SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย
ที่เกี่ยวของในเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ
ของผูบริโภคในเขตอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ
มากยิ่งขึ้น และสามารถนําผลที่ไดจากการวิจัยไปเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ
ในการบริหารจัดการธุรกิจได ซึ่งมีการกําหนดประเด็นในการนําเสนอ ดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล
2. แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยดานสวนประสมทางการตลาด (7Ps)
3. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคและกระบวนการตัดสินใจซื้อของ
ผูบริโภค
4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค
5. แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ
6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล
ศิริวรรณ เสรีรัตน (2539, หนา 41-42) กลาววา ลักษณะดานประชากรศาสตร
ประกอบดวย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว สถานภาพครอบครัว รายได อาชีพ การศึกษา เหลานี้
เปนเกณฑที่นิยมใชในการแบงสวนตลาด ลักษณะดานประชากรศาสตรเปนลักษณะที่สําคัญและ
สถิติที่วัดไดของประชากรทีชวยกําหนดตลาดเปาหมาย ในขณะที่ลักษณะดานจิตวิทยาและสังคม
่
วัฒนธรรมชวยอธิบายถึงความคิดและความรูสึกของกลุมเปาหมายเทานั้น ขอมูลดาน
ประชากรศาสตรจะสามารถเขาถึงและมีประสิทธิผลตอการกําหนดตลาดเปาหมายรวมทั้งงาย
ตอการวัดมากกวาตัวแปรอื่น ตัวแปรดานประชากรศาสตรที่สําคัญมีดังนี้
1. อายุ (Age) เนื่องจากผลิตภัณฑจะสามารตอบสนองความตองการของกลุมผูบริโภค
ที่มีอายุแตกตาง นักการตลาดจึงใชประโยชนจากอายุเปนตัวแปรดานประชากรศึกษาศาสตรที่
แตกตางของสวนตลาด นักการตลาดไดคนหาความตองการของสวนตลาดสวนเล็ก (Niche Market)
โดยมุงความสําคัญที่ตลาดอายุสวนนั้น
8
2. เพศ (Sex) เปนตัวแปรในการแบงสวนตลาดที่สําคัญเชนกัน นักการตลาดควรตอง
ศึกษาตัวแปรตัวนี้อยางรอบคอบ เพราะในปจจุบันนี้ตัวแปรทางดานเพศมีการเปลี่ยนแปลงใน
พฤติกรรมการบริโภค การเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากการที่สตรีทํางานมีมากขึ้น
3. ลักษณะครอบครัว (Marital Status) ในอดีตจนถึงปจจุบันลักษณะครอบครัวเปน
เปาหมายที่สําคัญของการใชความพยายามทางการตลาดมาโดยตลอด และมีความสําคัญยิ่งขึ้นใน
สวนที่เกี่ยวกับหนวยผูบริโภค นักการตลาดจะสนใจจํานวนและลักษณะของบุคคลในครัวเรือนที่ใช
สินคาใดสินคาหนึ่ง และยังสนใจในการพิจารณาลักษณะดานประชากรศาสตร และโครงสรางดาน
สื่อที่จะเกี่ยวของกับผูตัดสินใจในครัวเรือนเพื่อชวยในการพัฒนากลยุทธการตลาดใหเหมาะสม
4. รายได การศึกษา อาชีพ และสถานะภาพ (Income, Education Occupation and Status)
เปนตัวแปรทีสําคัญในการกําหนดสวนของตลาด โดยทั่วไปนักการตลาดจะสนใจผูบริโภคที่มี
่
ความร่ํารวย แตอยางไรก็ตามครอบครัวที่มีรายไดปานกลางและมีรายไดต่ําจะเปนตลาดที่มีขนาด
ใหญ ปญหาสําคัญในการแบงสวนตลาดโดยถือเกณฑรายไดอยางเดียวก็คือ รายไดจะเปนตัวชี้
การมีหรือไมมีความสามารถในการจายสินคา ในขณะเดียวกันการเลือกซึ้งสินคาที่แทจริงอาจถือ
เกณฑรูปแบบการดํารงชีวิต รสนิยม คานิยม อาชีพ การศึกษา ฯลฯ แมวารายไดจะเปนตัวแปรที่ใช

บอยมาก นักการตลาดสวนใหญจะโยงเกณฑรายไดรวมกับตัวแปรดานประชากรศาสตรหรืออื่น ๆ
เพื่อใหการกําหนดตลาดเปาหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เชน กลุมรายไดสูงที่มอายุตาง ๆ ถือวาใชเกณฑ
ี 
รายไดรวมกับเกณฑอายุ เปนเกณฑที่นิยมใชกันมากขึ้น เกณฑรายไดอาจจะเกี่ยวของกับเกณฑอายุ
และอาชีพรวมกัน
Belch and Belch (2005 อางถึงใน อัจฉรา นพวิญูวงศ, 2550) ในงานวิจัยนี้ศึกษาตัวแปร
ดานประชากรศาสตร ไดแก อายุ อาชีพ และรายได โดยนํามาเชื่อโยงกับความตองการ พฤติกรรม
การตัดสินใจ และอัตราการใชสินคาของผูบริโภค ซึ่งสามารถเขาถึงและมีประสิทธิผลตอการ
กําหนดตลาดเปาหมาย สงผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่มีแนวโนมสัมพันธกันอยางใกลชิด
ในความสัมพันธเชิงเหตุและผล
1. อายุ (Age) บุคคลที่มีอายุแตกตางกัน จะมีความตองการในสินคาและบริการที่แตกตาง
กัน เชน กลุมวันรุนจะชอบทดลองสิ่งแปลกใหมและชอบสินคาประเภทแฟชั่น สวนกลุมผูสูงอายุจะ
สนใจสินคาที่เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ ซึ่งหากแบงชวงกลุมอายุออกเปนกลุมพฤติกรรมที่มีลักษณะ
ใกลเคียงกัน สามารถแบงอกเปนกลุม ๆ ไดดังนี้
1.1 กลุมวัยกลางคนจนถึงกลุมผูสูงอายุ คือผูที่มีอายุตั้งแต 45 ปขึ้นไป โดยกลุมนี้ใน
ปจจุบันจะมีพฤติกรรมในการตัดสินใจบริโภคสินคาและบริการจากยุคที่ผานมา กลาวคือจะมีอานาจ
ํ
ตัดสินใจในการบริโภคมากกวาเมื่อกอนเนื่องจากมีรายได และมีการวางแผนการลงทุนที่ดี
9
มีความทันสมัยและรับฟงขาวสารอยูสม่ําเสมอ กลุมวัยกลางคนและผูสูงอายุมีแนวโนมจะตัดสินใจ
ซื้อสินคาและบริการจากประสบการณ และความเชื่อมั่นในตนเองมากกวาการเชื่อขอมูลจาก
ภายนอก เชน การโฆษณา การสงเสริมการขาย และสวนใหญอิทธิพลของคนในครอบครับจะมีผล
ตอการตัดสินใจซื้อของคนกลุมนี้ต่ํา กลาวคือกลุมวัยกลางคนและกลุมผูสูงอายุมีแนวโนมจะ
ตัดสินใจซื้อสินคาที่รูจักและตรายี่หอที่คุนเคยมากกวาจะยอมรับสิ่งใหม นอกจากนี้ยังพบวากลุมนี้
ยังมีความออนไหวเรื่องราคานอย โดยยินดีจายแพงขึ้นสําหรับสินคาและบริการที่ดีขึ้น
1.2 กลุมหนุมสาวถึงวัยกลางคน คือผูที่มีอายุระหวาง 20-45 ป คนกลุมนี้มีเหตุผลใน
การจับจายใชสอยมากขึ้น ไมคอยยึดติดกับตราสินคาทีหรูหรือมีราคาแพง โดยมีพฤติกรรมที่
่
นาสนใจคือ เลือกตามยี่หอของตัวเอง คนกลุมนี้มองสินคาตรายี่หอที่ถูกลงกวาตรายี่หอหรูที่นิยมใช
ในกลุมคนมีเงิน สวนหนึ่งอาจเปนเพราะอํานาจซื้อไมเพียงพอ แตสิ่งที่คนกลุมนี้แสดงออกมาไมได
อยูในลักษณะที่มีปมดอยแตพยายามสรางแนวโนมของกลุมตนเองวาตรายี่หอที่เลือก เปนตัวแทน
ของความทันสมัย และสรางความรูสึกเชิงลบกับตรายี่หอหรูๆวาเปนเรื่องไรสาระของคนรวย
1.3 กลุมวัยรุน คือผูที่มีอายุระหวาง 13-22 ป คนกลุมนี้คอยขางมีอํานาจในการ
ตัดสินใจซื้อสูง และใชเวลาในการตัดสินใจซื้อสั้น ไมคอยรอบคอบในการซื้อ เพราะรายไดทั้งหมด
สวนใหญมาจากผูปกครอง วัยรุนมักมีพฤติกรรมรวมตัวกันเปนกลุม โดยสมาชิกในกลุมจะมี
อิทธิพลตอกันและกันในการสรางคานิยมและรูปแบบแนวคิดใหม เชน การแตงตัว สถานที่
ทองเที่ยว รวมถึงชนิดและตรายี่หอของสินคาที่จะซื้อ โดยดาราวัยรุนที่ชื่อชอบทั้งดาราไทย และ
ดาราตางประเทศ ลวนมีอิทธิพลทางออมตอการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินคา
2. เพศ (Sex) เปนตัวแปรที่มีความสําคัญในเรื่องของพฤติกรรมในการบริโภคมาก เพราะ
เพศที่แตกตางกันมักมีทัศนคติ การรับรู และการตัดสินใจในเรื่องการเลือกสินคาที่บริโภคแตกตาง
โดยมากเกิดจากสาเหตุ ในเรื่องของการไดรับการเลี้ยงดู การปลูกฝงนิสัยมาตั้งแตในวัยเด็ก
โดยเฉพาะประเทศไทยซึ่งมีวัฒนธรรมในการเลี้ยงดูเด็กผูชาย และเด็กผูหญิงที่แตกตางกันอยางมาก
โดยสวนใหญเด็กผูชายจะถูกเลี้ยงใหมีความกลาแสดงออก และมีความรับผิดชอบเพื่อจะไดเปน
หัวหนาครอบครัวตอไป สวนเด็กผูหญิงจะถูกเลี้ยงดูในลักษณะที่ใหสงบเสงี่ยมและเปนผูตามหรือ
เปนภรรยาที่ดี ทําใหมีพฤติกรรมที่มีแนวโนมในการไมคอยกลาแสดงความคิดเห็น จากที่กลาวมา
จึงอาจกลาวไดวาในสังคมไทยเพศชายมีแนวโนมที่จะเปนผูตัดสินใจซื้อสินคาและบริการของ
ครอบครัวมากกวาเพศหญิง โดยเฉพาะสินคาที่เปนเครื่องใชไฟฟาและใชเทคโนโลยีสูง ถึงแมวา

ในปจจุบันอาจมีการเปลี่ยนแปลงในดานสังคมและวัฒนธรรมไปบางแตก็ยังมีความแตกตางใน
พฤติกรรมการซื้อของเพศชายและเพศหญิงอยูไมนอย
10
3. สถานภาพการสมรส (Status) สมรส โสด หยาราง หรือเปนหมาย ซึ่งในอดีตถึง
ปจจุบันเปนเปาหมายที่สําคัญของการใชความพยายามทางการตลาดมาโดยตลอด และมีความสําคัญ
มากยิ่งขึ้นในสวนที่เกี่ยวกับหนวยผูบริโภค ทําใหเกิดความตองการในผลิตภัณฑ และพฤติกรรม
การซื้อที่แตกตางกัน เชนผูที่หยาราง หรือเปนหมาย จะเลือกแตงการดวยเสื้อผาที่หรูหรา ทันสมัย
มีเอกลักษณ
4. การศึกษา (Education) ผูที่มีการศึกษาสูง มีแนวโนมที่จะเลือกบริโภคผลิตภัณฑที่มี
คุณภาพดีมากกวาผูที่มีการศึกษาต่า เนื่องจากผูที่มีการศึกษาสูง จะมีอาชีพที่สามารถสรางรายได
ํ
สูงกวาผูที่มีการศึกษาต่า จึงมีแนวโนมที่จะเลือกบริโภคผลิตภัณฑที่มีคุณภาพมากกวา
ํ
5. อาชีพ (Occupation) อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปนและความตองการ
สินคาและบริการที่แตกตางกัน เชน เกษตรกร หรือชาวนาก็จะซื้อสินคาที่จาเปนตอการครองชีพ
ํ
และสินคาที่เปนปจจัยการผลิตเปนสวนใหญ สวนพนักงานที่ทํางานในบริษัทตาง ๆ สวนใหญจะซื้อ
สินคาเพื่อเสริมสรางบุคลิกภาพ ขาราชการก็จะซื้อสินคาที่จาเปน นักธุรกิจก็จะซื้อสินคาเพื่อสราง
ํ
ภาพพจนใหกับตัวเอง เปนตน นักการตลาดจะตองศึกษาวาสินคาและบริการของบริษัทเปนที่
ตองการของกลุมอาชีพประเภทใด เพื่อที่จะจัดเตรียมสินคาใหสอดคลองกับความตองการของ
กลุมเหลานี้ไดอยางเหมาะสม
6. รายได (Income) หรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Circumsfances) สถานภาพ
ทางเศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอตราสินคา และบริการที่เคาตัดสินใจ สถานภาพเหลานี้
ประกอบดวย รายได การออมทรัพย อํานาจการซื้อ และทัศนคติเกี่ยวกับการจายเงิน นักการตลาด
ตองสนใจแนวโนมของรายไดสวนบุคคล เนื่องจากรายไดจะมีผลตออํานาจของการซื้อ คนที่มี
รายไดต่ําจะมุงซื้อสินคาที่จําเปนตอการครองชีพ และมีความไวตอราคามาก สวนคนที่มีรายไดสูง

