SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Alzheimer’s Disease
เรียบเรียงโดย นศ.ภ.นัทธพงศ ประจักษจิตร
ตรวจสอบโดย ภญ.จีรนันท ปากองวัน
รศ.ดร.สุระรอง ชินวงศ
โรคอัลไซเมอร [ Alzheimer’s Disease (AD) ] หรือ Dementia of Alzheimer’s type (DAT) เปนโรคที่
ทําใหเกิดกลุมอาการทางสมองเสื่อมในผูสูงอายุที่พบบอยที่สุดในโลกทางตะวันตก ในประเทศไทยเชื่อวาโรคนี้
สามารถพบไดเชนกัน โรคนี้นับวันจะเปนปญหาเพิ่มขึ้น เพราะเปนโรคที่พบในประชากรที่มีอายุมาก และ
ประชากรผูสูงอายุ จะมีมากขึ้นในทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทยดวย ในปจจุบันไดมีความเจริญกาวหนาใน
การวิจัยโรคอัลไซเมอรมากขึ้น ทําใหแนวทางในการดูแลรักษาโรคนี้ดีขึ้น และแมวายังไมสามารถรักษาใหหาย
ขาด หรือหาวิธีปองกันไดในปจจุบัน แตก็มีแนวโนมวาการรักษาและปองกันนาจะทําไดดีขึ้น
ลักษณะอาการของผูปวยอัลไซเมอร
อาการเดนของโรคอัลไซเมอร คือ ความจําเสื่อม หรือหลงลืม เรื่องที่ลืมมักจะเปนเรื่องที่เกิดขึ้นใหม ๆ
ในชีวิตประจําวัน เชน ลืมปดเตารีด ลืมกินยา หรือ ใครมาพบวันนี้ ลืมชื่อคน ลืมของ หาของใชสวนตัวไมพบ
ชอบพูดซ้ํา ถามคําถามซ้ํา เพราะจําคําตอบไมได มีปญหาเรื่องการพูดและการใชภาษา คือจะคิดคําศัพทบางคําไม
ออก ใชคําใกลเคียงแทน สติปญญาความเฉลียวฉลาดลดลง ทักษะตาง ๆ จะเริ่มสูญไป อารมณหงุดหงิด และอาจ
ทอแท เพราะอาการดังกลาว
สาเหตุของโรค
1. จากความผิดปกติในเนื้อสมองจะพบลักษณะที่สําคัญสองอยางคือ กลุมใยประสาทที่พันกัน neurofibrillary
tangles และมีสาร beta amyloid ในสมอง ใยสมองที่พันกันทําใหสารอาหารไมสามารถไปเลี้ยงสมอง การที่
สมองมีคราบ beta amyloid หุมทําใหระดับ acetylcholine ซึ่งมีสวนสําคัญในเรื่องการเรียนรูและความจําใน
สมองลดลง
2. การอักเสบ inflammatory สาร amyloid เมื่อสลายจะใหสารอนุมูลอิสระออกมา อนุมูลนี้จะทําใหเกิดการ
อักเสบของเซลสมอง
3. กรรมพันธุ ถามีบุคคลในครอบครัวปวยดวยโรคอัลไซเมอร โอกาสที่จะเปนก็จะมากขึ้น
4. อายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งมีโอกาสเปนมาก พบวารอยละ 25 ของผูปวยอายุ85 ปเปนโรคนี้
5. โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทําใหผูปวยสูญเสียความจํา การรักษาความดัน จะทําให
ความจําดีขึ้น
ยารักษาโรคอัลไซเมอร
ปจจุบันมีการนํายาใหมมาใชรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอรหลายชนิด แมวาผลการรักษายังไมดีเทาที่
ควร แตสวนใหญแลวผูปวยที่มีอาการไมรุนแรงมากนัก มักจะพบวาอาการตางๆ ของโรคดีขึ้นเปนลําดับ ยาที่ใช
มีดังนี้
1. ยา Donepezil ใชในการรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอรชนิดไมรุนแรง จัดอยูในกลุม anticholinesterase
inhibitors ออกฤทธิ์โดยการเพิ่มระดับของสารเคมี acetylcholine ในสมอง ประสิทธิภาพของยานี้ที่ผานมา
ชวยใหอาการหลงลืมของผูปวยดีขึ้น รวมทั้งความผิดปกติทั้งทางดานอารมณและการนึกคิด อยางไรก็ตามยัง
ไมยาที่รักษาใหอาการสมองเสื่อมหายขาด ดังนั้นในผูปวยที่มีอาการรุนแรงหรือเปนมาก อาจไมไดผลใน
การรักษาเทาที่ควร อีกประการหนึ่งจากการศึกษาวิจัยพบวาเมื่อหยุดยา อาการที่ดีขึ้นอาจกลับเลวลงได เนื่อง
จากสมดุลของสารเคมีในสมอง และระบบประสาทสวนกลางกลับไปสูสภาพเดิมกอนการรักษา การใชยา
ตองกินตอเนื่อง มักไมเห็นผลในเวลาอันรวดเร็ว ขอดีของยานี้คือไมมีผลขางเคียงตอตับ ไมตองตรวจเลือด
เพื่อตรวจสอบการทํางานของตับ และเปนยาที่กินเพียงวันละหนึ่งครั้ง ตอนเย็นหรือกอนนอน ชวยใหเกิด
ความสะดวกมากยี่งขึ้นในกลุมผูปวยอัลไซเมอร
2. ยา Galantamine เมื่อใชขนาด 8-146 mg วันละสองครั้ง พบวาไดผลดีพอสมควร จัดอยูในกลุม
anticholinesterase inhibitors เชนกัน มีทั้งชนิดเม็ดและชนิดน้ํา ใชรับประทานวันละสองครั้ง เชา-เย็น พรอม
อาหาร ชวยลดอาการระคายเคืองกระเพาะและลําไสได ขนาดยาที่นอยที่สุดคือ 4 mg วันละสองครั้ง ติดตอ
กันอยางนอย 4 สัปดาห ตองระมัดระวังขนาดยาในผูปวยที่เปนโรคตับและโรคไต ไมควรใชเกินวันละ 16
mg
3. Rivastigmine เปนยาอีกชนิดหนึ่งที่ใชในการรักษาโรคอัลไซเมอร จัดอยูในกลุม anticholinesterase
inhibitors จากการศึกษาพบวาในขนาดสูงวันละ 6-12 mg ไดผลดีกวาขนาด 1-4 mg ตอวัน รับประทานวัน
