SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
79นิตยสารยุทธโกษ
ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕
นิสัย ๗ ประการสู่ความส�ำเร็จ
The 7 Habits of
Highly Effective People
พ.อ.วิสันติ สระศรีดา
StevenCoveyได้ให้แง่คิดว่า
การเพิ่มประสิทธิผล (effective)
ในการใช้ชีวิตเป็นมุมมองที่ได้มีการให้
ความส�ำคัญมากขึ้นเพราะการท�ำงาน
อย่างมีประสิทธิภาพ (efficiency)
เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถ
ท�ำให้เราปรับตัวในการใช้ชีวิตใน
สภาพแวดล้อมที่สลับซับซ้อนขึ้นได้
ดังค�ำกล่าวที่ว่า“Weneedbalance
betweendotherightthingsand
do the thing right”
และยังกล่าวอีกว่ามนุษย์มี
สิ่งที่แตกต่างจากสัตว์ คือ มีสามัญ
ส�ำนึกรู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมี
พลังจิต ดังนั้น การเอาใจใส่และ
หมั่นฝึกฝนคุณสมบัติพิเศษเหล่านี้
จนกลายเป็นนิสัย จะท�ำให้ประสบ
ความส�ำเร็จและมีความสุขอย่าง
แท้จริง นอกจากนั้น ยังได้กล่าวอีกว่า
กรอบในการมองโลก (paradigm)
หรือนิสัยของคนเรานั้นส่วนใหญ่
จะถูกปลูกฝังมาจากการสั่งสอนของ
คนรอบข้าง การใช้ชีวิตในสังคม และ
จากการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และด้วย
ความเคยชินท�ำให้คนเรานั้นไม่เคย
ฉุกคิดว่ามุมมองที่มีอยู่นั้นถูกต้อง
หรือเหมาะสมหรือไม่ จึงก่อให้เกิด
การทะเลาะเบาะแว้งและไม่เข้าใจ
ผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา เพราะเอาความ
คิดของตนเองเป็นตัวตัดสิน ดังนั้น
ผู้แต่งจึงแนะน�ำให้หยุดทบทวนแนว
ความคิดมุมมองและคติธรรมในใจ
นิสัย ๗ ประการสู่ความส�ำเร็จ (The 7 Habits of Highly Effective People)
ประพันธ์โดย Steven Covey เป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง และถูกจ�ำหน่าย
ไปแล้วกว่า ๑๕ ล้านเล่ม ผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงนิสัย ๗ ประการในการด�ำเนินชีวิต
เพื่อไปสู่ความส�ำเร็จและวิธีการยกระดับคุณภาพจิตใจ
80 นิตยสารยุทธโกษ
ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕
ที่เคยยึดถือตลอดมาว่า สิ่งเหล่านั้น
ถูกต้องแล้วจริงหรือ ให้พิจารณาตาม
ความเป็นจริงสิ่งไหนคิดผิดให้คิดใหม่
แก้ไขที่ต้นเหตุ เมื่อเข้าใจตนเองจึงจะ
เข้าใจผู้อื่นได้ นอกจากนั้น ผู้แต่ง
ยังเชื่อว่าผู้ที่จะประสบความส�ำเร็จ
ได้นั้นส่วนหนึ่งเกิดจากการมีสมอง
ข้างขวาที่ทรงประสิทธิภาพสามารถ
ควบคุมการท�ำงานของสมองด้าน
ซ้ายได้ สมองข้างขวามีหน้าที่เตือน
ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี การมีจินตนาการ
และการมีอารมณ์และความรู้สึก
ดังนั้น การฝึกใช้จินตนาการและมี
สติรู้เนื้อรู้ตัวอยู่ตลอดเวลาจึงเป็น
การพัฒนาการท�ำงานของสมองด้าน
ขวาได้เป็นอย่างดี
อุปนิสัยทั้ง ๗ นั้น แบ่งออก
ได้เป็น ๓ กลุ่มคือ
กลุ่มที่ ๑	: อุปนิสัยเพื่อการ
รู้จักและเอาชนะตัวเอง ได้แก่ นิสัย
การสร้างสรรค์และรู้จักเลือก (Be
Proactive) สร้างเป้าหมายในชีวิต
เป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ (Begin
with the End in Mind) ท�ำสิ่งที่
ต้องท�ำก่อน (Put First Things First)
กลุ่มที่ ๒	:อุปนิสัยการท�ำให้
เกิดชัยชนะร่วมกัน ได้แก่ การรู้จัก
แบ่งปันผลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นด้วย
(ThinkWin/Win)การพยายามเข้าใจ
ผู้อื่นมากกว่าให้ผู้อื่นมาเข้าใจเรา
(Seek First to Understand,
Then to Be Understood) และ
การผนึกก�ำลังและประสานแนวความ
คิดกัน (Synergize)
กลุ่มที่ ๓	: อุปนิสัยการ