จะมุงซื้อสินคาที่มีคุณภาพดีและราคาสูงโดยเนนที่ภาพพจนของราคาสินคาเปนหลัก
การศึกษา อาชีพ และรายไดนั้นมีแนวโนมสัมพันธกันอยางใกลชิดในความสัมพันธเชิง
เหตุและผล เชนบุคคลที่มีการศึกษาสูงจะมีโอกาสเลือกอาชีพที่สามารถสรางรายไดสูงกวาคนที่มี
การศึกษาต่ากวา
ํ

แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยดานสวนประสมทางการตลาด (7Ps)
สวนประสมทางการตลาด หมายถึง ตัวแปรทางการตลาดที่สามารถควบคุมได ซึ่งบริษัท
นํามาใชรวมกันเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกคากลุมเปาหมาย (Kotler, 1997, p. 92)
สวนประสมทางการตลาด (The Marketing Mix) เปนแนวคิดที่สําคัญอยางทางการตลาด
11
สมัยใหม ซึ่งแนวความคิดเรื่องสวนผสมทางการตลาดนี้ มีบทบาทสําคัญทางการตลาด เพราะเปน
การรวมการตัดสินใจทางการตลาดทั้งหมด เพื่อนํามาใชในการดําเนินงาน เพื่อใหธุรกิจสอดคลอง
กับความตองการของตลาดเปาหมาย เราเรียกสวนผสมทางการตลาดวา 7 Ps ซึ่งองคประกอบทั้ง
7 กลุมนี้ จะทําหนาที่รวมกันในการสื่อขาวสาร ทางการตลาดใหแกผูรับสารอยางมีประสิทธิภาพ
ศิริวรรณ เสรีรัตน, ปริญ ลักษิตานนท และศุภร เสรีรัตน (2541, หนา 337-339) ไดสรุป
เกี่ยวกับแนวความคิดกลยุทธการตลาดสําหรับธุรกิจการบริการ (Market Mix) ไวในหนังสือ
การบริหารการตลาดยุคใหมวาขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ (Buying Decision Process) เปนลําดับ

ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคพบวา ผูบริโภคผานกระบวนการ 7 ขั้นตอน คือธุรกิจที่
ใหบริการจะใชสวนประสมการตลาด (Marketing Mix) หรือ 7Ps ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. ผลิตภัณฑ (Product) เปนสิ่งซึ่งสนองความจําเปนและความตองการของมนุษยได คือ
สิ่งที่ผูขายตองมอบใหแกลูกคาและลูกคาจะไดรับผลประโยชนและคุณคาของผลิตภัณฑนั้น ๆ
โดยทั่วไปแลวผลิตภัณฑแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือผลิตภัณฑที่อาจเปนสิ่งซึ่งจับตองไดและ
ผลิตภัณฑที่จับตองไมได ในดานการบริการดานสินเชื่อนั้นถือวาเปนผลิตภัณฑที่จับตองไมได
เนื่องจากเปนผลิตภัณฑที่อยูในรูปของบริการ (Service Product) การที่จะสรางความมั่นใจ และ
ทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจในการใชบริการนั้นธุรกิจจะตองสรางและนําเสนอสิ่งที่เปนรูปธรรม
เพื่อเปนสัญลักษณแทนการบริการที่ไมสามารถจับตองได
2. ราคา (Price) หมายถึง คุณคาผลิตภัณฑในรูปของตัวเงิน ราคาเปนตนทุนของ (Cost)
ของลูกคา ลูกคาจะเปรียบเทียบระหวางคุณคา (Value) ผลิตภัณฑกับราคา (Price) ผลิตภัณฑนั้น
ถาคุณคาสูงกวาราคา เขาจะตัดสินใจซื้อ ดังนั้น การกําหนดกลยุทธดานราคาตองคํานึงถึงคุณคา
ซึ่งเปนสิ่งที่กําหนดมูลคา ในการแลกเปลี่ยนสินคาหรือบริการในรูปของเงินตราเปนสวนที่เกี่ยวกับ
วิธีการกําหนดราคานโยบายและกลยุทธตาง ๆ ในการกําหนดราคาตองคํานึงถึงคุณคาที่รับรู
(Perceived Value) ในสายตาของลูกคา ซึ่งตองพิจารณาวาการยอมรับของลูกคาในคุณคาของ
ผลิตภัณฑวาสูงกวาราคาผลิตภัณฑนั้น ตนทุนสินคาและคาใชจายที่เกี่ยวของ การแขงขันและ


ปจจัยอื่น ๆ
3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place) ดานสถานที่ใหบริการในสวนแรก คือ การเลือกทําเล
ที่ตั้ง (Location) ของธุรกิจบริการมีความสําคัญมาก โดยเฉพาะธุรกิจบริการที่ผูบริโภคตองไปรับ
บริการจากผูใหบริการในสถานที่ที่ผูใหบริการจัดไว เพราะทําเลที่ตั้งที่เลือกเปนตัวกําหนดกลุม
ผูบริโภคที่จะเขามาใหบริการ ดังนั้นสถานที่ใหบริการตองสามารถครอบคลุมพื้นที่ในการใหบริการ
กลุมเปาหมายไดมากที่สุด และคํานึงถึงทําเลที่ตั้งของคูแขงขันดวย โดยความสําคัญของทําเลที่ตั้งจะ
12
มีความสําคัญมากนอยแตกตางกันไปตามลักษณะเฉพาะของธุรกิจบริการแตละประเภทในสวนของ
ชองทางการจัดจําหนาย (Channels) การกําหนดชองทางการจัดจําหนายตองคํานึงองคประกอบ
3 สวน ไดแก ลักษณะของการบริการ ความจําเปนในการใชคนกลางในการจําหนาย และลูกคา
เปาหมายของธุรกิจบริการนั้น
4. การสงเสริมทางการตลาด (Promotion) เปนเครื่องมือหนึ่งที่มีความสําคัญในการ
ติดตอสื่อสารเกี่ยวกับขอมูลระหวางผูขายและผูใหบริการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแจงขาวสาร หรือ
ชักจูงใหเกิดทัศนคติ และพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใชบริการ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม
กับลูกคา โดยเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารการตลาดบริการในการสงเสริมทางการตลาดอาจทําได
4 แบบดวยกัน ซึ่งเรียกวา สวนผสมการสงเสริมการตลาด (Promotion Mix) หรือสวนประสมใน
การติดตอสื่อสาร (Communication Mix) ประกอบไปดวย
4.1 การโฆษณา (Advertising) เปนการติดตอสื่อสารแบบไมใชบุคคล โดยผานสื่อ
ตาง ๆ และผูอุปถัมภรายการตองเสียคาใชจายในการโฆษณาที่ผานสื่อ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ

โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาในโรงภาพยนตร ฯลฯ
4.2 การขายโดยใชพนักงาน (Personal Selling) เปนการติดตอสื่อสารทางตรงแบบ
เผชิญหนาระหวางผูขายและลูกคาที่มีอานาจซื้อ ซึ่งเปนการขายโดยใชพนักงานขาย
ํ
4.3 การสงเสริมการขาย (Sales Promotion) เปนเครื่องมือหรือกิจกรรมทาง
การตลาดที่กระทําการอยางตอเนื่อง นอกเหนือจากการขายโดยใชพนักงาน การโฆษณาและ
การประชาสัมพันธที่ชวยกระตุนความสนใจในการใชบริการของลูกคา
4.4 การประชาสัมพันธ (Publicity and Public Relation) เปนแผนงานการนําเสนอ
อยางตอเนื่องเพื่อชักจูงกลุมสาธารณะใหเกิดความคิดเห็นหรือทัศนคติที่ดีตอองคกรตลอดจนสราง
ภาพลักษณและความเขาใจอันดีระหวางธุรกิจกับลูกคากลุมใดกลุมหนึ่ง
5. บุคคล (People) หรือ พนักงาน (Employee) หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่รับผิดชอบใน
การติดตอแสวงหาลูกคา การเสนอขาย เพื่อกระตุนใหลูกคาเกิดความตั้งใจและตัดสินใจซื้อ
6. สรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) โดย
พยายามสรางคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) หรือตองแสดงใหเห็นคุณภาพ
ของบริการโดยผานการใชหลักฐานที่มองเห็นได เชน ธุรกิจโรงภาพยนตรตองพัฒนาลักษณะทาง
กายภาพและรูปแบบการใหบริการเพื่อสรางคุณคาใหกับลูกคา (Customer-value Proposition)
ไมวาจะเปนดานความสะอาด ความรวดเร็วในการจําหนายตั๋ว หรือคุณประโยชนอื่น
13
7. กระบวนการ (Process) เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับระเบียบ วิธีการ และงานที่ปฏิบัติ
ในดานการบริการ ที่นําเสนอกับลูกคาเพื่อมอบการใหบริการอยางถูกตอง รวดเร็ว และทําใหลูกคา
เกิดความประทับใจ

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคและกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค
แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค

ศุภร เสรีรัตน (2540, หนา 5) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การกระทําตาง ๆ ที่
เกี่ยวของโดยตรงกับการจัดหาให ไดมาซึ่งการบริโภค และการจับจายใชสอยซึ่งสินคาและบริการ
รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจที่เกิดขึ้นทั้งกอนและหลังการกระทําดังกลาวดวย
Schiffman and Kanuk (1987 อางถึงใน ศุภร เสรีรัตน, 2540) กลาววา พฤติกรรมของ
ผูบริโภค เปนพฤติกรรมที่ผูบริโภคแสดงออกไมวาจะเปนการเสาะหา ซื้อ ใช ประเมิน หรือการบริโภค

ผลิตภัณฑบริการ และแนวความคิดตางๆ ซึ่งผูบริโภคคาดวาจะสามารถตอบสนองความตองการของ
ตนไดเปนการศึกษาการตัดสินใจของผูบริโภคในการใชทรัพยากรที่มีอยูทั้งเงิน เวลา และกําลัง
เพื่อบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ อันประกอบดวยคําถาม เชนวา ซื้ออะไร ทําไมจึงซื้อ ซื้อเมื่อไร
อยางไร ที่ไหน และบอยแคไหน
ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541, หนา 107-121) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง
พฤติกรรมซึ่งผูบริโภคทําการคนหา การซื้อ การใชการประเมินผล การใชสอยผลิตภัณฑและบริการ
ซึ่งคาดวาจะสนองความตองการของเขาหรือการศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจ และการกระทําของ
คนที่เกี่ยวของกับการซื้อและการใชสินคาการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค เปนการคนหาหรือวิจัย
เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เพื่อทราบถึงลักษณะความตองการและ

พฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภคไดอยางเหมาะสม
ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory)
Maslow (1954) ไดเสนอแนวความคิดของการลําดับขั้นความตองการ (Hierarchy of
Need) โดยมีความเชื่อมั่นวาความตองการของมนุษยมีลําดับขั้นตอนที่แนนอน ซึ่งบุคคล
มีความปรารถนาที่สูงสุดคือ การที่จะรูจักตนเองที่แทจริง แตการที่มนุษยจะเกิดความตองการ
ในแตละขั้นนั้น จําเปนอยางยิ่งที่บุคคลจะตองไดรับการสนองตอบตามความตองการในระดับที่
ต่ํากวาเสียกอนจึงจะเกิดความตองการในระดับขั้นที่สูงขึ้นไปได ซึ่งความพอใจในการสนองตอบ
ความตองการนั้นไมไดหมายความวาจะตองเกิดความพึงพอใจทั้งหมดเพียงแตวาขอใหไดรับ

ความพึงพอใจในบางสวนก็จะสามารถที่จะใฝหาความตองการในระดับที่สูงกวาไดตอไปอีก
14
มาสโลวยังเชือวามนุษยสวนใหญ ยังไมสามารถบรรลุความตองการในระดับความตองการที่จะรูจัก
่

ตนเองที่แทจริงได (Maslow, 1954, pp. 80-84)
1. ความตองการทางรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการขันพื้นฐาน
้
ของมนุษยเพื่อความอยูรอด เชน อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค อากาศ น้ําดื่ม
การพักผอน เปนตน
2. ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง (Security or Safety Needs) เมื่อมนุษย
สามารถตอบสนองความตองการทางรางกายไดแลว มนุษยก็จะเพิ่มความตองการในระดับที่สูงขึ้น
ตอไป เชน ความตองการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ความตองการความมั่นคงในชีวิต
และหนาที่การงาน
3. ความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ (ความตองการทางสังคม) (Affiliation or
Acceptance Needs) เปนความตองการเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่งเปนธรรมชาติอยางหนึ่งของ
มนุษย เชน ความตองการใหและไดรับซึ่งความรัก ความตองการเปนสวนหนึ่งของหมูคณะ
ความตองการไดรับการยอมรับ การตองการไดรับความชื่นชมจากผูอื่น เปนตน
4. ความตองการการยกยอง (Esteem Needs) หรือ ความภาคภูมิใจในตนเอง
เปนความตองการการไดรับการยกยอง นับถือ และสถานะจากสังคม เชน ความตองการไดรับ
ความเคารพนับถือ ความตองการมีความรูความสามารถ เปนตน