ละสองครั้ง และไมควรทานพรอมอาหาร เนื่องจากการดูดซึมยาจะลดนอยลงไปมาก และกอใหเกิดอาการ
คลื่นไสอาเจียนไดบอยกวา การใชยานี้นิยมใชวิธีเพิ่มขนาดยาทีละนอย โดยติดตามจากผลการรักษาเปนหลัก
4. ยา Tacrine เปนยาในกลุม cholinergic neurotransmitter replacement แนวโนมปจจุบันจะใชยานี้สูงขึ้นอาจ
สูงถึงวันละ 120-160 mg บางการศึกษาใชรวมกับ lecithin (phosphatidylcholine) พบวาผลการรักษาดีขึ้น
บาง แตยังไมมีความสําคัญทางสถิติ และตองการขอมูลเพิ่มเติมอีกบางสวน ยานี้ระคายกระเพาะคอนขางมาก
ควรกินกอนอาหารประมาณหนึ่งชั่วโมง และมีผลตอการทํางานของตับ จําเปนตองตรวจเลือดทุกสัปดาห
หากพบวามีการเพิ่มขึ้นของเอนไซมตับ อาจตองหยุดยา หรือเปลี่ยนไปใชยาชนิดอื่นแทน
5. Memantine ยาตัวนี้เปนยาสําหรับรักษาสภาวะสมองเสื่อม (dementia) ในระดับ moderate to severe ที่เกิด
จากโรคอัลไซเมอร เปนยาใชรับประทานโดยออกฤทธิ์ควบคุมการทําหนาที่ของ NMDA (N-methyl-Daspartate) receptor โดยออกฤทธิ์แบบเลือกเฉพาะที่จะไปมีผลลดการนําสัญญาณประสาทเฉพาะสวนที่ผิด
ปกติโดยไมไปรบกวนสัญญาณที่มีตามปกติ ชวยใหเซลลประสาทที่เสื่อมลงนั้นยังคงทําหนาที่ตอไปได โดย
เริ่มดวยขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง แลวจึงคอย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงขนาดที่แนะนําใหใช คือ วันละ 20 mg อาการ
ไมพึงประสงคที่พบ เชน ออนเพลีย ปวดศรีษะ ความดันโลหิตสูง อาเจียน ทองผูก ปวดหลัง งวงซึม
ผลิตภัณฑเสริมอาหาร
นอกจากการใชยาในการรักษา ในปจจุบันไดมีการนําผลิตภัณฑเสริมอาหารเขามาชวยในการบํารุง
สมอง ชวยการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของสมองได รวมทั้งปองกันการเสื่อมของระบบการเรียนรู อยางไร
ก็ตามควรตองระลึกเสมอวาผลิตภัณฑเสริมอาหารดังกลาวนี้ไมใชยา และไมไดมีการศึกษาวิจัยที่เขมงวด ที่จะได
ผลที่เชื่อถือไดเหมือนการศึกษาวิจัยในยา
1. แปะกวย (Ginkgo biloba)
ปจจุบันสารสกัดจากใบของแปะกวยถูกนํามาใชเปนยาและผลิตภัณฑเสริมอาหาร เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของ
โลหิตที่สมองและรางกาย และลดการถูกทําลายของเซลลประสาท โดยมักใชในการปองกันหรือรักษา
อาการโลหิตไปเลี้ยงสมองไมเพียงพอ (cerebral insufficiency) โดยอาการดังกลาวมักประกอบดวย การไมมี
สมาธิ ความจําเสื่อม งุนงง ไมมีแรง เหนื่อย สมรรถภาพทางกายลดลง อาการซึมเศรา วิตกกังวล มึนงง หูอื้อ
และปวดศีรษะ นอกจากนี้ยังชวยปรับปรุงความจําและการทํางานของสมองในผูปวยความจําเสื่อม และ
บําบัดปญหาเกี่ยวกับการไดยินและการมองเห็น ปริมาณแนะนํา วันละ 120-240 มิลลิกรัมตอวัน
2. เลซิติน (Lecithin)
เลซิติน หรือ phosphatidylcholine เปนสารธรรมชาติที่พบไดมากในไขแดงและถั่วเหลือง ปจจุบันไดมีการ
ผลิตเปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร โดยสกัดมาจาดถั่วเหลือง จุดประสงคของการใชเลซิติน ก็เพื่อเปนการเสริม
สารโคลีนใหรางกายนําไปใชประโยชน ซึ่งผลที่คาดหวังมากที่สุดก็คือการเพิ่มโคลีนใหสมองนําไปใชใน
การสังเคราะหสารสื่อประสาทอะเซทิลโคลีนที่มีความสําคัญตอความจํา ดังที่ไดกลาวมาแลว อยางไรก็ตาม
รายงานการศึกษาที่ใหผลคัดคานก็มีเชนกัน เชน การศึกษาในผูปวยอัลไซเมอรระยะเริ่มแรก พบวาเลซิติน
ขนาดสูง ๆ ไมมีผลในทางการรักษา นอกจากนี้การใหเลซิตินในขนาดสูงติดตอกันเปนระยะเวลานานยังอาจ
กอใหเกิดผลเสียได โดยจะพบวาผูปวยมีอาการซึมเศรา และมีผลกระทบสารสื่อประสาทหลายระบบ เกิดผล
เสียเกี่ยวกับทางเดินอาหาร มีเหงื่อและน้ําลายออกมาก และเบื่ออาหาร เปนตน
3. ฮิวเปอรซีน เอ (Huperzine A)
ฮิวเปอรซีน เอ เปนโมเลกุลยอยของสมุนไพรจีนที่มีชื่อวา Huperzia serrata จะชวยยับยั้งการทํางานของ
เอนไซมที่จะมีผลตอการทําลายสารอะซิทิลโคลีน ซึ่งมีสวนสําคัญตอการสงผานสัญญาณประสาท เปน
ปจจัยสําคัญตอระบบความจําในระยะสั้น งานวิจัยโดยสถาบัน The National Institute on Aging พบวาการ
ทดลองในระยะ 2 โดยการใหผูปวยโรคอัลไซเมอรบริโภคประมาณ 200-400 ไมโครกรัมตอวัน วันละ 2
เวลา จะมีอาการปวยของโรคนอยลง ซึ่งผลการทดลองดังกลาวนั้นสอดคลองกับ ผลการศึกษาโดย
มหาวิทยาลัย The Georgetown University ในโครงการเพื่อศึกษาความผิดปกติของระบบความจํา