ปรับปรุงและเรียนรู้สิ่งใหม่ให้กับ
ชีวิตตนเอง ได้แก่ การฝึกฝนและ
เพิ่มพลังชีวิต (Sharpen the Saw)
ทั้งนี้อุปนิสัยทั้ง ๗ มีราย
ละเอียดสรุปได้ กล่าวคือ
อุปนิสัยที่๑:นิสัยการสร้างสรรค์
และรู้จักเลือก (Be Proactive)
การสร้างสรรค์และรู้จักเลือก
คือการมีสติตามตัวอยู่ตลอดเวลา
รู้ตัวว่าขณะนี้ตนเองก�ำลังท�ำอะไร
อยู่และผลที่เกิดจากการกระท�ำนี้
คืออะไร รู้ว่าขณะนี้ตัวเราก�ำลังอยู่ใน
สถานการณ์แบบใด สถานการณ์ปกติ
หรือมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดย
สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรานั้น มีผลอะไร
ต่อตัวเราบ้างและเรามีการตอบสนอง
ต่อสิ่งที่ก�ำลังเผชิญอย่างไรตอบสนอง
ด้วยกิริยาใดด้วยอารมณ์แบบไหน
ปกติแล้วมนุษย์มีอารมณ์หลักอยู่
สามอารมณ์คือ สุข ทุกข์ และเฉย ๆ
หากเรารู้เท่าทันอารมณ์เราจึงจะรู้จัก
ตนเองอย่างถ่องแท้เมื่อรู้แล้วเมื่อเห็น
แล้วจึงจะเลือกท�ำในสิ่งที่ถูกต้องได้
คนเรามีสิทธิที่จะก�ำหนดชีวิต
ของตนเอง แต่ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่
มักปล่อยให้ชีวิตด�ำเนินไปตามกระแส
สังคม ถูกฉุดกระชากไปตามอารมณ์
และการกระท�ำของผู้อื่น เช่น เมื่อ
ได้รับค�ำชมก็ดีใจ ได้รับค�ำต�ำหนิ
ก็เสียใจ หรือคนพูดไม่ได้ดั่งใจก็โกรธ
เป็นต้น เราเอาพฤติกรรมของเรา
ไปขึ้นกับการกระท�ำและความคิด
ของผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา หากเรารู้จัก
81นิตยสารยุทธโกษ
ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕
เลือกรู้จักหยุดคิดก่อนที่จะตอบสนอง
เราจึงจะมีชีวิตที่เป็นของเราจริง ๆ
และจะเลิกโทษผู้อื่นเลิกโทษโชคชะตา
และจะได้ชื่อว่าเป็นคนที่มีวุฒิภาวะ
อย่างแท้จริง เมื่อนั้นจิตจึงจะนิ่งสงบ
ไม่กระเพื่อมไปกับสิ่งภายนอกที่เข้า
มากระทบ จิตจึงมีพลังสามารถท�ำ
การใหญ่ได้
การจะมีสติ ตามทันอารมณ์
ได้นั้นจิตต้องมีความสงบหรือมี
สมาธิในระดับหนึ่ง ซึ่งท�ำได้โดยการ
การสวดมนต์ หรือท�ำสมาธิ ซึ่ง
ในการปฏิบัติแล้วเรามีสิทธิที่จะ
เลือกสิ่งที่เราจะท�ำตามความคิดของ
เราเองได้ อยู่ที่มุมมองของเราว่า
จะเน้นจุดที่เรามีบทบาทในการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไข
เราควรจะถามตนเองว่าเราจะ
ด�ำเนินชีวิตตามบทบาทที่เราจะเลือก
เดินเพื่อให้สอดคล้องถึงคุณค่าชีวิต
ที่เรามองเห็นความส�ำคัญ หรือว่า
ขึ้นอยู่กับอารมณ์ ความรู้สึก หรือ
สิ่งแวดล้อมที่มากระทบเรา นั่นคือ
“การสร้างความเชื่อมั่นและมีสติ
ระลึกไว้เสมอว่าเราสามารถปั้นตนเอง
ไปในทิศทางที่เราต้องการได้”
อุปนิสัยที่ ๒ : สร้างเป้าหมาย
ในชีวิตเป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ
(Begin with the End in
Mind)
เป็นการเริ่มต้นทุกอย่างด้วย
ภาพหรือเป้าหมายที่เราคิดว่าจะท�ำให้
เกิดความส�ำเร็จก่อนที่จะลงไปใน
รายละเอียด การมีเป้าหมายที่ชัดเจน
ในชีวิตเป็นการแสดงความต้องการว่า
อยากมีชีวิตแบบใด เมื่อมีเป้าหมาย
เราจะรู้ว่าขณะนี้ควรท�ำสิ่งใด ก�ำลัง
ยืนอยู่ตรงจุดไหน จะต้องไปอีกไกล
เท่าไร และไปด้วยวิธีใดบ้างจึงจะ
บรรลุเป้าหมาย จะท�ำให้การใช้ชีวิต
ในแต่ละวันมีคุณค่าและไม่น่าเบื่อ
เป้าหมายจะเป็นตัวก�ำหนดพฤติกรรม
ต่าง ๆ ของเรา
เป้าหมายที่ดีจะต้องชัดและ
ต้องสร้างเป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ
ตลอดเวลาและการสร้างเป้าหมาย
ต้องมาจากสิ่งที่เราชอบจริง ๆ ไม่ใช่
ท�ำตามกระแสสังคม และที่ส�ำคัญ
เป้าหมายนั้นต้องพอที่จะเป็นไปได้
นอกจากนั้นเป้าหมายในที่นี้ยังหมาย
ถึงภาพพจน์ที่เราต้องการให้คนอื่น
จดจ�ำเราได้นั้นเป็นแบบใด กล่าวอีก