5. ความตองการความสําเร็จในชีวิต (Self- actualization) เปนความตองการสูงสุดของ
แตละบุคคล เชน ความตองการที่จะทําทุกสิ่งทุกอยางไดสําเร็จ ความตองการทําทุกอยางเพื่อ
ตอบสนองความตองการของตนเอง เปนตน
จากทฤษฎีลาดับขั้นความตองการของ Maslow (1954) สามารถแบงความตองการออกได
ํ
เปน 2 ระดับ คือ
1. ความตองการในระดับต่ํา (Lower Order Needs) ประกอบดวยความตองการทาง
รางกาย ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง และความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ
2. ความตองการในระดับสูง (Higher Order Needs) ประกอบดวย ความตองการ
การยกยองและความตองการความสําเร็จในชีวิต
ทฤษฎีเกี่ยวกับการคนหาพฤติกรรมของผูบริโภค คือ 6 Ws และ 1 H

การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Consumer Behavior) เปนการคนหาหรือ
วิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เพื่อทราบถึงลักษณะความตองการและ
พฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค ในการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคจะอาศัยคําถาม 6 Ws
และ 1 H ซึ่งประกอบดวย Who, What, Why, When, Where และ How เพื่อคนหาลักษณะที่เกี่ยวกับ
15
พฤติกรรมผูบริโภค 7 ประการ หรือ 7 O’s ซึ่งประกอบดวย Occupants, Objects, Objectives,
Organization, Occasions, Outlet และ Operations (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2541, หนา 126)
โดยมีการกําหนดคําถามดังนี้
1. ใครอยูในตลาดเปาหมาย (Who is in the target market?) เปนคําถามเพื่อทราบถึง
ลักษณะของกลุมเปาหมาย (Occupants) ทางดานประชากรศาสตร ภูมิศาสตร จิตวิทยา พฤติกรรม
ศาสตร
2. ทําไมผูบริโภคจึงซื้อ (Why does the consumer buy?) เปนคําถามถึงสิ่งที่ผูบริโภค
ตองการซื้อ (Objects) สิ่งที่ผูบริโภคตองการจากผลิตภัณฑ ซึ่งก็คือ ตองการคุณสมบัติหรือ
องคประกอบของผลิตภัณฑและความแตกตางที่เหนือกวาคูแขงขัน
3. ทําไมผูบริโภคจึงซื้ออะไร (Why does the consumer buying?) เปนคําถามเพื่อทราบ
วัตถุประสงคที่ผูบริโภคซื้อสินคา (Objectives) ผานระบบชองทางการจัดจําหนายใด ๆ เพื่อ
ตอบสนองความตองการทางดานรางกายและทางดานจิตวิทยา ซึ่งตองศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพล
ตอพฤติกรรมการซื้อ คือ ปจจัยภายนอก ปจจัยทางสังคม และวัฒนธรรม ปจจัยเฉพาะบุคคล
4. ใครมีสวนรวมในการตัดสินใจซื้อบาง (Who participants in the buying?) เปนคําถาม
เพื่อทราบถึงบทบาทของกลุมตาง ๆ (Organizations) ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อ ซึ่ง
ประกอบดวยผูริเริ่มในการที่จะซื้อ ผูมีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ผูตัดสินใจซื้อ ผูซื้อและผูใช
5. ผูบริโภคซื้อเมื่อใด (When the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อตองการทราบถึง
โอกาสในการซื้อ (Occasions) เชน ชวงเดือนใดของปหรือชวงฤดูกาลใดของป ชวงวันใดของเดือน
ชวงเวลาใดของวัน โอกาสพิเศษตาง ๆ เปนตน
6. ผูบริโภคซื้อที่ไหน (Where does the consumer buy?) เปนคําถามเพือตองการทราบถึง
่
ชองทางหรือแหลง (Outlet) ที่ผูบริโภคไปทําการซื้อ เชน หางสรรพสินคา ซุปเปอรมารเก็ต รานขาย
ของชํา ฯลฯ
7. ผูบริโภคซื้ออยางไร (How does the consumer buy?) เปนคําถามเพือทราบถึงขั้นตอน
่
ในการตัดสินใจซื้อ (Operations) ซึ่งประกอบดวย การรับรูปญหา การคนหาขอมูล การประเมินผล
ทางเลือก การตัดสินใจซื้อ ความรูสึกภายหลังการซื้อ
คําตอบที่ไดมาเหลานี้ จะชวยใหนักการตลาดสามารถกําหนดกลยุทธทางการตลาดที่
สามารถสนองความพึงพอใจของผูบริโภคไดอยางเหมาะสมและประสบความสําเร็จทางดาน
การตลาดไดเปนอยางดี
16
แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค
กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค (Consumer Buying Decision Process) เปนลําดับ
ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค จากการสํารวจรายงานของผูบริโภคจํานวนมากใน
กระบวนการซื้อพบวาผูบริโภคผานกระบวนการ 5 ขั้นตอน คือ (1) การรับรูถึงความตองการหรือ
การรับรูปญหา (2) การคนหาขอมูล (3) การประเมินผลทางเลือกกอนการซื้อ (4) การตัดสินใจซื้อ
(5) พฤติกรรมภายหลังการซื้อ ทั้งนี้ผูบริโภคอาจขามหรือยอนกลับไปเริ่มตนขั้นตอนกอนนี้ก็ได
ซึ่งแสดงใหเห็นวากระบวนการตัดสินใจซื้อเริ่มตนกอนการซื้อจริง ๆ และมีผลกระทบหลังจาก
การซื้อ โดยมีรายละเอียดในแตละขั้นตอนดังนี้ (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2546)
1. การรับรูถึงความตองการ (Need Recognition) หรือ การรับรูปญหา (Problem
Recognition) เปนขั้นตอนแรกของกระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลระลึกถึง
ความแตกตางระหวางสิ่งที่เขามีอยูกับสิ่งที่เขาตองการ (Kerin, Hartley, & Rudelius, 2004, p. 100)
ซึ่งเกิดจาก (1) ตัวแปรภายใน หรือปจจัยดานจิตวิทยาประกอบดวย ความตองการและการจูงใจ
บุคลิกภาพและแนวความคิดสวนตัว การรับรู การเรียนรู และทัศนคติ (2) ตัวแปรภายนอก หรือ
ปจจัยสิ่งแวดลอมดานสังคมวัฒนธรรม ประกอบดวย กลุมอางอิง ครอบครัว ชั้นทางสังคม
วัฒนธรรมและวัฒนธรรมยอย ปจจัยเหลานี้จะสงผลตอการกําหนดความตองการของแตละบุคคล
2. การคนหาขอมูล (Search for Information) หรือการคนหาขอมูลกอนการซื้อ
(Prepurchase Search) เมื่อบุคคลไดรับรูถึงความตองการแลว เขาจะคนหาวิธีการที่จะทําให
ความตองการดังกลาวไดรับการตอบสนอง ซึ่งผูบริโภคสามารถคนหาขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือ
บริการที่สามารถตอบสนองความตองการได 2 ทางคือ
2.1 การคนหาขอมูลจากภายใน (Internal Search) โดยทบทวนความทรงจําในอดีต
เกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือตราสินคาที่ตนเองเคยซื้อ
2.2 การคนหาขอมูลจากภายนอก (External Search) ซึ่งสามารถคนหาไดจาก 5 แหลง
ดังนี้
2.2.1 แหลงบุคคล (Personal Sources) ไดแก ครอบครัว เพื่อน เปนตน
2.2.2 แหลงการคา (Commercial Sources) หรือแหลงขอมูลที่จัดโดยนักการตลาด
(Marketer-dominated Sources) ไดแก สื่อการโฆษณา พนักงานขาย เปนตน
2.2.3 แหลงชุมชน (Public Sources) ไดแก สื่อมวลชน องคกรคุมครองผูบริโภค
เปนตน
2.2.4 แหลงประสบการณ (Experiential Sources) ไดแก การควบคุม
การตรวจสอบการใชสินคา เปนตน
17
2.2.5 แหลงทดลอง (Experimental Sources) ไดแก หนวยงานที่สํารวจคุณภาพ
ผลิตภัณฑหรือหนวยวิจัยภาวะตลาดของผลิตภัณฑ ประสบการณตรงของผูบริโภคในกรทดลองใช
ผลิตภัณฑ เปนตน
สินคาและบริการที่มีความสลับซับซอนในการตัดสินใจซื้อต่ํา ผูซื้ออาจใชการคนหา
ขอมูลจากภายในโดยการเลือกตราสินคาที่ตนเองรูจักหรือเคยใชมากอน ดังนั้นนักการตลาด
จึงควรใหความสําคัญในการสรางตราสินคาใหเปนที่รูจก
ั
สวนสินคาและบริการที่ตองใชความสลับซับซอนในการตัดสินใจซื้อสูง
นักการตลาดตองใชความพยายามในการขายและสงเสริมการตลาด เพื่อกระตุนใหบุคคล
มีการคนหาขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการมากขึ้น
ในขั้นตอนการรับรูถึงความตองการและการคนหาขอมูลเหลานี้ ผูบริโภคจะเกี่ยวของกับ
กระบวนการขอมูล
กระบวนการขอมูล (Information Processing) หมายถึง กระบวนการซึ่งมีการรับรู
Received) ถึงสิ่งกระตุน (Stimulus) การตีความหมาย (Interpreted) การเก็บรักษาในความทรงจํา
(Store in Emory) และการนํากลับมาใชภายหลัง (Retrieved) (Blackwell, Miniard, & Engel, 2006,
p. 77) เมื่อผูบริโภคมีการคนหาขอมูลจากภายนอก ผูบริโภคจะไดรับอิทธิพลจากสิ่งกระตุนโดย
นักการตลาด เชน การโฆษณาผานสื่อตาง ๆ และสิ่งกระตุนโดยกลุมอื่น ๆ ที่ไมใชนักการตลาด เชน
ครอบครัว เพื่อน เปนตน ซึ่งสิ่งกระตุนเหลานี้จะสงผลตอกระบวนการขอมูลของผูบริโภค โดย
รายละเอียดดังนี้
1. การเปดรับขาวสาร (Exposure) หมายถึง การที่บุคคลมีการรับรูจากสิ่งกระตุนโดย
ผานประสาทสัมผัสหนึ่งอยางขึ้นไป ไดแก การไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดลิ้มรส ไดสัมผัส
2. ความตั้งใจ (Attention) เปนขั้นที่ผูรับขาวสารเกิดความตั้งใจที่จะรับฟงขาวสารนั้น
ตอไป ถาขอมูลขาวสารที่ไดเปดรับในขั้นที่หนึ่งนาสนใจ
3. ความเขาใจ (Comprehension) เปนขั้นที่ผูรับขาวสารเกิดความเขาใจในขาวสารที่
เขาไดตั้งใจฟง
4. การยอมรับ (Acceptance) ในขั้นนี้ขาวสารจะมีผลกระทบตอทัศนคติ ความเชื่อ
และความรูสึกขอผูรับขาวสาร เพื่อใหผูรับขาวสารเกิดการยอมรับขาวสารนั้นดวยความเต็มใจ
5. การเก็บรักษา (Retention) เปนการสงขอมูลที่ยอมรับสูความทรงจําระยะยาว
(Blackwell, Miniard, & Engel, 2006, p. 79) โดยผูรับขาวสารสามารถจดจําขาวสารทีไดรับมา
่
3. การประเมินผลทางเลือก (Alternative Evaluation) หลังจากที่ไดคนหาขอมูลแลว
ผูบริโภคตองทําการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ ที่เปนไปไดกอนทําการตัดสินใจ ในขั้นนี้ผูบริโภค
18
ตองกําหนดเกณฑการพิจารณาที่จะใชสาหรับการประเมินผล ซึ่งเกณฑการพิจารณาเปนเรื่องของ
ํ
เหตุผลที่มองเห็น เชน ราคา ความคงทน หรือคุณสมบัติของสินคา เปนตน หรือเปนเรื่องของ
ความพอใจสวนบุคคล เชน ชื่อเสียงของตราสินคา แบบ หรือสี เปนตน จากเกณฑที่กําหนดจะทําให
ผูบริโภคทราบถึงทางเลือกที่เปนไปได ถาทางเลือกที่เปนไปไดมีเพียงทางเลือกเดียว การประเมินผล
ก็ทําไดงาย แตบางครั้งทางเลือกที่เปนไปไดมีหลายทางเลือก ฉะนั้นผูบริโภคจึงตองพิจารณา
ทางเลือกที่กอใหเกิดความพึงพอใจมากที่สุด ดังนั้นนักการตลาดสวนใหญจึงสนใจที่จะศึกษาถึง
เกณฑที่ผูบริโภคใชสาหรับการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ
ํ
เกณฑการประเมินผลมีการกําหนดขึ้นมา และไดรับอิทธิพลจากความแตกตางของแตละ
บุคคล ซึ่งพิจารณาจากปจจัยดานจิตวิทยาและอิทธิพลจากสิ่งแวดลอมดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ง
ปรากฏในรูปของสิ่งจูงใจ (Motives) คานิยม (Value) รูปแบบการดําเนินชีวิต (Lifestyle) และอื่น ๆ
4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) หลังจากการประเมินผลทางเลือกแลว จะเปน
ขั้นตอนที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อ การซื้อโดยทั่วไปเกิดขึ้นในรานคาปลีก แตอยางไรก็ตามอาจเกิดขึ้น
ในบานหรือสํานักงานของลูกคาก็ได
5. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Post-purchase Behaviour) หรือผลลัพธภายหลังการซื้อ
(Postpurchase Outcome) ในขั้นนี้ผูบริโภคจะเปรียบเทียบคุณคาที่ไดรับจริง (Perceived Value)
จากการบริโภคหรือใชผลิตภัณฑกับความคาดหวัง (Expectation) ถาคุณคาไดรับมากกวา
ความคาดหวังผูบริโภคจะเกิดความพึงพอใจ (Satisfied) แตถาคุณคาที่ไดรับจริงต่ํากวา
ความคาดหวังผูบริโภคจะมีการจัดการผลิตภัณฑนั้นหลายวิธี ไดแก กําจัดทิ้ง รีไซเคิล เปนตน