4. น้ํามันปลา (fish oil)
จากการที่ทราบกันดีวาชวงที่สมองกําลังพัฒนาจะตองมีการใชกรดไขมันซึ่งเปนสวนประกอบที่สําคัญของ
เยื่อหุมเซลลของเซลลประสาท ดังนั้นจึงไดมีผูสนใจศึกษาถึงผลของการใหอาหารเสริมที่มีสวนประกอบ
ของโอเมกา-3 ซึ่งเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว โดยนํามาศึกษาดูผลที่มีตอการทํางานของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ
ระบบโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับเซลลประสาท
น้ํามันปลานับวาเปนแหลงอาหารสําคัญที่ใหกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ทั้งนี้น้ํามันปลาที่ไดจากปลาทะเล
จะมีสวนประกอบของโอเมกา-3 สูงแตมีกรดไขมันโอเมกา-6 ต่ํากวาน้ํามันปลาที่ไดจากปลาน้ําจืด สารโอเม
กา-3 ที่พบในน้ํามันปลาตัวสําคัญ ๆ ไดแก docosahexaenoic acid หรือ DHA และ eicosapentaenoid acid
สวนกรดไขมันโอเมกา-6 ที่พบไดแก arachidonic acid ทั้งนี้สารดีเอชเอ และ arachinodic acid จะมีความ
สําคัญในการพัฒนาของระบบประสาท และการทํางานของระบบประสาทตา
5. วิตามิน บี
วิตามินกลุมนี้มีอยูหลายตัว ที่มีความสําคัญตอการทํางานของระบบประสาท เชน วิตามินบี1 บี6 บี12 กรด
โฟลิค และ ไนอาซีน เปนตน การขาดวิตามินเหลานี้จะมีผลกระทบการทํางานของระบบประสาท ทําใหเกิด
ปญหาเกี่ยวกับจิตประสาท มีอาการเครียด ปวดศีรษะ เสนประสาทอักเสบ และความคิดวุนวายสับสน
6. โคเอนไซมคิวเทน (Coenzyme Q10)
โคเอนไซมคิวเทนจะชวยกระตุนการทํางานของสมองในสวนตาง ๆ ชวยเพิ่มพลังใหกับระบบความคิด การ
บริโภคโคเอนไซมคิวเทนจะชวยรักษาอาการของโรคพารกินสันในระยะตนและปองกันการเสื่อมประสิทธิ
ภาพของการเรียนรูโดยการเพิ่มระดับของสารโดพามีน (Dopamine) ในสมอง
ปจจุบันยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดที่ทําใหเปนโรคอัลไซเมอร ดังนั้นการรักษาสวนใหญจะเปนการ
รักษาแบบประคับประคอง หรือชะลอการดําเนินไปของโรค โดยการใชยาเพื่อชวยในเรื่องของความทรงจํา
แตยาอาจจะชวยไดเพียงระยะหนึ่งเทานั้น เมื่อถึงเวลาที่อาการรุนแรงเพิ่มมากขึ้นก็ไมสามารถจะควบคุมได
ดังนั้นเมื่อพบความผิดปกติควรไปพบแพทย เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยวาเปนโรคสมองเสื่อมหรือไม
นอกจากจะตองอาศัยการเขาใจอาการ และสภาวะของโรคของผูปวยแลว การดูแลในเรื่องใหผูปวยได
รับสารอาหารครบถวนและดูแลสุขภาพโดยรวม ไมใหเปนโรคอื่น ๆ เชน ความดัน เบาหวาน หรือโรคติด
เชื้ออื่น ๆ เพื่อบรรเทาความรุนแรงของโรค นอกจากนี้อีกวิธีที่เชื่อวาจะสามารถปองกันโรคอีกแนวทางหนึ่ง
ที่สําคัญคือ การดูแลสภาพจิตใจ โดยการทําสมาธิ หรือโดยการฝกสติ ซึ่งสามารถทําไดในทุกอิริยาบถตาม
สะดวก
เอกสารอางอิง
1. มนัส ธัญญะกิจไพศาล. คูมือการดูแลผูปวยโรคอัลไซเมอร. โรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา กรมสุขภาพ
จิต. 2544; พิมพครั้งที่ 1 : หนา192
2. ยารักษาโรค alzheimer [online]. Available from
http://www.bangkokhealth.com/knowdrug_htdoc/drug_detail.asp?number=5 [accessed date
18/09/2005]
3. ผลิตภัณฑเสริมอาหาร [online]. Available from
htttp://pcog.pharmacy.psu.ac.th/virtualClassroom/570-402/health%20food%20CVS.doc[accessed
date 18/09/2005]
4. ผลิตภัณฑเสริมอาหารสําหรับสุขภาพที่ดีของสมอง [online] available from
http://www.med.mykku.net/site_data/mykku_med/701000019/Health%20food%20for%20neurologic
al%20enhancement.doc[accessed date 18/09/2005]
5. memantine [online] available from http://www.ramamental.com/gp/gp/5.pdf [accessed
date18/09/2005]
6. Wang R, Tang XC. Neuroprotective effects of hyperzine A. A natural cholinesterase inhibitor for the
treatment of Alzheimer’s disease. Neurosignals.2005;14(1-2):71-82
7. โรคอัลไซเมอร [online] available from http://www.siamhealth.net/Disease/neuro/alzheimers.htm
[accessed date 18/09/2005]
8. alzheimer [online] available from http://www.manager.co.th/around/AroundShowWord.asp?
wordday_id=110&Alphabet=a [accessed date 18/09/2005]