นัยหนึ่งก็คือ “การก�ำหนดว่าจะปั้น
ตนเองให้เป็นอะไร”
อุปนิสัยที่๓:ท�ำสิ่งที่ต้องท�ำก่อน
(Put First Things First)
การกระท�ำสิ่งต่าง ๆ จะต้อง
เลือกท�ำในสิ่งที่สอดคล้องและ
สนับสนุนการน�ำเราไปสู่เป้าหมาย
ก่อนเป็นอันดับแรก และท�ำอย่าง
ต่อเนื่อง ไม่ควรรอให้สิ่งนั้นกลายเป็น
สิ่งเร่งด่วน และต้องมีการประเมิน
ตนเองอยู่ตลอดเวลาว่าขณะนี้เรา
ก�ำลังอยู่ตรงจุดไหน อีกไกลเท่าไร
และเรามาถูกทางหรือไม่ มีเส้นทาง
ใหม่ ๆ ที่จะช่วยให้เราไปถึงเป้าหมาย
ได้เร็วขึ้นหรือเปล่า หรือเราก�ำลังเสีย
เวลาไปกับสิ่งที่ไร้สาระในการประเมิน
แต่ละครั้งจะต้องอยู่บนพื้นฐานของ
ความเป็นจริง จะต้องซื่อสัตย์ ใช้สติ
และไม่เข้าข้างตัวเอง นอกจากนั้น
ควรเลือกท�ำสิ่งที่ไม่เร่งด่วนแต่ส�ำคัญ
ในชีวิตก่อน คนส่วนใหญ่มักเลือก
ท�ำในสิ่งที่เร่งด่วนก่อนเสมอ โดย
ลืมนึกไปว่าสิ่งเหล่านั้นสอดคล้องกับ
เป้าหมายในชีวิตหรือไม่
82 นิตยสารยุทธโกษ
ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕
จงอย่าท�ำตามสิ่งที่สังคม
ก�ำหนด แต่ให้เลือกท�ำในสิ่งที่เรา
ก�ำหนดเอง และการวางแผนท�ำ
สิ่งใดต้องวางแผนในระยะยาว เพื่อ
ให้ได้ผลงานชัดเจน และต้องมอบ
หมายงานให้กับคนที่ไว้ใจได้ เพื่อที่
เราจะได้มีเวลาไปท�ำสิ่งที่ส�ำคัญและ
ตรงตามเป้าหมายในชีวิตได้มากขึ้น
อาจกล่าวได้ว่า อุปนิสัยนี้ คือ
อุปนิสัยของ “การบริหารเวลาที่มี
ประสิทธิภาพ” นั่นเอง
อุปนิสัยที่ ๔ : การรู้จักแบ่งปัน
ผลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นด้วย
(Think Win/Win)
เนื่องจากการด�ำรงชีวิตใน
สังคมคือการด�ำรงความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น อุปนิสัยนี้จึงเป็นการมีมุมมอง
และแนวคิดในอันที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น
โดยทุกฝ่ายควรจะได้รับประโยชน์
อย่างเท่าเทียมกันการไม่คิดถึงตัวเอง
แต่เพียงฝ่ายเดียวหรือเอาความคิด
ของตนเองเป็นที่ตั้ง นั่นคือการรู้จัก
เห็นอกเห็นใจผู้อื่นและควรหลีกเลี่ยง
การกระท�ำที่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
สิ่งเหล่านี้รู้ได้โดยการมองย้อนเข้าหา
ตัวเองว่าหากเป็นเราเจอแบบนี้
จะรู้สึกอย่างไร และนอกจากการ
เข้าใจผู้อื่นแล้ว ต้องกระท�ำตนให้
ปากกับใจตรงกัน รู้จักรักษาค�ำพูด
มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่มั่นคงสงบนิ่ง
ใจกว้างและมองโลกในแง่ดี
ประการส�ำคัญหากต้องการ
ให้คนในองค์กรได้รับประโยชน์อย่าง
เท่าเทียมกัน ควรจะจัดระบบขึ้นมา
รองรับ นั่นคือ ควรจะมีจุดยืนของเรา
พร้อม ๆ กับการประสานมุมมอง
ในจุดยืนของคนอื่น เพื่อให้เกิดแนว
ความคิดที่สร้างสรรค์กว่าเดิม การ
จะให้ทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์ที่
พึงพอใจนั้นนอกจากความกล้าหาญ
ในการรักษาจุดยืนของตนแล้ว ต้อง
ยอมรับและพยายามเข้าใจแนวทาง
ของผู้อื่นด้วย แล้วจึงหามุมมอง
ที่ท�ำให้เกิดภาพแห่งชัยชนะหรือ
ความพึงพอใจร่วมกัน
อุปนิสัยที่ ๕ : การพยายาม
เข้าใจผู้อื่นมากกว่าให้ผู้อื่น
มาเข้าใจเรา (Seek First to
Understand, Then to Be
Understood)
ปกติแล้วคนส่วนใหญ่มักชอบ
พูดให้ผู้อื่นฟังมากกว่าฟังที่คนอื่นพูด
ดังนั้น เมื่อไม่มีใครยอมฟังใคร ปัญหา
จึงเกิดขึ้น การฟังอย่างตั้งใจและ
พยายามที่จะเข้าใจผู้อื่นแทนที่จะ
ให้ผู้อื่นมาเข้าใจเรา อีกฝ่ายจะรับรู้
ถึงความรู้สึกเห็นอกเห็นใจจากเรา
และเกิดความผ่อนคลายลงในระดับ
หนึ่งและจะยอมรับฟังความคิดเห็น
จากเราด้วยในที่สุด การเป็นผู้ฟังที่ดี
และพยายามที่จะเข้าใจอีกฝ่ายจะท�ำ
ให้มองเห็นประเด็นของปัญหาได้