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค
Kotler (1997) กลาววา กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค เปรียบเสมือน “กลองดํา”
เนื่องจากผูผลิตหรือผูขาย ไมสามารถคาดคะเนหรือไมสามารถทราบความตองการของผูบริโภคได
จําตองพยายามคนหากระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากลักษณะของผูซื้อ และ
ลักษณะการตัดสินใจของผูซื้อโดยมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค ไดแก
1. ปจจัยดานวัฒนธรรม เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูซื้อหรือผูบริโภคที่กวางขวางที่สุด
ประกอบดวย
1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน เปนปจจัยที่มีผลตอคนสวนใหญในสังคม และเปนตัวกําหนด
ความตองการและพฤติกรรมพื้นฐานโดยสวนใหญของบุคคลเปนสิ่งที่ปลูกฝงโดยเริ่มจากครอบครัว
โรงเรียน และสังคม ดังนั้นควรใหความสนใจศึกษารายละเอียดของวัฒนธรรมเพื่อที่จะปรับปรุง
สินคา
19
1.2 วัฒนธรรมยอยหรือวัฒนธรรมเฉพาะกลุม เปนปจจัยที่เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมของ
บุคคลบางกลุม ซึ่งเปนวัฒนธรรมที่ไดรับการยอมรับจากสมาชิกในกลุม สําหรับสินคาและบริการ
บางอยางที่เจาะจงกลุมเปาหมายที่มีวัฒนธรรมยอยเปนของกลุมนั้น จําเปนตองศึกษาและทํา
ความเขาใจในวัฒนธรรมยอยนั้นดวย
1.3 ระดับชั้นในสังคม เชน ฐานะ การศึกษา หรืออาชีพ เปนตัวกําหนดพฤติกรรม
การบริโภคของคนในแตละกลุม เพื่อสรางการยอมรับจากระดับชั้นในสังคมนั้น ๆ
2. ปจจัยดานสังคม ประกอบดวย
2.1 กลุมอา งอิ ง ได แ ก กลุ มบุค คลที่มีผ ลต อทั ศ นคติ และพฤติ กรรมของบุ ค คลทั้ ง
ทางตรงและทางออม กลุมที่มีผลโดยตรงเรียกวา Membership Group ซึ่งประกอบดวยกลุมปฐมภูมิ
(Primary Group) เชน ครอบครัว เพื่อน เพื่อนบาน หรือเพื่อนรวมงาน ซึ่งเปนกลุมบุคคล ที่มี
การติดตออยางใกลชิดและไมเปนทางการ และกลุมทุติยภูมิ (Secondary Group) เชน ศาสนา อาชีพ
หรือสหภาพ เปนกลุมที่มีการติดตอกันอยางเปนทางการ แตมิไดมีการติดตอกันเปนประจํา ซึ่งตอง
กําหนดกลุมอางอิงของกลุมลูกคาเปาหมาย หรือบุคคลที่เปนตัวแทนของสินคาและบริการ (Opinion
Leader) ซึ่งเปนบุคคลที่สังคมยอมรับ เพื่อเปนตัวแทนของสินคาและบริการ
2.2 ครอบครัว เปนปจจัยที่มีอิทธิพลอยางมากตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค จึง
จะตองศึกษาถึงบทบาทและความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว พฤติกรรมการบริโภคของบุคคล
ในครอบครัว บุคคลที่มีอํานาจในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือใชบริการในครอบครัว
2.3 บทบาทและสถานะบุคคล จะเกี่ยวของกับหลายกลุม เชน ครอบครัวกลุมอางอิง
องคกร และสถาบันตาง ๆ บุคคลจะมีบทบาทและสถานะที่แตกตางกันในแตละกลุม 20
3. ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย
3.1 อายุ การทีมีอายุแตกตางกันยอมจะมีความตองการสินคาและบริการที่แตกตางกัน
่
การแบงกลุมผูบริโภคตามอายุ เชน กลุมวันรุนมักจะชอบใชจายเงินไปกับสิ่งที่แปลกใหม สินคา

และบริการที่เปนแฟชั่น มากกวาการเก็บเงินออม หรือนําเงินไปฝากธนาคาร
3.2 ขั้นตอนของวงจรชีวิตครอบครัว เปนขั้นตอนการดํารงชีวิตของบุคคลในลักษณะ
ของการมีครอบครัว การดํารงชีวิตในแตละขั้นตอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความตองการทางดาน
ทัศนคติและคานิยมของบุคคลทําใหเกิดความตองการในตัวสินคาและบริการ และพฤติกรรมซื้อ
สินคาหรือใชบริการที่แตกตางกัน เชน เปนโสดและอยูในวัยหนุมสาว คูสมรสหรือบุคคลที่อยูคน
เดียวเนื่องจากการหยาราง ก็จะมีพฤติกรรมการบริโภคที่แตกตางกัน
20
3.3 อาชีพ ซึ่งอาชีพของบุคคลแตละคนจะนําไปสูความจําเปน และความตองการ
สินคาและบริการที่แตกตางกัน จะตองศึกษาวากลุมบุคคลในอาชีพใดใหความสนใจกับสินคาและ
บริการใดมากที่สุด เพื่อจะจัดกิจกรรมทางการตลาดใหตอบสนองความตองการใหเหมาะสม
3.4 รายได หรือโอกาสทางเศรษฐกิจ โอกาสทางเศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอ
สินคาและบริการที่เขาตัดสินใจบริโภค โอกาสเหลานี้ จึงจําเปนตองสนใจแนวโนมของรายได
สวนบุคคล การออม และอัตราดอกเบี้ย ถาภาวะเศรษฐกิจตกต่ําคนมีรายไดต่ํา กิจการตองปรับปรุง
สินคาและบริการ การจัดจําหนาย การตั้งราคา ลดการผลิตและสินคาคงคลัง รวมไปถึงวิธีการตาง ๆ
เพื่อปองกันการขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน
3.5 การศึกษา ผูที่มีการศึกษาสูง มีแนวโนมจะบริโภคสินคาและบริการที่มีคุณภาพดี
มากกวาผูที่มีการศึกษาต่า
ํ
3.6 รูปแบบการดํารงชีวิต โดยการแสดงออกในรูปของ AIOs คือ กิจกรรม (Activity)
ความสนใจ (Interest) ความคิดเห็น (Opinions) รูปแบบการดํารงชีวิตขึนอยูกับวัฒนธรรม ชั้นของ
้
สังคม และกลุมอาชีพของแตละบุคคล ทางการตลาดเชื่อวาการเลือกบริโภคสินคาและบริการของ
บุคคลขึ้นอยูกับรูปแบบการดํารงชีวิต
4. ปจจัยดานจิตวิทยา การเลือกบริโภคของบุคคลไดรับอิทธิพลจากปจจัยดานจิตวิทยา
ถือวาเปนปจจัยภายในของผูบริโภคที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคสินคาและการใชบริการ
ประกอบดวย
4.1 การจูงใจ เปนสิ่งที่เกิดภายในตัวบุคคล แตอาจจะถูกระทบจากปจจัยภายนอก เชน
สิ่งกระตุนที่ทางการตลาดใชเปนเครื่องมือทางการตลาด เพื่อกระตุนใหเกิดความตองการ
4.2 การรับรู เปนกระบวนการของแตละบุคคลซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยภายใน เชน
ความเชื่อ ประสบการณ ความตองการ และอารมณ สวนปจจัยภายนอกคือ สิ่งกระตุนการรับรูของ
ประสาทสัมผัสทั้งหา
4.3 การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือความโนมเอียงของพฤติกรรมจาก
ประสบการณที่ผานมา การตลาดจึงไดมีการประยุกตแนวความคิดนี้ ดวยการโฆษณาซ้ําแลวซ้าอีก
ํ
หรือจัดการสงเสริมการขาย เพื่อทําใหการตัดสินใจซื้อสินคาและใชบริการเปนประจํา สิ่งกระตุนที่
จะมีอิทธิพลที่ทําใหเกิดการเรียนรูไดตองมีคุณคาในสายตาของผูบริโภค
4.4 ความเชื่อและทัศนคติ เปนความคิดที่บุคคลยึดถือเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปน
ผลมาจากประสบการณในอดีต ซึ่งบางความเชื่อเปนความเชื่อในดานลบ จึงจองมีการรณรงค
เพื่อแกไขความเชื่อที่ผิดนั้น
21
4.5 บุคลิกภาพ เปนความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปนสิ่งที่มีอิทธิพล

ตอความเชื่อ ซึ่งมีทางเลือกอยู 2 ทางเลือก ทางเลือกที่ 1 คือสรางทัศนคติของผูบริโภคใหสอดคลอง
กับสินคาและบริการของกิจการ หรือพิจารณาวาทัศนคติของผูบริโภคเปนอยางไรแลวจึงพัฒนา
สินคาและบริการใหสอดคลองกับทัศนคติของผูบริโภค ซึ่งวิธีหลังนี้จะทําไดงายกวาสําหรับ
การสรางทัศนคตินั้น ตองยึดหลักองคประกอบของการเกิดทัศนคติซึ่งมี 3 สวน ไดแก สวนของ
ความเขาใจ สวนของความรูสึก และสวนของพฤติกรรม

4.6 แนวความคิดของตนเอง หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเอง หรือ
ความคิดที่บุคคลอื่นมีความคิดเห็นตอตน

แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ
Detox ยอมาจาก คําวา Detoxification หมายถึง กระบวนการในการลางสารพิษ (Toxin)
ออกจากรางกายดวยวิธีการตาง ๆ 90% ของโรคเกิดจากการสะสมพิษในลําไสใหญ นักวิทยาศาสตร
คนพบวา การสะสมพิษ เชน อุจจาระตกคาง ตะกรัน (Chronic Dunk) ที่ลําไสใหญ หรือ อาการ
ทองผูก เปนสาเหตุหลักที่ทําใหรางกายเราออนแอและเกิดโรคตาง ๆ ตามมาไดงายเนื่องจากลําไส
เปนอวัยวะที่รางกายเราไมสามารถมองเห็นได จึงถูกละเลยในการดูแลโรคที่เกิดจากการสะสมพิษ

ในลําไสใหญ เชน เบาหวาน ความดัน คลอเรสเตอรอล เสนเลือดในสมองแตก หลอดเลือดตีบตัน
หัวใจ หลอดเลือดในหัวใจตีบ ไมเกรน ปวดหัว อัมพาต มะเร็ง ผิวหนัง ภูมิแพ ภูมิเพี้ยน (SLE)
เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ สิวเสี้ยน สิวอักเสบ ฝา กระ ผิวหยาบกราน กลิ่นกาย กลิ่นปาก ปวดหลัง
ปวดคอ ปวดขอ ทองอืด ทองเฟอ โรคกระเพาะ ลําไสอักเสบ ริดสีดวง พุงโต น้ําหนักเกิน ฯลฯ
วิธีการดีทอกซดวยการสวน แบงเปน 2 วิธี คือ
1. ดีทอกซแบบลางลําไสระดับลาง เปนการสวนลางลําไสในชวงระยะ 30 เซนติเมตร
สุดทายของลําไส ดวยกาแฟหรือน้ําสมุนไพร ใชน้ําประมาณ 5 ลิตร
2. ดีทอกซแบบลางลําไสสวนบน ดวยน้ําเกลือแรหรือสมุนไพร ใชน้ําประมาณ
2 ลิตร การทําดีทอกซแบบลางลําไสสวนบนนั้น จะใชเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัยและ
มีประสิทธิภาพที่เรียกวา เครื่องลางลําไส (COLONIC) ในการดีทอกซแตละครั้งจะเสียคาใชจาย

ประมาณ 700-1,000 บาท
ปจจุบันทางการแพทยคนพบวิธีการ ลางลําไสดวยวิธีการทานอาหารที่เรียกวา Fiber คือ
ใยอาหารมีสวนประกอบที่มาจากคารโบไฮเดรท แตเปนสวนที่รางกายยอยสลายไมไดและจะไมถูก

