปนวิกฤตครังสําคัญที่สุด คือ ื ้ ผลการศึกษาของ Women ‘ s Health Initiative ( WHI-I ) ซึ่งตีพิมพใน JAMA July 17,2002 ซึ่งเปนการวิจัยที่ ไดรับความเชือถือมากที่สุดเพราะเปนการศึกษาแบบ Randomize , double – blind , placebo – controlled trial ใช ่ สตรีจํานวนมากจากหลายสถาบัน และมีการติดตามเปนเวลานานพอควร อยางไรก็ตามจากขอมูลทั้งหมดจนถึง ปจจุบัน ( มกราคม 2548 ) พอจะสรุปผลดี และผลเสียจากการใหฮอรโมนในสตรีวยทองไดดังนี้ ั 1. 2. 3. 4. 5. Benefits ( ลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค ) Vasomotor Symptoms Urogenital Symptoms Osteoporosis Fracture Colorectal cancer Endometrial cancer ( EPT ) uncertainty ? - Cognitive Function - quality of life EPT = Estrogen – Progestogen therapy ET = Estrogen therapy Risks ( เพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรค ) 1. Venous thromboembolism 2. Cardiovascular disease 3. Stroke 4. Cancer - Breast ( EPT ) - Endometrium ( ET ) - Ovarian ?
  • 3. 3 วัตถุประสงคของการรักษาดวยฮอรโมน ( Golds of therapy ) 1. เพื่อรักษา menopausal symptoms โดยเฉพาะกลุมอาการ Vasomotor และ Urogenital Symptoms 2. เพื่อปองกันกระดูกพรุน และ Osteoporotic fracture ในปจจุบนขอบงชี้ของการใหฮอรโมนมีแค 2 กรณี นี้เทานั้น จึงใชคาวา Hormonal Therapy ั ํ ( HT ) แทนคําวา Hormonal Replacement Therapy ( HRT ) ขอหามใช ( Absolute Contraindications ) 1. เปนมะเร็งที่ตอบสนองตอ estrogen เชน มะเร็งเตานม 2. มีภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดํา หรือภาวะหลอดเลือดดําอักเสบมีลมเลือด ( venous thrombosis / ิ่ venous Thrombophlebitis ) 3. เปนโรคตับเฉียบพลัน 4. เลือดออกผิดปกติทางชองคลอดโดยไมทราบสาเหตุ ขอควรระมัดระวัง ( Relative Contraindications ) 1. กลุมเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งเตานม เชน สูงอายุ ( > 70 ป ) ,มี High breast density , breast cell atypia , high bone mineral density , Family history of breast cancer in 1st degree relatives , late menopause ( > 55 ป ) , late first delivery ( > 30 ป ) , high body mass index ( BMI > 30 ) 2. กลุมเสี่ยงตอการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ( Coronary heart disease ) โรคหลอดเลือดสมอง ( Cerebrovascular disease หรือ Stroke ) หรือภาวะสมองเสื่อม 3. มีอาการขางเคียงอื่น ๆ จากการไดรับฮอรโมน เชน คัดหนาอกมาก , ปวดระดู , เลือดระดูมามาก หรือมากระปริดกระปรอย ฝาขึ้นมาก มีผื่นคันที่ผิวหนา 4. มีภาวะหรือโรคที่อาจจะเลวลงจากการไดรับฮอรโมน เชน Malignant melanoma , เนื้องอกกลามเนื้อ มดลูก ( Myoma uteri ) , เยือบุมดลูกเจริญผิดที่ ( Endometriosis ) , เปนมะเร็งชนิด Adenocarcinoma เปนตน ่ ( จากการศึกษาของศจ.เกียรติคุณ พญ.