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะSaran Yuwanna
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้Press Trade
 
Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Channawat
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 

Was ist angesagt? (17)

หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16Final project-614-no.6-no.16
Final project-614-no.6-no.16
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 

Andere mochten auch

3 forette prevention of alzheimer ifa 2012] 2
3 forette prevention of alzheimer  ifa 2012] 23 forette prevention of alzheimer  ifa 2012] 2
3 forette prevention of alzheimer ifa 2012] 2ifa2012
 
1 cummings-ifa 2012 presentation
1 cummings-ifa 2012 presentation1 cummings-ifa 2012 presentation
1 cummings-ifa 2012 presentationifa2012
 
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT.
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT. THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT.
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT. Alex Raji
 
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security Bharath Trainings
 
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment Syndrome
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment SyndromeIntra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment Syndrome
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment SyndromeAbdulgafoor MT
 
Kimyasal Tehlike İşaretleri
Kimyasal Tehlike İşaretleriKimyasal Tehlike İşaretleri
Kimyasal Tehlike İşaretleriTAYTEK
 
Employees reward recognition___suggestion_mannual
Employees reward recognition___suggestion_mannualEmployees reward recognition___suggestion_mannual
Employees reward recognition___suggestion_mannualKhalid Mahmood
 
Dementia basics workshop
Dementia basics workshopDementia basics workshop
Dementia basics workshopYasir Hameed
 
Document and Records Control - Records Management
Document and Records Control - Records ManagementDocument and Records Control - Records Management
Document and Records Control - Records ManagementMelvin Limon
 
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | Syzygal
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | SyzygalITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | Syzygal
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | SyzygalSyzygal
 
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2Ulangkaji tingkatan 1 dan 2
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2Abidah Ahmad
 
Acid-Base Equilibria, pH and Buffers
Acid-Base Equilibria, pH and BuffersAcid-Base Equilibria, pH and Buffers
Acid-Base Equilibria, pH and BuffersNishoanth Ramanathan
 
List of sanctions and licenses required for hotels in India
List of sanctions and licenses required for hotels in IndiaList of sanctions and licenses required for hotels in India
List of sanctions and licenses required for hotels in IndiaHemal Desai
 
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto Captives
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto CaptivesCyber-Crime: Where the real threats are for Auto Captives
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto CaptivesWhite Clarke Group
 
Loadrunner vs Jmeter
Loadrunner vs JmeterLoadrunner vs Jmeter
Loadrunner vs JmeterAtul Pant
 
Dementia: An Overview
Dementia: An OverviewDementia: An Overview
Dementia: An OverviewIrene Ryan
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีUtai Sukviwatsirikul
 

Andere mochten auch (20)

3 forette prevention of alzheimer ifa 2012] 2
3 forette prevention of alzheimer  ifa 2012] 23 forette prevention of alzheimer  ifa 2012] 2
3 forette prevention of alzheimer ifa 2012] 2
 
1 cummings-ifa 2012 presentation
1 cummings-ifa 2012 presentation1 cummings-ifa 2012 presentation
1 cummings-ifa 2012 presentation
 
Novgorod
NovgorodNovgorod
Novgorod
 
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT.
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT. THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT.
THE EFFECTS OF OVERHEAD COST IN THE SELLING PRICE OF A PRODUCT.
 