ดูดซึมเขาสูรางกาย ประเภทของอาหารทีใหใยอาหารสูงแกรางกาย Fiber เปนอาหารที่ไมมี
่
22
แคลเลอรี่จึงเหมาะสําหรับผูที่ตองการลดน้ําหนักแบบธรรมชาติ ใยอาหารนี้เอง ไมเพียงแตจะ
สามารถเปลี่ยนชีวิตของผูที่จะลดน้ําหนักตัวเทานั้น แตใยอาหารสามารถเปลี่ยนชีวิตของทุก ๆ คน
ใหมีสุขภาพที่ดีดวย (สุพจน สัมฤทธิ์สณิชชา, 2546)
ปจจุบันมีการลางสารพิษไดโดยไมตองสวนทวาร เปนรูปแบบในการรับประทาน
ผลิตภัณฑเสริมอาหารแทน ซึ่งมีออกมาจําหนายในรูปแบบตางๆ มีทั้งรูปแบบผง อัดเม็ด หรือทํา
ออกมาในรูปของชา กาแฟฯลฯ ซึ่งมีคุณสมบัติสามารถขับพิษออกจากรางกายได ซึ่งวิธีการ
รับประทานผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ ซึ่งเปนวิธีที่งายและสะดวก และไดผลดี ทํา
ใหไมตองทนกับความเจ็บปวด

งานวิจัยที่เกี่ยวของ
เนรัญชรา ณ ฝน (2546) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสริมเพื่อสุขภาพของ
สตรีวัยทํางานในเขตเทศบาลเมืองเชียงราย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภค
และปจจัยที่มอิทธิพลตอการบริโภคผลิตภัณฑอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ 3 กลุมคือ ผลิตภัณฑอาหาร
ี
เสริมเพื่อลดน้ําหนัก เพื่อความงาม และเพื่อบํารุงสุขภาพ ของสตรีวัยทํางานในเขตเทศบาลเมือง
เชียงราย โดยใชแบบสอบถาม 300 คน สุมตัวอยางแบบตามสะดวก และแบบบังเอิญตามรานขาย
ผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคสวนใหญมีอายุ 21-30 ป คิดเปนรอยละ 47.70 การศึกษาต่ํากวา
อนุปริญญา หรือต่ํากวา ปวส. คิดเปนรอยละ 34.30 สําหรับรายได อยูในระดับต่ํากวา 10,000 บาท
คิดเปนรอยละ 65 และเปนผูบริโภคที่เคยบริโภคและยังบริโภคอยู คิดเปนรอยละ 44.04 บริโภค
ผลิตภัณฑลดความอวน คิดเปนรอยละ 42.49 และประเภทหวังเฉพาะทาง คิดเปนรอยละ 13.47
พเยาว สมหมาย (2546) ศึกษาเรื่องปจจัยสวนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อ
อาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม
การบริโภคอาหารเสริมเพื่อสุขภาพและสวนประสมทางการตลาดที่สงผลใหพฤติกรรมการบริโภค
อาหารที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 70 อายุ
30-35 ป คิดเปนรอยละ 31.70 สถานภาพโสด คิดเปนรอยละ 51 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเปน
รอยละ 58.70 อาชีพเปนพนักงานเอกชน คิดเปนรอยละ 58 และสวนใหญรายไดเฉลี่ยตอเดือน
10,000-20,000 บาท คิดเปนรอยละ 44.30 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพและการบริโภคอาหารเสริม
เพื่อสุขภาพของผูบริโภคสวนใหญ ไมมีโรคประจําตัว คิดเปนรอยละ 68.70 สนใจดูแลสุขภาพใน
ระดับมาก คิดเปนรอยละ 44 วิธีดูแลสุขภาพโดยทานอาหารวันละ 3 มื้อ คิดเปนรอยละ 23.50 และ
ปจจัยของสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจซื้ออาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผูบริโภค
ซึ่งผูบริโภคมีความคิดเห็นวา ปจจัยสวนประสมทางการตลาด พิจารณาดานผลิตภัณฑพบวามีผลตอ
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆเธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆApisit Khongsamut
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบSiriprapa Yodket
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 

Andere mochten auch (6)

เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆเธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 

Ähnlich wie อาหารสุขภาพ 4

เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อsupatra39
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อtiffany14021975
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่supatra39
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ Sutasinee Phu-on
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมthnaporn999
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00JeenNe915
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 

Ähnlich wie อาหารสุขภาพ 4 (20)

เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
การตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อการตัดสินใจซื้อ
การตัดสินใจซื้อ
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mehr von Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