อุรุษา เทพพิสัย และคณะ ไดรายงานใน XVI FIGO World Congress of Gynecology and Obstetrics , Washington , D.C. , September 2000 ศึกษาในสตรีวัยทองอายุระหวาง 44-63 ป พบความสัมพันธของคาตาง ๆ กับความผิดปกติของระดับไขมันในเลือดอยางมีนยสําคัญทางสถิติดังนี้ ั - เสนรอบเอวตอความสูง ( WTH ) > 0.49 มี dyslipidemia รอยละ 66 - เสนรอบเอวตอสะโพก ( WHR ) > 0.8 มี dyslipidemia รอย 58 - เสนรอบเอว > 78.0 ซม. มี dyslipidemia รอยละ 57.6 คาตางๆ เหลานี้สามารถใชเปนเครื่องชี้วัดในการตรวจคัดกรองหญิงวัยทองที่มีระดับไขมันในเลือดสูงได )
  • 4. 4 การตรวจทางหองปฏิบติการ ั 1. ตรวจมะเร็งปากมดลูก 2. ตรวจหาไขขาวและน้ําตาลในปสสาวะ 3. CBC, FBS , BUN/Cr. , LFT , Lipid profile การตรวจพิเศษอื่น ๆ EKG เมื่ออายุมากกวา 50 ป หรือมีอาการเกี่ยวกับโรคหัวใจ Chest X-ray Mammogram ควรตรวจกอนเริ่มใชฮอรโมน และควรตรวจติดตามทุกป ( แนะนํา ) ตรวจวัดความหนาแนนของกระดูกเฉพาะกลุมเสี่ยง(ดู CPG เรื่อง menopausal osteoporosis) หลักการใชฮอรโมนรักษาแนวใหมในสตรีวยทอง ั พิจารณาตามความประสงคและความเหมาะสมในแตละบุคคล ใชปริมาณฮอรโมนนอยที่สุดที่ยังคงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของยา ถามีอาการทาง Urogenital อยางเดียวเทานั้นใหเริ่มบําบัดดวยฮอรโมนเฉพาะที่กอน ใชระยะสั้นทีสุดเทาที่จําเปน และไมควรติดตอกันเกิน 5 ป สวนในรายที่ใชระยะยาวเชน ่ เพื่อปองกันกระดูกพรุนหรือกระดูกหักในรายที่มีความเสี่ยงสูง เมื่อใชไปนาน 4-5 ป ควรกลับมาทบทวนถึงประโยชน และความเสี่ยงในการใชฮอรโมนตอไป การลดปริมาณฮอรโมน สามารถกระทําได 3 วิธี คือ 1. ลด dose ลงทีละนอย ( dose taper ) เชน เคยให CEE วันละ 0.625 มก. ใหลดลงเหลือวันละ 0.3 มก. แลวในทีสุดก็หยุดให เมื่อผูปวยไมมอาการผิดปกติแลว ่ ี 2. ลดชวงใหฮอรโมน ( dosing interval taper ) เชน เคยใหทกวัน ใหเปลี่ยนเปนวันเวนวัน ตอมา ุ เปลี่ยนเปนทุก ๆ 3 วัน และคอย ๆ ลดจํานวนนี้เรื่อย ๆ ไป จนหยุดได 3. ลดจํานวนวันตอสัปดาห ( day taper ) เชน เคยให 7 วันตอสัปดาห ใหลดลงเปน 6 วัน ตอ สัปดาห และคอย ๆ ลดจํานวนวันลงทํานองนี้ตอไปจนหยุดได
  • 5. 5 การใหฮอรโมนรักษา HT กรณีตัดมดลูกแลว ให Estrogen อยางเดียว ทางเลือกที่ 1 Estrogen ทางผิวหนัง - รูปแบบ gel ( Divigel ) - รูปแบบ ( Climara ) ทางเลือกที่ 2 Estrogen รับประทาน - Premorin 0.3 , 0.625 - Estradiol 1 มก. ( Estrofem ) - Estradiol valerate 1 มก. ( Progynova ) • ถาการให Estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทานแลวยังไมสามารถระงับ Urogenital Symptoms ได ใหเพิ่ม Estrogen เฉพาะที่ • ถามี Urogenital Symptoms อยางเดียวให Estrogen เฉพาะที่