อย่างชัดเจนและสามารถแก้ไขได้
อย่างตรงจุด
การฟังนั้นต้องฟังอย่างมีสติ
อย่าฟังจนเคลิ้มและต้องมีจุดยืนใน
ตัวเองด้วย การฟังด้วยความเห็นอก
เห็นใจจะช่วยลดอคติที่มีต่ออีกฝ่าย
ได้ และจะไม่เกิดการตัดสินคนจาก
ค�ำพูดเพราะขณะนั้นจิตใจจะมี
ความเมตตาไม่ปรุงแต่งเป็นอารมณ์
นอกจากนั้นหากต้องการพูดแสดง
ความเห็นอกเห็นใจ ก่อนพูดควร
ถามความรู้สึกของตนเองก่อนว่า
ในเวลานี้ควรพูดหรือไม่ ควรพูด
แค่ไหน และควรพูดอย่างไรจึงจะ
เป็นการแสดงความเห็นอกเห็นใจ
อีกฝ่ายอย่างแท้จริง
83นิตยสารยุทธโกษ
ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕
อุปนิสัยที่ ๖ : การผนึกก�ำลัง
และประสานแนวความคิดกัน
(Synergize)
การผนึกก�ำลังและประสาน
แนวความคิดกันให้เกิดขึ้นภายใน
องค์กรเป็นหน้าที่ของผู้บริหารนั่นคือ
การดึงเอาศักยภาพของสมาชิกใน
องค์กรแต่ละคนมาผสมผสานกัน
อย่างลงตัวและสามารถเปลี่ยนความ
ขัดแย้งให้กลายเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ได้
ในฐานะผู้บริหารต้องมองปัญหาและ
ความขัดแย้งให้เป็นเรื่องปกติ ควร
คิดว่าจะท�ำอย่างไรจึงจะสามารถ
เปลี่ยนสิ่งเหล่านี้ให้กลายเป็นผลงาน
ได้ นอกจากนั้น การบริหารสมาชิก
ขององค์กรจ�ำนวนมาก ๆ จะใช้วิธี
เดียวกันหมดไม่ได้เพราะแต่ละคน
ย่อมไม่เหมือนกัน ในฐานะผู้บังคับ
บัญชาจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ
อยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะรู้ได้ว่าสมาชิก
องค์กรคนไหนต้องใช้วิธีใด
ทั้งนี้ต้องเริ่มจากการรู้จัก
ตนเองก่อนเมื่อรู้จักตนเองจึงจะรู้จัก
ผู้อื่น และต้องพยายามเข้าใจว่า
อีกฝ่ายก�ำลังรู้สึกอย่างไรด้วย จึงจะ
สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการได้อย่าง
ทันท่วงที ข้อคิดในการท�ำงานเป็น
ทีมคือสิ่งที่ขาดไม่ได้คือความถ่อมตน
จงคิดว่าทุกคนย่อมมีข้อดีในแต่ละ
ด้าน ไม่มีใครดีกว่าใคร หากคิดเช่นนี้
อัตตาตัวตนก็ไม่เกิด การท�ำงานเป็น
ทีมจึงจะสมบูรณ์ อุปนิสัยที่ ๖ นี้
จึงเป็น “การสร้างพลังร่วมของ
องค์กร”
อุปนิสัยที่ ๗ : การฝึกฝนและ
เพิ่มพลังชีวิต (Sharpen the
Saw)
เป็นการหาเวลาและวิธีการ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิต
ทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการเพิ่ม
พลังเพื่อพร้อมที่จะต่อสู้กับชีวิตต่อไป
มีวิธีการดังนี้คือ
-	 ออกก�ำลังอย่างสม�่ำเสมอ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
-	 สร้างมโนภาพอยู่ตลอดเวลา
และอ่านหนังสือเพื่อเพิ่มพูนความรู้
-	 มีความเมตตาและเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น
-	 เข้าใจและรู้จักตนเอง
อย่างถ่องแท้และสร้างความสงบ
ภายใน
วิธีการดังกล่าวจึงเป็นการ
สร้างความพร้อมของตนเองโดยกระท�ำ
ทั้งการสร้างความพร้อมของร่างกาย
จิตใจความรู้สึกและทักษะคือกระท�ำ
ทั้งภายในและภายนอกนั่นเอง
จากนิสัยแห่งความส�ำเร็จ
ทั้ง๗ประการที่กล่าวข้างต้นสามารถ
สรุปเป็นใจความสั้น ๆ ได้ว่า Steven
Covey ให้ความส�ำคัญในเรื่องการ
ฝึกตนการเปิดใจการมีมนุษยสัมพันธ์
โดยใช้จินตนาการ การมีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ การมีหลักคุณธรรม
ในการด�ำรงชีวิต และการสร้างแผนที่
ชีวิตที่ดีนั่นเอง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2Prapaporn Boonplord
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์Pla FC
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraearlychildhood024057
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 