อาหารสุขภาพ 4

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวของในเรื่อง ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ ของผูบริโภคในเขตอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มากยิ่งขึ้น และสามารถนําผลที่ไดจากการวิจัยไปเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ ในการบริหารจัดการธุรกิจได ซึ่งมีการกําหนดประเด็นในการนําเสนอ ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล 2. แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยดานสวนประสมทางการตลาด (7Ps) 3. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคและกระบวนการตัดสินใจซื้อของ ผูบริโภค 4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค 5. แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล ศิริวรรณ เสรีรัตน (2539, หนา 41-42) กลาววา ลักษณะดานประชากรศาสตร ประกอบดวย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว สถานภาพครอบครัว รายได อาชีพ การศึกษา เหลานี้ เปนเกณฑที่นิยมใชในการแบงสวนตลาด ลักษณะดานประชากรศาสตรเปนลักษณะที่สําคัญและ สถิติที่วัดไดของประชากรทีชวยกําหนดตลาดเปาหมาย ในขณะที่ลักษณะดานจิตวิทยาและสังคม ่ วัฒนธรรมชวยอธิบายถึงความคิดและความรูสึกของกลุมเปาหมายเทานั้น ขอมูลดาน ประชากรศาสตรจะสามารถเขาถึงและมีประสิทธิผลตอการกําหนดตลาดเปาหมายรวมทั้งงาย ตอการวัดมากกวาตัวแปรอื่น ตัวแปรดานประชากรศาสตรที่สําคัญมีดังนี้ 1. อายุ (Age) เนื่องจากผลิตภัณฑจะสามารตอบสนองความตองการของกลุมผูบริโภค ที่มีอายุแตกตาง นักการตลาดจึงใชประโยชนจากอายุเปนตัวแปรดานประชากรศึกษาศาสตรที่ แตกตางของสวนตลาด นักการตลาดไดคนหาความตองการของสวนตลาดสวนเล็ก (Niche Market) โดยมุงความสําคัญที่ตลาดอายุสวนนั้น
  • 2. 8 2. เพศ (Sex) เปนตัวแปรในการแบงสวนตลาดที่สําคัญเชนกัน นักการตลาดควรตอง ศึกษาตัวแปรตัวนี้อยางรอบคอบ เพราะในปจจุบันนี้ตัวแปรทางดานเพศมีการเปลี่ยนแปลงใน พฤติกรรมการบริโภค การเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากการที่สตรีทํางานมีมากขึ้น 3. ลักษณะครอบครัว (Marital Status) ในอดีตจนถึงปจจุบันลักษณะครอบครัวเปน เปาหมายที่สําคัญของการใชความพยายามทางการตลาดมาโดยตลอด และมีความสําคัญยิ่งขึ้นใน สวนที่เกี่ยวกับหนวยผูบริโภค นักการตลาดจะสนใจจํานวนและลักษณะของบุคคลในครัวเรือนที่ใช สินคาใดสินคาหนึ่ง และยังสนใจในการพิจารณาลักษณะดานประชากรศาสตร และโครงสรางดาน สื่อที่จะเกี่ยวของกับผูตัดสินใจในครัวเรือนเพื่อชวยในการพัฒนากลยุทธการตลาดใหเหมาะสม 4. รายได การศึกษา อาชีพ และสถานะภาพ (Income, Education Occupation and Status) เปนตัวแปรทีสําคัญในการกําหนดสวนของตลาด โดยทั่วไปนักการตลาดจะสนใจผูบริโภคที่มี ่ ความร่ํารวย แตอยางไรก็ตามครอบครัวที่มีรายไดปานกลางและมีรายไดต่ําจะเปนตลาดที่มีขนาด ใหญ ปญหาสําคัญในการแบงสวนตลาดโดยถือเกณฑรายไดอยางเดียวก็คือ รายไดจะเปนตัวชี้ การมีหรือไมมีความสามารถในการจายสินคา ในขณะเดียวกันการเลือกซึ้งสินคาที่แทจริงอาจถือ เกณฑรูปแบบการดํารงชีวิต รสนิยม คานิยม อาชีพ การศึกษา ฯลฯ แมวารายไดจะเปนตัวแปรที่ใช  บอยมาก นักการตลาดสวนใหญจะโยงเกณฑรายไดรวมกับตัวแปรดานประชากรศาสตรหรืออื่น ๆ เพื่อใหการกําหนดตลาดเปาหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เชน กลุมรายไดสูงที่มอายุตาง ๆ ถือวาใชเกณฑ ี  รายไดรวมกับเกณฑอายุ เปนเกณฑที่นิยมใชกันมากขึ้น เกณฑรายไดอาจจะเกี่ยวของกับเกณฑอายุ และอาชีพรวมกัน Belch and Belch (2005 อางถึงใน อัจฉรา นพวิญูวงศ, 2550) ในงานวิจัยนี้ศึกษาตัวแปร ดานประชากรศาสตร ไดแก อายุ อาชีพ และรายได โดยนํามาเชื่อโยงกับความตองการ พฤติกรรม การตัดสินใจ และอัตราการใชสินคาของผูบริโภค ซึ่งสามารถเขาถึงและมีประสิทธิผลตอการ กําหนดตลาดเปาหมาย สงผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อที่มีแนวโนมสัมพันธกันอยางใกลชิด ในความสัมพันธเชิงเหตุและผล 1. อายุ (Age) บุคคลที่มีอายุแตกตางกัน จะมีความตองการในสินคาและบริการที่แตกตาง กัน เชน กลุมวันรุนจะชอบทดลองสิ่งแปลกใหมและชอบสินคาประเภทแฟชั่น สวนกลุมผูสูงอายุจะ สนใจสินคาที่เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ ซึ่งหากแบงชวงกลุมอายุออกเปนกลุมพฤติกรรมที่มีลักษณะ ใกลเคียงกัน สามารถแบงอกเปนกลุม ๆ ไดดังนี้ 1.1 กลุมวัยกลางคนจนถึงกลุมผูสูงอายุ คือผูที่มีอายุตั้งแต 45 ปขึ้นไป โดยกลุมนี้ใน ปจจุบันจะมีพฤติกรรมในการตัดสินใจบริโภคสินคาและบริการจากยุคที่ผานมา กลาวคือจะมีอานาจ ํ ตัดสินใจในการบริโภคมากกวาเมื่อกอนเนื่องจากมีรายได และมีการวางแผนการลงทุนที่ดี
  • 3. 9 มีความทันสมัยและรับฟงขาวสารอยูสม่ําเสมอ กลุมวัยกลางคนและผูสูงอายุมีแนวโนมจะตัดสินใจ ซื้อสินคาและบริการจากประสบการณ และความเชื่อมั่นในตนเองมากกวาการเชื่อขอมูลจาก ภายนอก เชน การโฆษณา การสงเสริมการขาย และสวนใหญอิทธิพลของคนในครอบครับจะมีผล ตอการตัดสินใจซื้อของคนกลุมนี้ต่ํา กลาวคือกลุมวัยกลางคนและกลุมผูสูงอายุมีแนวโนมจะ ตัดสินใจซื้อสินคาที่รูจักและตรายี่หอที่คุนเคยมากกวาจะยอมรับสิ่งใหม นอกจากนี้ยังพบวากลุมนี้ ยังมีความออนไหวเรื่องราคานอย โดยยินดีจายแพงขึ้นสําหรับสินคาและบริการที่ดีขึ้น 1.2 กลุมหนุมสาวถึงวัยกลางคน คือผูที่มีอายุระหวาง 20-45 ป คนกลุมนี้มีเหตุผลใน การจับจายใชสอยมากขึ้น ไมคอยยึดติดกับตราสินคาทีหรูหรือมีราคาแพง โดยมีพฤติกรรมที่ ่ นาสนใจคือ เลือกตามยี่หอของตัวเอง คนกลุมนี้มองสินคาตรายี่หอที่ถูกลงกวาตรายี่หอหรูที่นิยมใช ในกลุมคนมีเงิน สวนหนึ่งอาจเปนเพราะอํานาจซื้อไมเพียงพอ แตสิ่งที่คนกลุมนี้แสดงออกมาไมได อยูในลักษณะที่มีปมดอยแตพยายามสรางแนวโนมของกลุมตนเองวาตรายี่หอที่เลือก เปนตัวแทน ของความทันสมัย และสรางความรูสึกเชิงลบกับตรายี่หอหรูๆวาเปนเรื่องไรสาระของคนรวย 1.3 กลุมวัยรุน คือผูที่มีอายุระหวาง 13-22 ป คนกลุมนี้คอยขางมีอํานาจในการ ตัดสินใจซื้อสูง และใชเวลาในการตัดสินใจซื้อสั้น ไมคอยรอบคอบในการซื้อ เพราะรายไดทั้งหมด สวนใหญมาจากผูปกครอง วัยรุนมักมีพฤติกรรมรวมตัวกันเปนกลุม โดยสมาชิกในกลุมจะมี อิทธิพลตอกันและกันในการสรางคานิยมและรูปแบบแนวคิดใหม เชน การแตงตัว สถานที่ ทองเที่ยว รวมถึงชนิดและตรายี่หอของสินคาที่จะซื้อ โดยดาราวัยรุนที่ชื่อชอบทั้งดาราไทย และ ดาราตางประเทศ ลวนมีอิทธิพลทางออมตอการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินคา 2. เพศ (Sex) เปนตัวแปรที่มีความสําคัญในเรื่องของพฤติกรรมในการบริโภคมาก เพราะ เพศที่แตกตางกันมักมีทัศนคติ การรับรู และการตัดสินใจในเรื่องการเลือกสินคาที่บริโภคแตกตาง โดยมากเกิดจากสาเหตุ ในเรื่องของการไดรับการเลี้ยงดู การปลูกฝงนิสัยมาตั้งแตในวัยเด็ก โดยเฉพาะประเทศไทยซึ่งมีวัฒนธรรมในการเลี้ยงดูเด็กผูชาย และเด็กผูหญิงที่แตกตางกันอยางมาก โดยสวนใหญเด็กผูชายจะถูกเลี้ยงใหมีความกลาแสดงออก และมีความรับผิดชอบเพื่อจะไดเปน หัวหนาครอบครัวตอไป สวนเด็กผูหญิงจะถูกเลี้ยงดูในลักษณะที่ใหสงบเสงี่ยมและเปนผูตามหรือ เปนภรรยาที่ดี ทําใหมีพฤติกรรมที่มีแนวโนมในการไมคอยกลาแสดงความคิดเห็น จากที่กลาวมา จึงอาจกลาวไดวาในสังคมไทยเพศชายมีแนวโนมที่จะเปนผูตัดสินใจซื้อสินคาและบริการของ ครอบครัวมากกวาเพศหญิง โดยเฉพาะสินคาที่เปนเครื่องใชไฟฟาและใชเทคโนโลยีสูง ถึงแมวา  ในปจจุบันอาจมีการเปลี่ยนแปลงในดานสังคมและวัฒนธรรมไปบางแตก็ยังมีความแตกตางใน พฤติกรรมการซื้อของเพศชายและเพศหญิงอยูไมนอย
  • 4. 10 3. สถานภาพการสมรส (Status) สมรส โสด หยาราง หรือเปนหมาย ซึ่งในอดีตถึง ปจจุบันเปนเปาหมายที่สําคัญของการใชความพยายามทางการตลาดมาโดยตลอด และมีความสําคัญ มากยิ่งขึ้นในสวนที่เกี่ยวกับหนวยผูบริโภค ทําใหเกิดความตองการในผลิตภัณฑ และพฤติกรรม การซื้อที่แตกตางกัน เชนผูที่หยาราง หรือเปนหมาย จะเลือกแตงการดวยเสื้อผาที่หรูหรา ทันสมัย มีเอกลักษณ 4. การศึกษา (Education) ผูที่มีการศึกษาสูง มีแนวโนมที่จะเลือกบริโภคผลิตภัณฑที่มี คุณภาพดีมากกวาผูที่มีการศึกษาต่า เนื่องจากผูที่มีการศึกษาสูง จะมีอาชีพที่สามารถสรางรายได ํ สูงกวาผูที่มีการศึกษาต่า จึงมีแนวโนมที่จะเลือกบริโภคผลิตภัณฑที่มีคุณภาพมากกวา ํ 5. อาชีพ (Occupation) อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปนและความตองการ สินคาและบริการที่แตกตางกัน เชน เกษตรกร หรือชาวนาก็จะซื้อสินคาที่จาเปนตอการครองชีพ ํ และสินคาที่เปนปจจัยการผลิตเปนสวนใหญ สวนพนักงานที่ทํางานในบริษัทตาง ๆ สวนใหญจะซื้อ สินคาเพื่อเสริมสรางบุคลิกภาพ ขาราชการก็จะซื้อสินคาที่จาเปน นักธุรกิจก็จะซื้อสินคาเพื่อสราง ํ ภาพพจนใหกับตัวเอง เปนตน นักการตลาดจะตองศึกษาวาสินคาและบริการของบริษัทเปนที่ ตองการของกลุมอาชีพประเภทใด เพื่อที่จะจัดเตรียมสินคาใหสอดคลองกับความตองการของ กลุมเหลานี้ไดอยางเหมาะสม 6. รายได (Income) หรือสถานภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Circumsfances) สถานภาพ ทางเศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอตราสินคา และบริการที่เคาตัดสินใจ สถานภาพเหลานี้ ประกอบดวย รายได การออมทรัพย อํานาจการซื้อ และทัศนคติเกี่ยวกับการจายเงิน นักการตลาด ตองสนใจแนวโนมของรายไดสวนบุคคล เนื่องจากรายไดจะมีผลตออํานาจของการซื้อ คนที่มี รายไดต่ําจะมุงซื้อสินคาที่จําเปนตอการครองชีพ และมีความไวตอราคามาก สวนคนที่มีรายไดสูง  จะมุงซื้อสินคาที่มีคุณภาพดีและราคาสูงโดยเนนที่ภาพพจนของราคาสินคาเปนหลัก การศึกษา อาชีพ และรายไดนั้นมีแนวโนมสัมพันธกันอยางใกลชิดในความสัมพันธเชิง เหตุและผล เชนบุคคลที่มีการศึกษาสูงจะมีโอกาสเลือกอาชีพที่สามารถสรางรายไดสูงกวาคนที่มี การศึกษาต่ากวา ํ แนวคิดเกี่ยวกับปจจัยดานสวนประสมทางการตลาด (7Ps) สวนประสมทางการตลาด หมายถึง ตัวแปรทางการตลาดที่สามารถควบคุมได ซึ่งบริษัท นํามาใชรวมกันเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกคากลุมเปาหมาย (Kotler, 1997, p. 92) สวนประสมทางการตลาด (The Marketing Mix) เปนแนวคิดที่สําคัญอยางทางการตลาด
  • 5. 11 สมัยใหม ซึ่งแนวความคิดเรื่องสวนผสมทางการตลาดนี้ มีบทบาทสําคัญทางการตลาด เพราะเปน การรวมการตัดสินใจทางการตลาดทั้งหมด เพื่อนํามาใชในการดําเนินงาน เพื่อใหธุรกิจสอดคลอง กับความตองการของตลาดเปาหมาย เราเรียกสวนผสมทางการตลาดวา 7 Ps ซึ่งองคประกอบทั้ง 7 กลุมนี้ จะทําหนาที่รวมกันในการสื่อขาวสาร ทางการตลาดใหแกผูรับสารอยางมีประสิทธิภาพ ศิริวรรณ เสรีรัตน, ปริญ ลักษิตานนท และศุภร เสรีรัตน (2541, หนา 337-339) ไดสรุป เกี่ยวกับแนวความคิดกลยุทธการตลาดสําหรับธุรกิจการบริการ (Market Mix) ไวในหนังสือ การบริหารการตลาดยุคใหมวาขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ (Buying Decision Process) เปนลําดับ  ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคพบวา ผูบริโภคผานกระบวนการ 7 ขั้นตอน คือธุรกิจที่ ใหบริการจะใชสวนประสมการตลาด (Marketing Mix) หรือ 7Ps ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. ผลิตภัณฑ (Product) เปนสิ่งซึ่งสนองความจําเปนและความตองการของมนุษยได คือ สิ่งที่ผูขายตองมอบใหแกลูกคาและลูกคาจะไดรับผลประโยชนและคุณคาของผลิตภัณฑนั้น ๆ โดยทั่วไปแลวผลิตภัณฑแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือผลิตภัณฑที่อาจเปนสิ่งซึ่งจับตองไดและ ผลิตภัณฑที่จับตองไมได ในดานการบริการดานสินเชื่อนั้นถือวาเปนผลิตภัณฑที่จับตองไมได เนื่องจากเปนผลิตภัณฑที่อยูในรูปของบริการ (Service Product) การที่จะสรางความมั่นใจ และ ทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจในการใชบริการนั้นธุรกิจจะตองสรางและนําเสนอสิ่งที่เปนรูปธรรม เพื่อเปนสัญลักษณแทนการบริการที่ไมสามารถจับตองได 2. ราคา (Price) หมายถึง คุณคาผลิตภัณฑในรูปของตัวเงิน ราคาเปนตนทุนของ (Cost) ของลูกคา ลูกคาจะเปรียบเทียบระหวางคุณคา (Value) ผลิตภัณฑกับราคา (Price) ผลิตภัณฑนั้น ถาคุณคาสูงกวาราคา เขาจะตัดสินใจซื้อ ดังนั้น การกําหนดกลยุทธดานราคาตองคํานึงถึงคุณคา ซึ่งเปนสิ่งที่กําหนดมูลคา ในการแลกเปลี่ยนสินคาหรือบริการในรูปของเงินตราเปนสวนที่เกี่ยวกับ วิธีการกําหนดราคานโยบายและกลยุทธตาง ๆ ในการกําหนดราคาตองคํานึงถึงคุณคาที่รับรู (Perceived Value) ในสายตาของลูกคา ซึ่งตองพิจารณาวาการยอมรับของลูกคาในคุณคาของ ผลิตภัณฑวาสูงกวาราคาผลิตภัณฑนั้น ตนทุนสินคาและคาใชจายที่เกี่ยวของ การแขงขันและ   ปจจัยอื่น ๆ 3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place) ดานสถานที่ใหบริการในสวนแรก คือ การเลือกทําเล ที่ตั้ง (Location) ของธุรกิจบริการมีความสําคัญมาก โดยเฉพาะธุรกิจบริการที่ผูบริโภคตองไปรับ บริการจากผูใหบริการในสถานที่ที่ผูใหบริการจัดไว เพราะทําเลที่ตั้งที่เลือกเปนตัวกําหนดกลุม ผูบริโภคที่จะเขามาใหบริการ ดังนั้นสถานที่ใหบริการตองสามารถครอบคลุมพื้นที่ในการใหบริการ กลุมเปาหมายไดมากที่สุด และคํานึงถึงทําเลที่ตั้งของคูแขงขันดวย โดยความสําคัญของทําเลที่ตั้งจะ