  • 6. 6 การใหฮอรโมนรักษา ( HT ) กรณียังมีมดลูกอยู ให Estrogen + Progestogen Perimenopause หรือ Early postmenopause Postmenopause Cyclic sequential ( CSR ) Continuous Combined ( CCR ) - ให estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทาน 28 วัน + progestogen 12 วันทาย หลังหยุด ยาประจําเดือนมา 4-5 วัน แลวเริ่มยาชุดใหม - หรือยาทุกเม็ดมีฮอรโมน estrogen เทากัน 21 เม็ด และมี Progestogen 10-14 เม็ดหลัง เชน cycloprogynova หยุดยา 7 วัน จึงจะเริมชุดใหม ่ - ให estrogen ทางผิวหนังหรือรับประทาน รวมกับ progestogens ขนาดเทากันทุกวัน รับประทานยาทุกวันเชน - Premarin ( 0.3 – 0.625 ) + MPA 2.5 มก. หรือฮอรโมนสําเร็จรูป เชน - Premarin 0.3 มก. + MPA 1.5 มก. ( Premelle lite ) - estradiol 1 มก. + NETA 0.5 มก. ( Activelle ) - Tibolone 2.5 มก. ( Livial )
  • 7. 7 Dose ของ progesterone และ progestogens ที่สามารถควบคุม endomotrium วันละ ( มิลลิกรัม ) Progesterone + Progestogens Progesterone microniszed Dydrogesterone Medroxyprogesterone acetate Norethisterone Cyproterone acetate ใหเปนชวง ( Cyclic sequential ) 200-300 10-20 5-10 1 1 ใหทุกวัน ( Continuous Combined ) 100 5-10 1.5-2.5 0.5 - การปฏิบัติขณะใหฮอรโมนและการติดตาม 1. หลังจากเริ่มใหฮอรโมน 1-2 เดือน ควรนัดตรวจติดตาม ถาไมมีปญหาอาจนัดครั้งตอไปทุก 3-4 เดือน 2. แนะนําใหผูปวยหมั่นตรวจเตานมดวยตนเอง ตลอดจนสุขภาพโดยทัวไป เชน น้ําหนักตัว ความดันโลหิต ่ 3. ใหการรักษาโรคที่ผูปวยมีอยูกอนแลว เพือลดความเสี่ยงจากการรักษาดวยฮอรโมน เชน ไขมันผิดปกติ ่ ความดันโลหิตสูง และงดสูบบุหรี่ และใหออกกําลังกายเปนประจํา 4. ในกรณีทมี Osteoporosis คอนขางรุนแรง อาจให Bisphosphonates รวมดวย ี่ 5. ถามีเลือดออกผิดปกติทางชองคลอดระหวางรักษาดวยฮอรโมนควรตรวจสอบความหนาของเยือยุโพรงมดลูก ่ 6. เมื่อครบรอบป ควรตรวจรางกายทัวไป , EKG , PV + pap smear , transvaginal ultrasound และ ่ mammogram การรักษาทางเลือก ( Alternative therapy ) ในกรณีที่มีขอหามหรือมีอาการขางเคียงจากการรักษาดวยฮอรโมนอาจใชการรักษาทางเลือก เพื่อบําบัด หรือบรรเทาปญหาตาง ๆ ไดบางพอสมควร ไดแก 1. การปรับเปลี่ยนการดํารงชีวิตประจําวัน เพื่อบรรเทา hot flushes - สวมใสเสื้อผาบาง ๆ - ลดอุณหภูมในหองทํางานหรือหองนอนใหเย็นลงอีก ิ - หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด หรือรสเผ็ดรอน แอลกอฮอล และเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน - ผอนคลาย - ออกกําลังกายสม่ําเสมอ
  • 8. 8 2. รับประทานอาหารที่มี Phytoestrogens 3. Nonhormonal therapy - Antidepressants เชน กลุม Tricyclic จะไดผลไมดีเทากลุม SSRI และ SNRI ในการรักษา ความเครียดระยะยาวนอกจากนี้ยังตองใชขนาดยาสูงกวา ทําใหพบอาการขางเคียงไดบอย - Bellergal หรือยา Sedative ขนาดต่ํา เชน Diazepam แตควรใชในระยะสั้น ๆ สรุป การดูแลสตรีวยทองมีจุดมุงหมายเพื่อสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรคหรือความผิดปกติตาง ๆ ที่เกิดขึ้น และ ั รักษาโรคหรือความผิดปกติที่ตรวจพบ ถึงแมวาการใชฮอรโมนจะมีความเสี่ยงอันตรายอยูบาง แตก็จําเปนตองใช