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security
Derived master roles Configuration screenshots in SAP Security
 
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment Syndrome
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment SyndromeIntra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment Syndrome
Intra Abdominal hypertension&Abdominal Compartment Syndrome
 
Kimyasal Tehlike İşaretleri
Kimyasal Tehlike İşaretleriKimyasal Tehlike İşaretleri
Kimyasal Tehlike İşaretleri
 
Employees reward recognition___suggestion_mannual
Employees reward recognition___suggestion_mannualEmployees reward recognition___suggestion_mannual
Employees reward recognition___suggestion_mannual
 
Dementia basics workshop
Dementia basics workshopDementia basics workshop
Dementia basics workshop
 
Document and Records Control - Records Management
Document and Records Control - Records ManagementDocument and Records Control - Records Management
Document and Records Control - Records Management
 
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | Syzygal
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | SyzygalITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | Syzygal
ITIL Intermediate Exam Tricks and Tips | Syzygal
 
Exotic Veg Menu
Exotic Veg MenuExotic Veg Menu
Exotic Veg Menu
 
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2Ulangkaji tingkatan 1 dan 2
Ulangkaji tingkatan 1 dan 2
 
Acid-Base Equilibria, pH and Buffers
Acid-Base Equilibria, pH and BuffersAcid-Base Equilibria, pH and Buffers
Acid-Base Equilibria, pH and Buffers
 
List of sanctions and licenses required for hotels in India
List of sanctions and licenses required for hotels in IndiaList of sanctions and licenses required for hotels in India
List of sanctions and licenses required for hotels in India
 
Process mapping
Process mappingProcess mapping
Process mapping
 
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto Captives
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto CaptivesCyber-Crime: Where the real threats are for Auto Captives
Cyber-Crime: Where the real threats are for Auto Captives
 
Loadrunner vs Jmeter
Loadrunner vs JmeterLoadrunner vs Jmeter
Loadrunner vs Jmeter
 
Dementia: An Overview
Dementia: An OverviewDementia: An Overview
Dementia: An Overview
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับวิชาชีพเภสัชกรรม โดย ดร.ภก. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
 

Ähnlich wie Alzheimer

โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพZee Gopgap
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานyadatada
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
FAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสFAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสwattana072
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนCaween Queen
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 

Ähnlich wie Alzheimer (20)

โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
FAQมากิพลัส
FAQมากิพลัสFAQมากิพลัส
FAQมากิพลัส
 