  • 6. 12 มีความสําคัญมากนอยแตกตางกันไปตามลักษณะเฉพาะของธุรกิจบริการแตละประเภทในสวนของ ชองทางการจัดจําหนาย (Channels) การกําหนดชองทางการจัดจําหนายตองคํานึงองคประกอบ 3 สวน ไดแก ลักษณะของการบริการ ความจําเปนในการใชคนกลางในการจําหนาย และลูกคา เปาหมายของธุรกิจบริการนั้น 4. การสงเสริมทางการตลาด (Promotion) เปนเครื่องมือหนึ่งที่มีความสําคัญในการ ติดตอสื่อสารเกี่ยวกับขอมูลระหวางผูขายและผูใหบริการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแจงขาวสาร หรือ ชักจูงใหเกิดทัศนคติ และพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใชบริการ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม กับลูกคา โดยเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารการตลาดบริการในการสงเสริมทางการตลาดอาจทําได 4 แบบดวยกัน ซึ่งเรียกวา สวนผสมการสงเสริมการตลาด (Promotion Mix) หรือสวนประสมใน การติดตอสื่อสาร (Communication Mix) ประกอบไปดวย 4.1 การโฆษณา (Advertising) เปนการติดตอสื่อสารแบบไมใชบุคคล โดยผานสื่อ ตาง ๆ และผูอุปถัมภรายการตองเสียคาใชจายในการโฆษณาที่ผานสื่อ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ  โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาในโรงภาพยนตร ฯลฯ 4.2 การขายโดยใชพนักงาน (Personal Selling) เปนการติดตอสื่อสารทางตรงแบบ เผชิญหนาระหวางผูขายและลูกคาที่มีอานาจซื้อ ซึ่งเปนการขายโดยใชพนักงานขาย ํ 4.3 การสงเสริมการขาย (Sales Promotion) เปนเครื่องมือหรือกิจกรรมทาง การตลาดที่กระทําการอยางตอเนื่อง นอกเหนือจากการขายโดยใชพนักงาน การโฆษณาและ การประชาสัมพันธที่ชวยกระตุนความสนใจในการใชบริการของลูกคา 4.4 การประชาสัมพันธ (Publicity and Public Relation) เปนแผนงานการนําเสนอ อยางตอเนื่องเพื่อชักจูงกลุมสาธารณะใหเกิดความคิดเห็นหรือทัศนคติที่ดีตอองคกรตลอดจนสราง ภาพลักษณและความเขาใจอันดีระหวางธุรกิจกับลูกคากลุมใดกลุมหนึ่ง 5. บุคคล (People) หรือ พนักงาน (Employee) หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่รับผิดชอบใน การติดตอแสวงหาลูกคา การเสนอขาย เพื่อกระตุนใหลูกคาเกิดความตั้งใจและตัดสินใจซื้อ 6. สรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence and Presentation) โดย พยายามสรางคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management: TQM) หรือตองแสดงใหเห็นคุณภาพ ของบริการโดยผานการใชหลักฐานที่มองเห็นได เชน ธุรกิจโรงภาพยนตรตองพัฒนาลักษณะทาง กายภาพและรูปแบบการใหบริการเพื่อสรางคุณคาใหกับลูกคา (Customer-value Proposition) ไมวาจะเปนดานความสะอาด ความรวดเร็วในการจําหนายตั๋ว หรือคุณประโยชนอื่น
  • 7. 13 7. กระบวนการ (Process) เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับระเบียบ วิธีการ และงานที่ปฏิบัติ ในดานการบริการ ที่นําเสนอกับลูกคาเพื่อมอบการใหบริการอยางถูกตอง รวดเร็ว และทําใหลูกคา เกิดความประทับใจ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคและกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค  ศุภร เสรีรัตน (2540, หนา 5) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การกระทําตาง ๆ ที่ เกี่ยวของโดยตรงกับการจัดหาให ไดมาซึ่งการบริโภค และการจับจายใชสอยซึ่งสินคาและบริการ รวมทั้งกระบวนการตัดสินใจที่เกิดขึ้นทั้งกอนและหลังการกระทําดังกลาวดวย Schiffman and Kanuk (1987 อางถึงใน ศุภร เสรีรัตน, 2540) กลาววา พฤติกรรมของ ผูบริโภค เปนพฤติกรรมที่ผูบริโภคแสดงออกไมวาจะเปนการเสาะหา ซื้อ ใช ประเมิน หรือการบริโภค  ผลิตภัณฑบริการ และแนวความคิดตางๆ ซึ่งผูบริโภคคาดวาจะสามารถตอบสนองความตองการของ ตนไดเปนการศึกษาการตัดสินใจของผูบริโภคในการใชทรัพยากรที่มีอยูทั้งเงิน เวลา และกําลัง เพื่อบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ อันประกอบดวยคําถาม เชนวา ซื้ออะไร ทําไมจึงซื้อ ซื้อเมื่อไร อยางไร ที่ไหน และบอยแคไหน ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2541, หนา 107-121) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง พฤติกรรมซึ่งผูบริโภคทําการคนหา การซื้อ การใชการประเมินผล การใชสอยผลิตภัณฑและบริการ ซึ่งคาดวาจะสนองความตองการของเขาหรือการศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจ และการกระทําของ คนที่เกี่ยวของกับการซื้อและการใชสินคาการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค เปนการคนหาหรือวิจัย เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เพื่อทราบถึงลักษณะความตองการและ  พฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภคไดอยางเหมาะสม ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory) Maslow (1954) ไดเสนอแนวความคิดของการลําดับขั้นความตองการ (Hierarchy of Need) โดยมีความเชื่อมั่นวาความตองการของมนุษยมีลําดับขั้นตอนที่แนนอน ซึ่งบุคคล มีความปรารถนาที่สูงสุดคือ การที่จะรูจักตนเองที่แทจริง แตการที่มนุษยจะเกิดความตองการ ในแตละขั้นนั้น จําเปนอยางยิ่งที่บุคคลจะตองไดรับการสนองตอบตามความตองการในระดับที่ ต่ํากวาเสียกอนจึงจะเกิดความตองการในระดับขั้นที่สูงขึ้นไปได ซึ่งความพอใจในการสนองตอบ ความตองการนั้นไมไดหมายความวาจะตองเกิดความพึงพอใจทั้งหมดเพียงแตวาขอใหไดรับ  ความพึงพอใจในบางสวนก็จะสามารถที่จะใฝหาความตองการในระดับที่สูงกวาไดตอไปอีก
  • 8. 14 มาสโลวยังเชือวามนุษยสวนใหญ ยังไมสามารถบรรลุความตองการในระดับความตองการที่จะรูจัก ่  ตนเองที่แทจริงได (Maslow, 1954, pp. 80-84) 1. ความตองการทางรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการขันพื้นฐาน ้ ของมนุษยเพื่อความอยูรอด เชน อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค อากาศ น้ําดื่ม การพักผอน เปนตน 2. ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง (Security or Safety Needs) เมื่อมนุษย สามารถตอบสนองความตองการทางรางกายไดแลว มนุษยก็จะเพิ่มความตองการในระดับที่สูงขึ้น ตอไป เชน ความตองการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ความตองการความมั่นคงในชีวิต และหนาที่การงาน 3. ความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ (ความตองการทางสังคม) (Affiliation or Acceptance Needs) เปนความตองการเปนสวนหนึ่งของสังคม ซึ่งเปนธรรมชาติอยางหนึ่งของ มนุษย เชน ความตองการใหและไดรับซึ่งความรัก ความตองการเปนสวนหนึ่งของหมูคณะ ความตองการไดรับการยอมรับ การตองการไดรับความชื่นชมจากผูอื่น เปนตน 4. ความตองการการยกยอง (Esteem Needs) หรือ ความภาคภูมิใจในตนเอง เปนความตองการการไดรับการยกยอง นับถือ และสถานะจากสังคม เชน ความตองการไดรับ ความเคารพนับถือ ความตองการมีความรูความสามารถ เปนตน  5. ความตองการความสําเร็จในชีวิต (Self- actualization) เปนความตองการสูงสุดของ แตละบุคคล เชน ความตองการที่จะทําทุกสิ่งทุกอยางไดสําเร็จ ความตองการทําทุกอยางเพื่อ ตอบสนองความตองการของตนเอง เปนตน จากทฤษฎีลาดับขั้นความตองการของ Maslow (1954) สามารถแบงความตองการออกได ํ เปน 2 ระดับ คือ 1. ความตองการในระดับต่ํา (Lower Order Needs) ประกอบดวยความตองการทาง รางกาย ความตองการความปลอดภัยและมั่นคง และความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ 2. ความตองการในระดับสูง (Higher Order Needs) ประกอบดวย ความตองการ การยกยองและความตองการความสําเร็จในชีวิต ทฤษฎีเกี่ยวกับการคนหาพฤติกรรมของผูบริโภค คือ 6 Ws และ 1 H  การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Consumer Behavior) เปนการคนหาหรือ วิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เพื่อทราบถึงลักษณะความตองการและ พฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค ในการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคจะอาศัยคําถาม 6 Ws และ 1 H ซึ่งประกอบดวย Who, What, Why, When, Where และ How เพื่อคนหาลักษณะที่เกี่ยวกับ
  • 9. 15 พฤติกรรมผูบริโภค 7 ประการ หรือ 7 O’s ซึ่งประกอบดวย Occupants, Objects, Objectives, Organization, Occasions, Outlet และ Operations (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2541, หนา 126) โดยมีการกําหนดคําถามดังนี้ 1. ใครอยูในตลาดเปาหมาย (Who is in the target market?) เปนคําถามเพื่อทราบถึง ลักษณะของกลุมเปาหมาย (Occupants) ทางดานประชากรศาสตร ภูมิศาสตร จิตวิทยา พฤติกรรม ศาสตร 2. ทําไมผูบริโภคจึงซื้อ (Why does the consumer buy?) เปนคําถามถึงสิ่งที่ผูบริโภค ตองการซื้อ (Objects) สิ่งที่ผูบริโภคตองการจากผลิตภัณฑ ซึ่งก็คือ ตองการคุณสมบัติหรือ องคประกอบของผลิตภัณฑและความแตกตางที่เหนือกวาคูแขงขัน 3. ทําไมผูบริโภคจึงซื้ออะไร (Why does the consumer buying?) เปนคําถามเพื่อทราบ วัตถุประสงคที่ผูบริโภคซื้อสินคา (Objectives) ผานระบบชองทางการจัดจําหนายใด ๆ เพื่อ ตอบสนองความตองการทางดานรางกายและทางดานจิตวิทยา ซึ่งตองศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพล ตอพฤติกรรมการซื้อ คือ ปจจัยภายนอก ปจจัยทางสังคม และวัฒนธรรม ปจจัยเฉพาะบุคคล 4. ใครมีสวนรวมในการตัดสินใจซื้อบาง (Who participants in the buying?) เปนคําถาม เพื่อทราบถึงบทบาทของกลุมตาง ๆ (Organizations) ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อ ซึ่ง ประกอบดวยผูริเริ่มในการที่จะซื้อ ผูมีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ ผูตัดสินใจซื้อ ผูซื้อและผูใช 5. ผูบริโภคซื้อเมื่อใด (When the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อตองการทราบถึง โอกาสในการซื้อ (Occasions) เชน ชวงเดือนใดของปหรือชวงฤดูกาลใดของป ชวงวันใดของเดือน ชวงเวลาใดของวัน โอกาสพิเศษตาง ๆ เปนตน 6. ผูบริโภคซื้อที่ไหน (Where does the consumer buy?) เปนคําถามเพือตองการทราบถึง ่ ชองทางหรือแหลง (Outlet) ที่ผูบริโภคไปทําการซื้อ เชน หางสรรพสินคา ซุปเปอรมารเก็ต รานขาย ของชํา ฯลฯ 7. ผูบริโภคซื้ออยางไร (How does the consumer buy?) เปนคําถามเพือทราบถึงขั้นตอน ่ ในการตัดสินใจซื้อ (Operations) ซึ่งประกอบดวย การรับรูปญหา การคนหาขอมูล การประเมินผล ทางเลือก การตัดสินใจซื้อ ความรูสึกภายหลังการซื้อ คําตอบที่ไดมาเหลานี้ จะชวยใหนักการตลาดสามารถกําหนดกลยุทธทางการตลาดที่ สามารถสนองความพึงพอใจของผูบริโภคไดอยางเหมาะสมและประสบความสําเร็จทางดาน การตลาดไดเปนอยางดี