Ähnlich wie นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Stephen R. Covey

The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allKruKaiNui
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมSirirat Channok
 
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdf
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdfSlight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdf
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdfmaruay songtanin
 
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationสรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationampornw
 
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationสรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationampornw
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดLuckyman Buddhism
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนBuilt to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนmaruay songtanin
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรLomony Tempopo
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2maymymay
 
Six Thinking Hats
Six Thinking HatsSix Thinking Hats
Six Thinking Hatspla2
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 

Ähnlich wie นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Stephen R. Covey (20)

The 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people allThe 7 habits of highly effective people all
The 7 habits of highly effective people all
 
ลองของ
ลองของลองของ
ลองของ
 
พิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรมพิมพ์_2009_คุณธรรม
พิมพ์_2009_คุณธรรม
 
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdf
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdfSlight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdf
Slight Edge เก็บเล็กผสมน้อย.pdf
 
Eq1
Eq1Eq1
Eq1
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationสรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
 
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformationสรุปการเรียนรู้ Life transformation
สรุปการเรียนรู้ Life transformation
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาด
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืนBuilt to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน
 
Sha update
Sha updateSha update
Sha update
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กร
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
Six Thinking Hats
Six Thinking HatsSix Thinking Hats
Six Thinking Hats
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Stephen R. Covey