Dm
DmDm
Dm
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Alzheimer

  • 1. Alzheimer’s Disease เรียบเรียงโดย นศ.ภ.นัทธพงศ ประจักษจิตร ตรวจสอบโดย ภญ.จีรนันท ปากองวัน รศ.ดร.สุระรอง ชินวงศ โรคอัลไซเมอร [ Alzheimer’s Disease (AD) ] หรือ Dementia of Alzheimer’s type (DAT) เปนโรคที่ ทําใหเกิดกลุมอาการทางสมองเสื่อมในผูสูงอายุที่พบบอยที่สุดในโลกทางตะวันตก ในประเทศไทยเชื่อวาโรคนี้ สามารถพบไดเชนกัน โรคนี้นับวันจะเปนปญหาเพิ่มขึ้น เพราะเปนโรคที่พบในประชากรที่มีอายุมาก และ ประชากรผูสูงอายุ จะมีมากขึ้นในทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทยดวย ในปจจุบันไดมีความเจริญกาวหนาใน การวิจัยโรคอัลไซเมอรมากขึ้น ทําใหแนวทางในการดูแลรักษาโรคนี้ดีขึ้น และแมวายังไมสามารถรักษาใหหาย ขาด หรือหาวิธีปองกันไดในปจจุบัน แตก็มีแนวโนมวาการรักษาและปองกันนาจะทําไดดีขึ้น ลักษณะอาการของผูปวยอัลไซเมอร อาการเดนของโรคอัลไซเมอร คือ ความจําเสื่อม หรือหลงลืม เรื่องที่ลืมมักจะเปนเรื่องที่เกิดขึ้นใหม ๆ ในชีวิตประจําวัน เชน ลืมปดเตารีด ลืมกินยา หรือ ใครมาพบวันนี้ ลืมชื่อคน ลืมของ หาของใชสวนตัวไมพบ ชอบพูดซ้ํา ถามคําถามซ้ํา เพราะจําคําตอบไมได มีปญหาเรื่องการพูดและการใชภาษา คือจะคิดคําศัพทบางคําไม ออก ใชคําใกลเคียงแทน สติปญญาความเฉลียวฉลาดลดลง ทักษะตาง ๆ จะเริ่มสูญไป อารมณหงุดหงิด และอาจ ทอแท เพราะอาการดังกลาว สาเหตุของโรค 1. จากความผิดปกติในเนื้อสมองจะพบลักษณะที่สําคัญสองอยางคือ กลุมใยประสาทที่พันกัน neurofibrillary tangles และมีสาร beta amyloid ในสมอง ใยสมองที่พันกันทําใหสารอาหารไมสามารถไปเลี้ยงสมอง การที่ สมองมีคราบ beta amyloid หุมทําใหระดับ acetylcholine ซึ่งมีสวนสําคัญในเรื่องการเรียนรูและความจําใน สมองลดลง 2. การอักเสบ inflammatory สาร amyloid เมื่อสลายจะใหสารอนุมูลอิสระออกมา อนุมูลนี้จะทําใหเกิดการ อักเสบของเซลสมอง 3. กรรมพันธุ ถามีบุคคลในครอบครัวปวยดวยโรคอัลไซเมอร โอกาสที่จะเปนก็จะมากขึ้น 4. อายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งมีโอกาสเปนมาก พบวารอยละ 25 ของผูปวยอายุ85 ปเปนโรคนี้ 5. โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูงทําใหผูปวยสูญเสียความจํา การรักษาความดัน จะทําให ความจําดีขึ้น
  • 2. ยารักษาโรคอัลไซเมอร ปจจุบันมีการนํายาใหมมาใชรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอรหลายชนิด แมวาผลการรักษายังไมดีเทาที่ ควร แตสวนใหญแลวผูปวยที่มีอาการไมรุนแรงมากนัก มักจะพบวาอาการตางๆ ของโรคดีขึ้นเปนลําดับ ยาที่ใช มีดังนี้ 1. ยา Donepezil ใชในการรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอรชนิดไมรุนแรง จัดอยูในกลุม anticholinesterase inhibitors ออกฤทธิ์โดยการเพิ่มระดับของสารเคมี acetylcholine ในสมอง ประสิทธิภาพของยานี้ที่ผานมา ชวยใหอาการหลงลืมของผูปวยดีขึ้น รวมทั้งความผิดปกติทั้งทางดานอารมณและการนึกคิด อยางไรก็ตามยัง ไมยาที่รักษาใหอาการสมองเสื่อมหายขาด ดังนั้นในผูปวยที่มีอาการรุนแรงหรือเปนมาก อาจไมไดผลใน การรักษาเทาที่ควร อีกประการหนึ่งจากการศึกษาวิจัยพบวาเมื่อหยุดยา อาการที่ดีขึ้นอาจกลับเลวลงได เนื่อง จากสมดุลของสารเคมีในสมอง และระบบประสาทสวนกลางกลับไปสูสภาพเดิมกอนการรักษา การใชยา ตองกินตอเนื่อง มักไมเห็นผลในเวลาอันรวดเร็ว ขอดีของยานี้คือไมมีผลขางเคียงตอตับ ไมตองตรวจเลือด เพื่อตรวจสอบการทํางานของตับ และเปนยาที่กินเพียงวันละหนึ่งครั้ง ตอนเย็นหรือกอนนอน ชวยใหเกิด ความสะดวกมากยี่งขึ้นในกลุมผูปวยอัลไซเมอร 2. ยา Galantamine เมื่อใชขนาด 8-146 mg วันละสองครั้ง พบวาไดผลดีพอสมควร จัดอยูในกลุม anticholinesterase inhibitors เชนกัน มีทั้งชนิดเม็ดและชนิดน้ํา ใชรับประทานวันละสองครั้ง เชา-เย็น พรอม อาหาร ชวยลดอาการระคายเคืองกระเพาะและลําไสได ขนาดยาที่นอยที่สุดคือ 4 mg วันละสองครั้ง ติดตอ กันอยางนอย 4 สัปดาห ตองระมัดระวังขนาดยาในผูปวยที่เปนโรคตับและโรคไต ไมควรใชเกินวันละ 16 mg 3. Rivastigmine เปนยาอีกชนิดหนึ่งที่ใชในการรักษาโรคอัลไซเมอร จัดอยูในกลุม anticholinesterase inhibitors จากการศึกษาพบวาในขนาดสูงวันละ 