โดยเฉพาะในรายที่มีกลุมอาการของการหมดประจําเดือนมาก ดังนันการใชสําคัญอยูที่แพทยที่ใหการรักษาตองมี ้ กฎเกณฑการใชอยางถูกตอง มีขอบงชี้ในการใชและไมมขอหามใช และมีการปรับเปลี่ยนวิธีหรือขนาดการใช ี ฮอรโมน เพื่อใหเหมาะสมตามวัตถุประสงคของสตรีในแตละราย ก็จะทําใหผลของการรักษาดวยฮอรโมนไดรับ ประโยชนสูงสุดและมีอันตรายนอยที่สุด แนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเตานมในระยะเริ่มแรก การตรวจเตานมดวยตนเอง - เริ่มตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไป - ตรวจเดือนละครั้งหลังหมดประจําเดือน 1 สัปดาห - หรือทุกวันที่ 1 ของเดือน ถาประจําเดือนหมด ตรวจโดยบุคลากรทางการแพทย - อายุ 20-39 ป ทุก 3 ป - อายุ 40 ป ขึ้นไปทุกป mammogram - เริ่มตรวจตั้งแตอายุ 35 ป เปนพื้นฐาน - อายุ 40 ป ทําทุกป - อายุ 50 ป ขึ้นไปทํา 1-2 ป หรือตามแพทยแนะนํา พบแพทยเมื่อสังเกตพบสิ่งผิดปกติ สําหรับผูที่มีประวัติมีคนในครอบครัวเปนมะเร็งเตานม อาจตองทํา mammogram เร็วกวาปกติ
  • 9. 9 เอกสารอางอิง สํานักงานสถิติแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร www.nso.go.th.2547 อภิชาต จิตติเจริญ . การบริบาลปฐมภูมิในชาย – หญิงวัยทอง . ใน : อุรุษา เทพพิสัย , อภิชาต จิตติเจริญ , จิตติมา มโนนัย บรรณาธิการ . แผนบําบัดแนวใหมในวัยทอง . กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพขาวฟาง จํากัด 2548 : 29-45 ั หะทัย เทพพิสัย . วิกฤติฮอรโมน ! …. ปรับเปนโอกาสไดอยางไรในวินาทีสุดทายกอนใหฮอรโมนในสตรีวย หมดประจําเดือน. ใน : อุรุษา เทพพิสัย , อภิชาต จิตติเจริญ , จิตติมา มโนนัย , บรรณาธิการ. แผนบําบัด แนวใหมในวัยทอง . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพขาวฟาง จํากัด 2548 : 97-202 มยุรี จิรภิญโญ . The visionary wisdom of the menopause . เอกสารประกอบคําบรรยาย Menopause Academic Conference 2005 ณ โรงแรมเซนตจูรี่ ปารค กรุงเทพฯ . 16-18 กุมภาพันธ 2548 อรรณพ ใจสําราญ . HRT today . เอกสารประกอบคําบรรยาย Menopause Academic Conference 2005 ณ โรงแรมเซนตจูรี่ ปารค กรุงเทพฯ . 16-18 กุมภาพันธ 2548 The writing Group for the Women ‘ s Health Initiative Investigators Risks and Benefits of estrogen plus progestin in Healthy post menopausal women : principle results from the woman ‘ s Health Initiative RCT. JAMA 2002 ; 288:321-33 . นิมิต เตชไกรชนะ . Management of Menopause After WHI . ในเอกสารประกอบคําบรรยาย 2nd Intensive Course on Menopausal Therapy ณ คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 4-5 สิงหาคม 2546 . นิมิต เตชไกรชนะ , กอบจิตต ลิมปพยอม .การเปลี่ยนแปลงในวัยหมดระดู . ใน : นิมิต เตชไกรชนะ บรรณาธิการ . ฮอรโมนทดแทนในวัยหมดระดู . กรุงเทพฯ : บียอนด เอ็นเทอรไพรช จํากัด 2543 : 1 - 25 จัดทําโดย แพทยกลุมงานสูต-นรีเวชกรรมฯ โรงพยาบาลสงขลา ิ 13 มิถุนายน 2548