  • 1. 79นิตยสารยุทธโกษ ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ นิสัย ๗ ประการสู่ความส�ำเร็จ The 7 Habits of Highly Effective People พ.อ.วิสันติ สระศรีดา StevenCoveyได้ให้แง่คิดว่า การเพิ่มประสิทธิผล (effective) ในการใช้ชีวิตเป็นมุมมองที่ได้มีการให้ ความส�ำคัญมากขึ้นเพราะการท�ำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ (efficiency) เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถ ท�ำให้เราปรับตัวในการใช้ชีวิตใน สภาพแวดล้อมที่สลับซับซ้อนขึ้นได้ ดังค�ำกล่าวที่ว่า“Weneedbalance betweendotherightthingsand do the thing right” และยังกล่าวอีกว่ามนุษย์มี สิ่งที่แตกต่างจากสัตว์ คือ มีสามัญ ส�ำนึกรู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมี พลังจิต ดังนั้น การเอาใจใส่และ หมั่นฝึกฝนคุณสมบัติพิเศษเหล่านี้ จนกลายเป็นนิสัย จะท�ำให้ประสบ ความส�ำเร็จและมีความสุขอย่าง แท้จริง นอกจากนั้น ยังได้กล่าวอีกว่า กรอบในการมองโลก (paradigm) หรือนิสัยของคนเรานั้นส่วนใหญ่ จะถูกปลูกฝังมาจากการสั่งสอนของ คนรอบข้าง การใช้ชีวิตในสังคม และ จากการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และด้วย ความเคยชินท�ำให้คนเรานั้นไม่เคย ฉุกคิดว่ามุมมองที่มีอยู่นั้นถูกต้อง หรือเหมาะสมหรือไม่ จึงก่อให้เกิด การทะเลาะเบาะแว้งและไม่เข้าใจ ผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา เพราะเอาความ คิดของตนเองเป็นตัวตัดสิน ดังนั้น ผู้แต่งจึงแนะน�ำให้หยุดทบทวนแนว ความคิดมุมมองและคติธรรมในใจ นิสัย ๗ ประการสู่ความส�ำเร็จ (The 7 Habits of Highly Effective People) ประพันธ์โดย Steven Covey เป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง และถูกจ�ำหน่าย ไปแล้วกว่า ๑๕ ล้านเล่ม ผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงนิสัย ๗ ประการในการด�ำเนินชีวิต เพื่อไปสู่ความส�ำเร็จและวิธีการยกระดับคุณภาพจิตใจ
  • 2. 80 นิตยสารยุทธโกษ ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ ที่เคยยึดถือตลอดมาว่า สิ่งเหล่านั้น ถูกต้องแล้วจริงหรือ ให้พิจารณาตาม ความเป็นจริงสิ่งไหนคิดผิดให้คิดใหม่ แก้ไขที่ต้นเหตุ เมื่อเข้าใจตนเองจึงจะ เข้าใจผู้อื่นได้ นอกจากนั้น ผู้แต่ง ยังเชื่อว่าผู้ที่จะประสบความส�ำเร็จ ได้นั้นส่วนหนึ่งเกิดจากการมีสมอง ข้างขวาที่ทรงประสิทธิภาพสามารถ ควบคุมการท�ำงานของสมองด้าน ซ้ายได้ สมองข้างขวามีหน้าที่เตือน ให้รู้จักผิดชอบชั่วดี การมีจินตนาการ และการมีอารมณ์และความรู้สึก ดังนั้น การฝึกใช้จินตนาการและมี สติรู้เนื้อรู้ตัวอยู่ตลอดเวลาจึงเป็น การพัฒนาการท�ำงานของสมองด้าน ขวาได้เป็นอย่างดี อุปนิสัยทั้ง ๗ นั้น แบ่งออก ได้เป็น ๓ กลุ่มคือ กลุ่มที่ ๑ : อุปนิสัยเพื่อการ รู้จักและเอาชนะตัวเอง ได้แก่ นิสัย การสร้างสรรค์และรู้จักเลือก (Be Proactive) สร้างเป้าหมายในชีวิต เป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ (Begin with the End in Mind) ท�ำสิ่งที่ ต้องท�ำก่อน (Put First Things First) กลุ่มที่ ๒ :อุปนิสัยการท�ำให้ เกิดชัยชนะร่วมกัน ได้แก่ การรู้จัก แบ่งปันผลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นด้วย (ThinkWin/Win)การพยายามเข้าใจ ผู้อื่นมากกว่าให้ผู้อื่นมาเข้าใจเรา (Seek First to Understand, Then to Be Understood) และ การผนึกก�ำลังและประสานแนวความ คิดกัน (Synergize) กลุ่มที่ ๓ : อุปนิสัยการ ปรับปรุงและเรียนรู้สิ่งใหม่ให้กับ ชีวิตตนเอง ได้แก่ การฝึกฝนและ เพิ่มพลังชีวิต (Sharpen the Saw) ทั้งนี้อุปนิสัยทั้ง ๗ มีราย ละเอียดสรุปได้ กล่าวคือ อุปนิสัยที่๑:นิสัยการสร้างสรรค์ และรู้จักเลือก (Be Proactive) การสร้างสรรค์และรู้จักเลือก คือการมีสติตามตัวอยู่ตลอดเวลา รู้ตัวว่าขณะนี้ตนเองก�ำลังท�ำอะไร อยู่และผลที่เกิดจากการกระท�ำนี้ คืออะไร รู้ว่าขณะนี้ตัวเราก�ำลังอยู่ใน สถานการณ์แบบใด สถานการณ์ปกติ หรือมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดย สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรานั้น มีผลอะไร ต่อตัวเราบ้างและเรามีการตอบสนอง ต่อสิ่งที่ก�ำลังเผชิญอย่างไรตอบสนอง ด้วยกิริยาใดด้วยอารมณ์แบบไหน ปกติแล้วมนุษย์มีอารมณ์หลักอยู่ สามอารมณ์คือ สุข ทุกข์ และเฉย ๆ หากเรารู้เท่าทันอารมณ์เราจึงจะรู้จัก ตนเองอย่างถ่องแท้เมื่อรู้แล้วเมื่อเห็น แล้วจึงจะเลือกท�ำในสิ่งที่ถูกต้องได้ คนเรามีสิทธิที่จะก�ำหนดชีวิต ของตนเอง แต่ทุกวันนี้คนส่วนใหญ่ มักปล่อยให้ชีวิตด�ำเนินไปตามกระแส สังคม ถูกฉุดกระชากไปตามอารมณ์ และการกระท�ำของผู้อื่น เช่น เมื่อ ได้รับค�ำชมก็ดีใจ ได้รับค�ำต�ำหนิ ก็เสียใจ หรือคนพูดไม่ได้ดั่งใจก็โกรธ เป็นต้น เราเอาพฤติกรรมของเรา ไปขึ้นกับการกระท�ำและความคิด ของผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา หากเรารู้จัก