6-12 mg ไดผลดีกวาขนาด 1-4 mg ตอวัน รับประทานวัน ละสองครั้ง และไมควรทานพรอมอาหาร เนื่องจากการดูดซึมยาจะลดนอยลงไปมาก และกอใหเกิดอาการ คลื่นไสอาเจียนไดบอยกวา การใชยานี้นิยมใชวิธีเพิ่มขนาดยาทีละนอย โดยติดตามจากผลการรักษาเปนหลัก 4. ยา Tacrine เปนยาในกลุม cholinergic neurotransmitter replacement แนวโนมปจจุบันจะใชยานี้สูงขึ้นอาจ สูงถึงวันละ 120-160 mg บางการศึกษาใชรวมกับ lecithin (phosphatidylcholine) พบวาผลการรักษาดีขึ้น บาง แตยังไมมีความสําคัญทางสถิติ และตองการขอมูลเพิ่มเติมอีกบางสวน ยานี้ระคายกระเพาะคอนขางมาก ควรกินกอนอาหารประมาณหนึ่งชั่วโมง และมีผลตอการทํางานของตับ จําเปนตองตรวจเลือดทุกสัปดาห หากพบวามีการเพิ่มขึ้นของเอนไซมตับ อาจตองหยุดยา หรือเปลี่ยนไปใชยาชนิดอื่นแทน 5. Memantine ยาตัวนี้เปนยาสําหรับรักษาสภาวะสมองเสื่อม (dementia) ในระดับ moderate to severe ที่เกิด จากโรคอัลไซเมอร เปนยาใชรับประทานโดยออกฤทธิ์ควบคุมการทําหนาที่ของ NMDA (N-methyl-Daspartate) receptor โดยออกฤทธิ์แบบเลือกเฉพาะที่จะไปมีผลลดการนําสัญญาณประสาทเฉพาะสวนที่ผิด ปกติโดยไมไปรบกวนสัญญาณที่มีตามปกติ ชวยใหเซลลประสาทที่เสื่อมลงนั้นยังคงทําหนาที่ตอไปได โดย
  • 3. เริ่มดวยขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง แลวจึงคอย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงขนาดที่แนะนําใหใช คือ วันละ 20 mg อาการ ไมพึงประสงคที่พบ เชน ออนเพลีย ปวดศรีษะ ความดันโลหิตสูง อาเจียน ทองผูก ปวดหลัง งวงซึม ผลิตภัณฑเสริมอาหาร นอกจากการใชยาในการรักษา ในปจจุบันไดมีการนําผลิตภัณฑเสริมอาหารเขามาชวยในการบํารุง สมอง ชวยการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของสมองได รวมทั้งปองกันการเสื่อมของระบบการเรียนรู อยางไร ก็ตามควรตองระลึกเสมอวาผลิตภัณฑเสริมอาหารดังกลาวนี้ไมใชยา และไมไดมีการศึกษาวิจัยที่เขมงวด ที่จะได ผลที่เชื่อถือไดเหมือนการศึกษาวิจัยในยา 1. แปะกวย (Ginkgo biloba) ปจจุบันสารสกัดจากใบของแปะกวยถูกนํามาใชเปนยาและผลิตภัณฑเสริมอาหาร เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของ โลหิตที่สมองและรางกาย และลดการถูกทําลายของเซลลประสาท โดยมักใชในการปองกันหรือรักษา อาการโลหิตไปเลี้ยงสมองไมเพียงพอ (cerebral insufficiency) โดยอาการดังกลาวมักประกอบดวย การไมมี สมาธิ ความจําเสื่อม งุนงง ไมมีแรง เหนื่อย สมรรถภาพทางกายลดลง อาการซึมเศรา วิตกกังวล มึนงง หูอื้อ และปวดศีรษะ นอกจากนี้ยังชวยปรับปรุงความจําและการทํางานของสมองในผูปวยความจําเสื่อม และ บําบัดปญหาเกี่ยวกับการไดยินและการมองเห็น ปริมาณแนะนํา วันละ 120-240 มิลลิกรัมตอวัน 2. เลซิติน (Lecithin) เลซิติน หรือ phosphatidylcholine เปนสารธรรมชาติที่พบไดมากในไขแดงและถั่วเหลือง ปจจุบันไดมีการ ผลิตเปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร โดยสกัดมาจาดถั่วเหลือง จุดประสงคของการใชเลซิติน ก็เพื่อเปนการเสริม สารโคลีนใหรางกายนําไปใชประโยชน ซึ่งผลที่คาดหวังมากที่สุดก็คือการเพิ่มโคลีนใหสมองนําไปใชใน การสังเคราะหสารสื่อประสาทอะเซทิลโคลีนที่มีความสําคัญตอความจํา ดังที่ไดกลาวมาแลว อยางไรก็ตาม รายงานการศึกษาที่ใหผลคัดคานก็มีเชนกัน เชน การศึกษาในผูปวยอัลไซเมอรระยะเริ่มแรก พบวาเลซิติน ขนาดสูง ๆ ไมมีผลในทางการรักษา นอกจากนี้การใหเลซิตินในขนาดสูงติดตอกันเปนระยะเวลานานยังอาจ กอใหเกิดผลเสียได โดยจะพบวาผูปวยมีอาการซึมเศรา และมีผลกระทบสารสื่อประสาทหลายระบบ เกิดผล เสียเกี่ยวกับทางเดินอาหาร มีเหงื่อและน้ําลายออกมาก และเบื่ออาหาร เปนตน 3. ฮิวเปอรซีน เอ (Huperzine A) ฮิวเปอรซีน เอ เปนโมเลกุลยอยของสมุนไพรจีนที่มีชื่อวา Huperzia serrata จะชวยยับยั้งการทํางานของ เอนไซมที่จะมีผลตอการทําลายสารอะซิทิลโคลีน ซึ่งมีสวนสําคัญตอการสงผานสัญญาณประสาท เปน ปจจัยสําคัญตอระบบความจําในระยะสั้น งานวิจัยโดยสถาบัน The National Institute on Aging พบวาการ ทดลองในระยะ 2 โดยการใหผูปวยโรคอัลไซเมอรบริโภคประมาณ 200-400 ไมโครกรัมตอวัน วันละ 2 เวลา จะมีอาการปวยของโรคนอยลง ซึ่งผลการทดลองดังกลาวนั้นสอดคลองกับ ผลการศึกษาโดย มหาวิทยาลัย The Georgetown University ในโครงการเพื่อศึกษาความผิดปกติของระบบความจํา 4. น้ํามันปลา (fish oil)
  • 4. จากการที่ทราบกันดีวาชวงที่สมองกําลังพัฒนาจะตองมีการใชกรดไขมันซึ่งเปนสวนประกอบที่สําคัญของ เยื่อหุมเซลลของเซลลประสาท ดังนั้นจึงไดมีผูสนใจศึกษาถึงผลของการใหอาหารเสริมที่มีสวนประกอบ ของโอเมกา-3 ซึ่งเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว โดยนํามาศึกษาดูผลที่มีตอการทํางานของสิ่งมีชีวิตหลาย ๆ ระบบโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับเซลลประสาท น้ํามันปลานับวาเปนแหลงอาหารสําคัญที่ใหกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ทั้งนี้น้ํามันปลาที่ไดจากปลาทะเล จะมีสวนประกอบของโอเมกา-3 สูงแตมีกรดไขมันโอเมกา-6 ต่ํากวาน้ํามันปลาที่ไดจากปลาน้ําจืด สารโอเม กา-3 ที่พบในน้ํามันปลาตัวสําคัญ ๆ ไดแก docosahexaenoic acid หรือ DHA และ eicosapentaenoid acid สวนกรดไขมันโอเมกา-6 ที่พบไดแก arachidonic acid ทั้งนี้สารดีเอชเอ และ arachinodic acid จะมีความ สําคัญในการพัฒนาของระบบประสาท และการทํางานของระบบประสาทตา 5. วิตามิน บี วิตามินกลุมนี้มีอยูหลายตัว ที่มีความสําคัญตอการทํางานของระบบประสาท เชน วิตามินบี1 บี6 บี12 กรด โฟลิค และ ไนอาซีน เปนตน การขาดวิตามินเหลานี้จะมีผลกระทบการทํางานของระบบประสาท ทําใหเกิด ปญหาเกี่ยวกับจิตประสาท มีอาการเครียด ปวดศีรษะ เสนประสาทอักเสบ และความคิดวุนวายสับสน 6. โคเอนไซมคิวเทน (Coenzyme Q10) โคเอนไซมคิวเทนจะชวยกระตุนการทํางานของสมองในสวนตาง ๆ ชวยเพิ่มพลังใหกับระบบความคิด การ บริโภคโคเอนไซมคิวเทนจะชวยรักษาอาการของโรคพารกินสันในระยะตนและปองกันการเสื่อมประสิทธิ ภาพของการเรียนรูโดยการเพิ่มระดับของสารโดพามีน (Dopamine) ในสมอง ปจจุบันยังไมทราบสาเหตุที่แนชัดที่ทําใหเปนโรคอัลไซเมอร ดังนั้นการรักษาสวนใหญจะเปนการ รักษาแบบประคับประคอง หรือชะลอการดําเนินไปของโรค โดยการใชยาเพื่อชวยในเรื่องของความทรงจํา แตยาอาจจะชวยไดเพียงระยะหนึ่งเทานั้น เมื่อถึงเวลาที่อาการรุนแรงเพิ่มมากขึ้นก็ไมสามารถจะควบคุมได ดังนั้นเมื่อพบความผิดปกติควรไปพบแพทย เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยวาเปนโรคสมองเสื่อมหรือไม นอกจากจะตองอาศัยการเขาใจอาการ และสภาวะของโรคของผูปวยแลว การดูแลในเรื่องใหผูปวยได รับสารอาหารครบถวนและดูแลสุขภาพโดยรวม ไมใหเปนโรคอื่น ๆ เชน ความดัน เบาหวาน หรือโรคติด เชื้ออื่น ๆ เพื่อบรรเทาความรุนแรงของโรค นอกจากนี้อีกวิธีที่เชื่อวาจะสามารถปองกันโรคอีกแนวทางหนึ่ง ที่สําคัญคือ การดูแลสภาพจิตใจ โดยการทําสมาธิ หรือโดยการฝกสติ ซึ่งสามารถทําไดในทุกอิริยาบถตาม สะดวก เอกสารอางอิง 1. มนัส ธัญญะกิจไพศาล. คูมือการดูแลผูปวยโรคอัลไซเมอร. โรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา กรมสุขภาพ จิต. 2544; พิมพครั้งที่ 1 : หนา192
  • 5. 2. ยารักษาโรค alzheimer [online]. Available from http://www.bangkokhealth.com/knowdrug_htdoc/drug_detail.asp?number=5 [accessed date 18/09/2005] 3. ผลิตภัณฑเสริมอาหาร [online]. Available from htttp://pcog.pharmacy.psu.ac.th/virtualClassroom/570-402/health%20food%20CVS.doc[accessed date 18/09/2005] 4. ผลิตภัณฑเสริมอาหารสําหรับสุขภาพที่ดีของสมอง [online] available from http://www.med.mykku.net/site_data/mykku_med/701000019/Health%20food%20for%20neurologic al%20enhancement.doc[accessed date 18/09/2005] 5. memantine [online] available from http://www.ramamental.com/gp/gp/5.pdf [accessed date18/09/2005] 6. Wang R, Tang XC. Neuroprotective effects of hyperzine A. A natural cholinesterase inhibitor for the treatment of Alzheimer’s disease. Neurosignals.2005;14(1-2):71-82 7. โรคอัลไซเมอร [online] available from http://www.siamhealth.net/Disease/neuro/alzheimers.htm [accessed date 18/09/2005] 8. alzheimer [online] available from http://www.manager.co.th/around/AroundShowWord.asp? wordday_id=110&Alphabet=a [accessed date 18/09/2005]