  • 3. 81นิตยสารยุทธโกษ ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ เลือกรู้จักหยุดคิดก่อนที่จะตอบสนอง เราจึงจะมีชีวิตที่เป็นของเราจริง ๆ และจะเลิกโทษผู้อื่นเลิกโทษโชคชะตา และจะได้ชื่อว่าเป็นคนที่มีวุฒิภาวะ อย่างแท้จริง เมื่อนั้นจิตจึงจะนิ่งสงบ ไม่กระเพื่อมไปกับสิ่งภายนอกที่เข้า มากระทบ จิตจึงมีพลังสามารถท�ำ การใหญ่ได้ การจะมีสติ ตามทันอารมณ์ ได้นั้นจิตต้องมีความสงบหรือมี สมาธิในระดับหนึ่ง ซึ่งท�ำได้โดยการ การสวดมนต์ หรือท�ำสมาธิ ซึ่ง ในการปฏิบัติแล้วเรามีสิทธิที่จะ เลือกสิ่งที่เราจะท�ำตามความคิดของ เราเองได้ อยู่ที่มุมมองของเราว่า จะเน้นจุดที่เรามีบทบาทในการ เปลี่ยนแปลงแก้ไข เราควรจะถามตนเองว่าเราจะ ด�ำเนินชีวิตตามบทบาทที่เราจะเลือก เดินเพื่อให้สอดคล้องถึงคุณค่าชีวิต ที่เรามองเห็นความส�ำคัญ หรือว่า ขึ้นอยู่กับอารมณ์ ความรู้สึก หรือ สิ่งแวดล้อมที่มากระทบเรา นั่นคือ “การสร้างความเชื่อมั่นและมีสติ ระลึกไว้เสมอว่าเราสามารถปั้นตนเอง ไปในทิศทางที่เราต้องการได้” อุปนิสัยที่ ๒ : สร้างเป้าหมาย ในชีวิตเป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ (Begin with the End in Mind) เป็นการเริ่มต้นทุกอย่างด้วย ภาพหรือเป้าหมายที่เราคิดว่าจะท�ำให้ เกิดความส�ำเร็จก่อนที่จะลงไปใน รายละเอียด การมีเป้าหมายที่ชัดเจน ในชีวิตเป็นการแสดงความต้องการว่า อยากมีชีวิตแบบใด เมื่อมีเป้าหมาย เราจะรู้ว่าขณะนี้ควรท�ำสิ่งใด ก�ำลัง ยืนอยู่ตรงจุดไหน จะต้องไปอีกไกล เท่าไร และไปด้วยวิธีใดบ้างจึงจะ บรรลุเป้าหมาย จะท�ำให้การใช้ชีวิต ในแต่ละวันมีคุณค่าและไม่น่าเบื่อ เป้าหมายจะเป็นตัวก�ำหนดพฤติกรรม ต่าง ๆ ของเรา เป้าหมายที่ดีจะต้องชัดและ ต้องสร้างเป็นภาพจารึกไว้ในจิตใจ ตลอดเวลาและการสร้างเป้าหมาย ต้องมาจากสิ่งที่เราชอบจริง ๆ ไม่ใช่ ท�ำตามกระแสสังคม และที่ส�ำคัญ เป้าหมายนั้นต้องพอที่จะเป็นไปได้ นอกจากนั้นเป้าหมายในที่นี้ยังหมาย ถึงภาพพจน์ที่เราต้องการให้คนอื่น จดจ�ำเราได้นั้นเป็นแบบใด กล่าวอีก นัยหนึ่งก็คือ “การก�ำหนดว่าจะปั้น ตนเองให้เป็นอะไร” อุปนิสัยที่๓:ท�ำสิ่งที่ต้องท�ำก่อน (Put First Things First) การกระท�ำสิ่งต่าง ๆ จะต้อง เลือกท�ำในสิ่งที่สอดคล้องและ สนับสนุนการน�ำเราไปสู่เป้าหมาย ก่อนเป็นอันดับแรก และท�ำอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ควรรอให้สิ่งนั้นกลายเป็น สิ่งเร่งด่วน และต้องมีการประเมิน ตนเองอยู่ตลอดเวลาว่าขณะนี้เรา ก�ำลังอยู่ตรงจุดไหน อีกไกลเท่าไร และเรามาถูกทางหรือไม่ มีเส้นทาง ใหม่ ๆ ที่จะช่วยให้เราไปถึงเป้าหมาย ได้เร็วขึ้นหรือเปล่า หรือเราก�ำลังเสีย เวลาไปกับสิ่งที่ไร้สาระในการประเมิน แต่ละครั้งจะต้องอยู่บนพื้นฐานของ ความเป็นจริง จะต้องซื่อสัตย์ ใช้สติ และไม่เข้าข้างตัวเอง นอกจากนั้น ควรเลือกท�ำสิ่งที่ไม่เร่งด่วนแต่ส�ำคัญ ในชีวิตก่อน คนส่วนใหญ่มักเลือก ท�ำในสิ่งที่เร่งด่วนก่อนเสมอ โดย ลืมนึกไปว่าสิ่งเหล่านั้นสอดคล้องกับ เป้าหมายในชีวิตหรือไม่
  • 4. 82 นิตยสารยุทธโกษ ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ จงอย่าท�ำตามสิ่งที่สังคม ก�ำหนด แต่ให้เลือกท�ำในสิ่งที่เรา ก�ำหนดเอง และการวางแผนท�ำ สิ่งใดต้องวางแผนในระยะยาว เพื่อ ให้ได้ผลงานชัดเจน และต้องมอบ หมายงานให้กับคนที่ไว้ใจได้ เพื่อที่ เราจะได้มีเวลาไปท�ำสิ่งที่ส�ำคัญและ ตรงตามเป้าหมายในชีวิตได้มากขึ้น อาจกล่าวได้ว่า อุปนิสัยนี้ คือ อุปนิสัยของ “การบริหารเวลาที่มี ประสิทธิภาพ” นั่นเอง อุปนิสัยที่ ๔ : การรู้จักแบ่งปัน ผลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นด้วย (Think Win/Win) เนื่องจากการด�ำรงชีวิตใน สังคมคือการด�ำรงความสัมพันธ์กับ ผู้อื่น อุปนิสัยนี้จึงเป็นการมีมุมมอง และแนวคิดในอันที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น โดยทุกฝ่ายควรจะได้รับประโยชน์ อย่างเท่าเทียมกันการไม่คิดถึงตัวเอง แต่เพียงฝ่ายเดียวหรือเอาความคิด ของตนเองเป็นที่ตั้ง นั่นคือการรู้จัก เห็นอกเห็นใจผู้อื่นและควรหลีกเลี่ยง การกระท�ำที่ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน สิ่งเหล่านี้รู้ได้โดยการมองย้อนเข้าหา ตัวเองว่าหากเป็นเราเจอแบบนี้ จะรู้สึกอย่างไร และนอกจากการ เข้าใจผู้อื่นแล้ว ต้องกระท�ำตนให้ ปากกับใจตรงกัน รู้จักรักษาค�ำพูด มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่มั่นคงสงบนิ่ง ใจกว้างและมองโลกในแง่ดี ประการส�ำคัญหากต้องการ ให้คนในองค์กรได้รับประโยชน์อย่าง เท่าเทียมกัน ควรจะจัดระบบขึ้นมา รองรับ นั่นคือ ควรจะมีจุดยืนของเรา พร้อม ๆ กับการประสานมุมมอง ในจุดยืนของคนอื่น เพื่อให้เกิดแนว ความคิดที่สร้างสรรค์กว่าเดิม การ จะให้ทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์ที่ พึงพอใจนั้นนอกจากความกล้าหาญ ในการรักษาจุดยืนของตนแล้ว ต้อง ยอมรับและพยายามเข้าใจแนวทาง ของผู้อื่นด้วย แล้วจึงหามุมมอง ที่ท�ำให้เกิดภาพแห่งชัยชนะหรือ ความพึงพอใจร่วมกัน อุปนิสัยที่ ๕ : การพยายาม เข้าใจผู้อื่นมากกว่าให้ผู้อื่น มาเข้าใจเรา (Seek First to Understand, Then to Be Understood) ปกติแล้วคนส่วนใหญ่มักชอบ พูดให้ผู้อื่นฟังมากกว่าฟังที่คนอื่นพูด ดังนั้น เมื่อไม่มีใครยอมฟังใคร ปัญหา จึงเกิดขึ้น การฟังอย่างตั้งใจและ พยายามที่จะเข้าใจผู้อื่นแทนที่จะ ให้ผู้อื่นมาเข้าใจเรา อีกฝ่ายจะรับรู้ ถึงความรู้สึกเห็นอกเห็นใจจากเรา และเกิดความผ่อนคลายลงในระดับ หนึ่งและจะยอมรับฟังความคิดเห็น จากเราด้วยในที่สุด การเป็นผู้ฟังที่ดี และพยายามที่จะเข้าใจอีกฝ่ายจะท�ำ ให้มองเห็นประเด็นของปัญหาได้ อย่างชัดเจนและสามารถแก้ไขได้ อย่างตรงจุด การฟังนั้นต้องฟังอย่างมีสติ อย่าฟังจนเคลิ้มและต้องมีจุดยืนใน ตัวเองด้วย การฟังด้วยความเห็นอก เห็นใจจะช่วยลดอคติที่มีต่ออีกฝ่าย ได้ และจะไม่เกิดการตัดสินคนจาก ค�ำพูดเพราะขณะนั้นจิตใจจะมี ความเมตตาไม่ปรุงแต่งเป็นอารมณ์ นอกจากนั้นหากต้องการพูดแสดง ความเห็นอกเห็นใจ ก่อนพูดควร ถามความรู้สึกของตนเองก่อนว่า ในเวลานี้ควรพูดหรือไม่ ควรพูด แค่ไหน และควรพูดอย่างไรจึงจะ เป็นการแสดงความเห็นอกเห็นใจ อีกฝ่ายอย่างแท้จริง
  • 5. 83นิตยสารยุทธโกษ ปีที่ ๑๒๐ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๕ อุปนิสัยที่ ๖ : การผนึกก�ำลัง และประสานแนวความคิดกัน (Synergize) การผนึกก�ำลังและประสาน แนวความคิดกันให้เกิดขึ้นภายใน องค์กรเป็นหน้าที่ของผู้บริหารนั่นคือ การดึงเอาศักยภาพของสมาชิกใน องค์กรแต่ละคนมาผสมผสานกัน อย่างลงตัวและสามารถเปลี่ยนความ ขัดแย้งให้กลายเป็นสิ่งที่สร้างสรรค์ได้ ในฐานะผู้บริหารต้องมองปัญหาและ ความขัดแย้งให้เป็นเรื่องปกติ ควร คิดว่าจะท�ำอย่างไรจึงจะสามารถ เปลี่ยนสิ่งเหล่านี้ให้กลายเป็นผลงาน ได้ นอกจากนั้น การบริหารสมาชิก ขององค์กรจ�ำนวนมาก ๆ จะใช้วิธี เดียวกันหมดไม่ได้เพราะแต่ละคน ย่อมไม่เหมือนกัน ในฐานะผู้บังคับ บัญชาจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ อยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะรู้ได้ว่าสมาชิก องค์กรคนไหนต้องใช้วิธีใด ทั้งนี้ต้องเริ่มจากการรู้จัก ตนเองก่อนเมื่อรู้จักตนเองจึงจะรู้จัก ผู้อื่น และต้องพยายามเข้าใจว่า อีกฝ่ายก�ำลังรู้สึกอย่างไรด้วย จึงจะ สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการได้อย่าง ทันท่วงที ข้อคิดในการท�ำงานเป็น ทีมคือสิ่งที่ขาดไม่ได้คือความถ่อมตน จงคิดว่าทุกคนย่อมมีข้อดีในแต่ละ ด้าน ไม่มีใครดีกว่าใคร หากคิดเช่นนี้ อัตตาตัวตนก็ไม่เกิด การท�ำงานเป็น ทีมจึงจะสมบูรณ์ อุปนิสัยที่ ๖ นี้ จึงเป็น “การสร้างพลังร่วมของ องค์กร” อุปนิสัยที่ ๗ : การฝึกฝนและ เพิ่มพลังชีวิต (Sharpen the Saw) เป็นการหาเวลาและวิธีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิต ทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการเพิ่ม พลังเพื่อพร้อมที่จะต่อสู้กับชีวิตต่อไป มีวิธีการดังนี้คือ - ออกก�ำลังอย่างสม�่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ - สร้างมโนภาพอยู่ตลอดเวลา และอ่านหนังสือเพื่อเพิ่มพูนความรู้ - มีความเมตตาและเห็นอก เห็นใจผู้อื่น - เข้าใจและรู้จักตนเอง อย่างถ่องแท้และสร้างความสงบ ภายใน วิธีการดังกล่าวจึงเป็นการ สร้างความพร้อมของตนเองโดยกระท�ำ ทั้งการสร้างความพร้อมของร่างกาย จิตใจความรู้สึกและทักษะคือกระท�ำ ทั้งภายในและภายนอกนั่นเอง จากนิสัยแห่งความส�ำเร็จ ทั้ง๗ประการที่กล่าวข้างต้นสามารถ สรุปเป็นใจความสั้น ๆ ได้ว่า Steven Covey ให้ความส�ำคัญในเรื่องการ ฝึกตนการเปิดใจการมีมนุษยสัมพันธ์ โดยใช้จินตนาการ การมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ การมีหลักคุณธรรม ในการด�ำรงชีวิต และการสร้างแผนที่ ชีวิตที่ดีนั่นเอง