  • 10. 16 แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค (Consumer Buying Decision Process) เปนลําดับ ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค จากการสํารวจรายงานของผูบริโภคจํานวนมากใน กระบวนการซื้อพบวาผูบริโภคผานกระบวนการ 5 ขั้นตอน คือ (1) การรับรูถึงความตองการหรือ การรับรูปญหา (2) การคนหาขอมูล (3) การประเมินผลทางเลือกกอนการซื้อ (4) การตัดสินใจซื้อ (5) พฤติกรรมภายหลังการซื้อ ทั้งนี้ผูบริโภคอาจขามหรือยอนกลับไปเริ่มตนขั้นตอนกอนนี้ก็ได ซึ่งแสดงใหเห็นวากระบวนการตัดสินใจซื้อเริ่มตนกอนการซื้อจริง ๆ และมีผลกระทบหลังจาก การซื้อ โดยมีรายละเอียดในแตละขั้นตอนดังนี้ (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2546) 1. การรับรูถึงความตองการ (Need Recognition) หรือ การรับรูปญหา (Problem Recognition) เปนขั้นตอนแรกของกระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลระลึกถึง ความแตกตางระหวางสิ่งที่เขามีอยูกับสิ่งที่เขาตองการ (Kerin, Hartley, & Rudelius, 2004, p. 100) ซึ่งเกิดจาก (1) ตัวแปรภายใน หรือปจจัยดานจิตวิทยาประกอบดวย ความตองการและการจูงใจ บุคลิกภาพและแนวความคิดสวนตัว การรับรู การเรียนรู และทัศนคติ (2) ตัวแปรภายนอก หรือ ปจจัยสิ่งแวดลอมดานสังคมวัฒนธรรม ประกอบดวย กลุมอางอิง ครอบครัว ชั้นทางสังคม วัฒนธรรมและวัฒนธรรมยอย ปจจัยเหลานี้จะสงผลตอการกําหนดความตองการของแตละบุคคล 2. การคนหาขอมูล (Search for Information) หรือการคนหาขอมูลกอนการซื้อ (Prepurchase Search) เมื่อบุคคลไดรับรูถึงความตองการแลว เขาจะคนหาวิธีการที่จะทําให ความตองการดังกลาวไดรับการตอบสนอง ซึ่งผูบริโภคสามารถคนหาขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือ บริการที่สามารถตอบสนองความตองการได 2 ทางคือ 2.1 การคนหาขอมูลจากภายใน (Internal Search) โดยทบทวนความทรงจําในอดีต เกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือตราสินคาที่ตนเองเคยซื้อ 2.2 การคนหาขอมูลจากภายนอก (External Search) ซึ่งสามารถคนหาไดจาก 5 แหลง ดังนี้ 2.2.1 แหลงบุคคล (Personal Sources) ไดแก ครอบครัว เพื่อน เปนตน 2.2.2 แหลงการคา (Commercial Sources) หรือแหลงขอมูลที่จัดโดยนักการตลาด (Marketer-dominated Sources) ไดแก สื่อการโฆษณา พนักงานขาย เปนตน 2.2.3 แหลงชุมชน (Public Sources) ไดแก สื่อมวลชน องคกรคุมครองผูบริโภค เปนตน 2.2.4 แหลงประสบการณ (Experiential Sources) ไดแก การควบคุม การตรวจสอบการใชสินคา เปนตน
  • 11. 17 2.2.5 แหลงทดลอง (Experimental Sources) ไดแก หนวยงานที่สํารวจคุณภาพ ผลิตภัณฑหรือหนวยวิจัยภาวะตลาดของผลิตภัณฑ ประสบการณตรงของผูบริโภคในกรทดลองใช ผลิตภัณฑ เปนตน สินคาและบริการที่มีความสลับซับซอนในการตัดสินใจซื้อต่ํา ผูซื้ออาจใชการคนหา ขอมูลจากภายในโดยการเลือกตราสินคาที่ตนเองรูจักหรือเคยใชมากอน ดังนั้นนักการตลาด จึงควรใหความสําคัญในการสรางตราสินคาใหเปนที่รูจก ั สวนสินคาและบริการที่ตองใชความสลับซับซอนในการตัดสินใจซื้อสูง นักการตลาดตองใชความพยายามในการขายและสงเสริมการตลาด เพื่อกระตุนใหบุคคล มีการคนหาขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการมากขึ้น ในขั้นตอนการรับรูถึงความตองการและการคนหาขอมูลเหลานี้ ผูบริโภคจะเกี่ยวของกับ กระบวนการขอมูล กระบวนการขอมูล (Information Processing) หมายถึง กระบวนการซึ่งมีการรับรู Received) ถึงสิ่งกระตุน (Stimulus) การตีความหมาย (Interpreted) การเก็บรักษาในความทรงจํา (Store in Emory) และการนํากลับมาใชภายหลัง (Retrieved) (Blackwell, Miniard, & Engel, 2006, p. 77) เมื่อผูบริโภคมีการคนหาขอมูลจากภายนอก ผูบริโภคจะไดรับอิทธิพลจากสิ่งกระตุนโดย นักการตลาด เชน การโฆษณาผานสื่อตาง ๆ และสิ่งกระตุนโดยกลุมอื่น ๆ ที่ไมใชนักการตลาด เชน ครอบครัว เพื่อน เปนตน ซึ่งสิ่งกระตุนเหลานี้จะสงผลตอกระบวนการขอมูลของผูบริโภค โดย รายละเอียดดังนี้ 1. การเปดรับขาวสาร (Exposure) หมายถึง การที่บุคคลมีการรับรูจากสิ่งกระตุนโดย ผานประสาทสัมผัสหนึ่งอยางขึ้นไป ไดแก การไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดลิ้มรส ไดสัมผัส 2. ความตั้งใจ (Attention) เปนขั้นที่ผูรับขาวสารเกิดความตั้งใจที่จะรับฟงขาวสารนั้น ตอไป ถาขอมูลขาวสารที่ไดเปดรับในขั้นที่หนึ่งนาสนใจ 3. ความเขาใจ (Comprehension) เปนขั้นที่ผูรับขาวสารเกิดความเขาใจในขาวสารที่ เขาไดตั้งใจฟง 4. การยอมรับ (Acceptance) ในขั้นนี้ขาวสารจะมีผลกระทบตอทัศนคติ ความเชื่อ และความรูสึกขอผูรับขาวสาร เพื่อใหผูรับขาวสารเกิดการยอมรับขาวสารนั้นดวยความเต็มใจ 5. การเก็บรักษา (Retention) เปนการสงขอมูลที่ยอมรับสูความทรงจําระยะยาว (Blackwell, Miniard, & Engel, 2006, p. 79) โดยผูรับขาวสารสามารถจดจําขาวสารทีไดรับมา ่ 3. การประเมินผลทางเลือก (Alternative Evaluation) หลังจากที่ไดคนหาขอมูลแลว ผูบริโภคตองทําการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ ที่เปนไปไดกอนทําการตัดสินใจ ในขั้นนี้ผูบริโภค
  • 12. 18 ตองกําหนดเกณฑการพิจารณาที่จะใชสาหรับการประเมินผล ซึ่งเกณฑการพิจารณาเปนเรื่องของ ํ เหตุผลที่มองเห็น เชน ราคา ความคงทน หรือคุณสมบัติของสินคา เปนตน หรือเปนเรื่องของ ความพอใจสวนบุคคล เชน ชื่อเสียงของตราสินคา แบบ หรือสี เปนตน จากเกณฑที่กําหนดจะทําให ผูบริโภคทราบถึงทางเลือกที่เปนไปได ถาทางเลือกที่เปนไปไดมีเพียงทางเลือกเดียว การประเมินผล ก็ทําไดงาย แตบางครั้งทางเลือกที่เปนไปไดมีหลายทางเลือก ฉะนั้นผูบริโภคจึงตองพิจารณา ทางเลือกที่กอใหเกิดความพึงพอใจมากที่สุด ดังนั้นนักการตลาดสวนใหญจึงสนใจที่จะศึกษาถึง เกณฑที่ผูบริโภคใชสาหรับการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ ํ เกณฑการประเมินผลมีการกําหนดขึ้นมา และไดรับอิทธิพลจากความแตกตางของแตละ บุคคล ซึ่งพิจารณาจากปจจัยดานจิตวิทยาและอิทธิพลจากสิ่งแวดลอมดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่ง ปรากฏในรูปของสิ่งจูงใจ (Motives) คานิยม (Value) รูปแบบการดําเนินชีวิต (Lifestyle) และอื่น ๆ 4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) หลังจากการประเมินผลทางเลือกแลว จะเปน ขั้นตอนที่ผูบริโภคตัดสินใจซื้อ การซื้อโดยทั่วไปเกิดขึ้นในรานคาปลีก แตอยางไรก็ตามอาจเกิดขึ้น ในบานหรือสํานักงานของลูกคาก็ได 5. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Post-purchase Behaviour) หรือผลลัพธภายหลังการซื้อ (Postpurchase Outcome) ในขั้นนี้ผูบริโภคจะเปรียบเทียบคุณคาที่ไดรับจริง (Perceived Value) จากการบริโภคหรือใชผลิตภัณฑกับความคาดหวัง (Expectation) ถาคุณคาไดรับมากกวา ความคาดหวังผูบริโภคจะเกิดความพึงพอใจ (Satisfied) แตถาคุณคาที่ไดรับจริงต่ํากวา ความคาดหวังผูบริโภคจะมีการจัดการผลิตภัณฑนั้นหลายวิธี ไดแก กําจัดทิ้ง รีไซเคิล เปนตน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค Kotler (1997) กลาววา กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค เปรียบเสมือน “กลองดํา” เนื่องจากผูผลิตหรือผูขาย ไมสามารถคาดคะเนหรือไมสามารถทราบความตองการของผูบริโภคได จําตองพยายามคนหากระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากลักษณะของผูซื้อ และ ลักษณะการตัดสินใจของผูซื้อโดยมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค ไดแก 1. ปจจัยดานวัฒนธรรม เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูซื้อหรือผูบริโภคที่กวางขวางที่สุด ประกอบดวย 1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน เปนปจจัยที่มีผลตอคนสวนใหญในสังคม และเปนตัวกําหนด ความตองการและพฤติกรรมพื้นฐานโดยสวนใหญของบุคคลเปนสิ่งที่ปลูกฝงโดยเริ่มจากครอบครัว โรงเรียน และสังคม ดังนั้นควรใหความสนใจศึกษารายละเอียดของวัฒนธรรมเพื่อที่จะปรับปรุง สินคา
  • 13. 19 1.2 วัฒนธรรมยอยหรือวัฒนธรรมเฉพาะกลุม เปนปจจัยที่เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมของ บุคคลบางกลุม ซึ่งเปนวัฒนธรรมที่ไดรับการยอมรับจากสมาชิกในกลุม สําหรับสินคาและบริการ บางอยางที่เจาะจงกลุมเปาหมายที่มีวัฒนธรรมยอยเปนของกลุมนั้น จําเปนตองศึกษาและทํา ความเขาใจในวัฒนธรรมยอยนั้นดวย 1.3 ระดับชั้นในสังคม เชน ฐานะ การศึกษา หรืออาชีพ เปนตัวกําหนดพฤติกรรม การบริโภคของคนในแตละกลุม เพื่อสรางการยอมรับจากระดับชั้นในสังคมนั้น ๆ 2. ปจจัยดานสังคม ประกอบดวย 2.1 กลุมอา งอิ ง ได แ ก กลุ มบุค คลที่มีผ ลต อทั ศ นคติ และพฤติ กรรมของบุ ค คลทั้ ง ทางตรงและทางออม กลุมที่มีผลโดยตรงเรียกวา Membership Group ซึ่งประกอบดวยกลุมปฐมภูมิ (Primary Group) เชน ครอบครัว เพื่อน เพื่อนบาน หรือเพื่อนรวมงาน ซึ่งเปนกลุมบุคคล ที่มี การติดตออยางใกลชิดและไมเปนทางการ และกลุมทุติยภูมิ (Secondary Group) เชน ศาสนา อาชีพ หรือสหภาพ เปนกลุมที่มีการติดตอกันอยางเปนทางการ แตมิไดมีการติดตอกันเปนประจํา ซึ่งตอง กําหนดกลุมอางอิงของกลุมลูกคาเปาหมาย หรือบุคคลที่เปนตัวแทนของสินคาและบริการ (Opinion Leader) ซึ่งเปนบุคคลที่สังคมยอมรับ เพื่อเปนตัวแทนของสินคาและบริการ 2.2 ครอบครัว เปนปจจัยที่มีอิทธิพลอยางมากตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค จึง จะตองศึกษาถึงบทบาทและความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว พฤติกรรมการบริโภคของบุคคล ในครอบครัว บุคคลที่มีอํานาจในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือใชบริการในครอบครัว 2.3 บทบาทและสถานะบุคคล จะเกี่ยวของกับหลายกลุม เชน ครอบครัวกลุมอางอิง องคกร และสถาบันตาง ๆ บุคคลจะมีบทบาทและสถานะที่แตกตางกันในแตละกลุม 20 3. ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย 3.1 อายุ การทีมีอายุแตกตางกันยอมจะมีความตองการสินคาและบริการที่แตกตางกัน ่ การแบงกลุมผูบริโภคตามอายุ เชน กลุมวันรุนมักจะชอบใชจายเงินไปกับสิ่งที่แปลกใหม สินคา  และบริการที่เปนแฟชั่น มากกวาการเก็บเงินออม หรือนําเงินไปฝากธนาคาร 3.2 ขั้นตอนของวงจรชีวิตครอบครัว เปนขั้นตอนการดํารงชีวิตของบุคคลในลักษณะ ของการมีครอบครัว การดํารงชีวิตในแตละขั้นตอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความตองการทางดาน ทัศนคติและคานิยมของบุคคลทําใหเกิดความตองการในตัวสินคาและบริการ และพฤติกรรมซื้อ สินคาหรือใชบริการที่แตกตางกัน เชน เปนโสดและอยูในวัยหนุมสาว คูสมรสหรือบุคคลที่อยูคน เดียวเนื่องจากการหยาราง ก็จะมีพฤติกรรมการบริโภคที่แตกตางกัน
  • 14. 20 3.3 อาชีพ ซึ่งอาชีพของบุคคลแตละคนจะนําไปสูความจําเปน และความตองการ สินคาและบริการที่แตกตางกัน จะตองศึกษาวากลุมบุคคลในอาชีพใดใหความสนใจกับสินคาและ บริการใดมากที่สุด เพื่อจะจัดกิจกรรมทางการตลาดใหตอบสนองความตองการใหเหมาะสม 3.4 รายได หรือโอกาสทางเศรษฐกิจ โอกาสทางเศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอ สินคาและบริการที่เขาตัดสินใจบริโภค โอกาสเหลานี้ จึงจําเปนตองสนใจแนวโนมของรายได สวนบุคคล การออม และอัตราดอกเบี้ย ถาภาวะเศรษฐกิจตกต่ําคนมีรายไดต่ํา กิจการตองปรับปรุง สินคาและบริการ การจัดจําหนาย การตั้งราคา ลดการผลิตและสินคาคงคลัง รวมไปถึงวิธีการตาง ๆ เพื่อปองกันการขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียน 3.5 การศึกษา ผูที่มีการศึกษาสูง มีแนวโนมจะบริโภคสินคาและบริการที่มีคุณภาพดี มากกวาผูที่มีการศึกษาต่า ํ 3.6 รูปแบบการดํารงชีวิต โดยการแสดงออกในรูปของ AIOs คือ กิจกรรม (Activity) ความสนใจ (Interest) ความคิดเห็น (Opinions) รูปแบบการดํารงชีวิตขึนอยูกับวัฒนธรรม ชั้นของ ้ สังคม และกลุมอาชีพของแตละบุคคล ทางการตลาดเชื่อวาการเลือกบริโภคสินคาและบริการของ บุคคลขึ้นอยูกับรูปแบบการดํารงชีวิต 4. ปจจัยดานจิตวิทยา การเลือกบริโภคของบุคคลไดรับอิทธิพลจากปจจัยดานจิตวิทยา ถือวาเปนปจจัยภายในของผูบริโภคที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคสินคาและการใชบริการ ประกอบดวย 4.1 การจูงใจ เปนสิ่งที่เกิดภายในตัวบุคคล แตอาจจะถูกระทบจากปจจัยภายนอก เชน สิ่งกระตุนที่ทางการตลาดใชเปนเครื่องมือทางการตลาด เพื่อกระตุนใหเกิดความตองการ 4.2 การรับรู เปนกระบวนการของแตละบุคคลซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยภายใน เชน ความเชื่อ ประสบการณ ความตองการ และอารมณ สวนปจจัยภายนอกคือ สิ่งกระตุนการรับรูของ ประสาทสัมผัสทั้งหา 4.3 การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือความโนมเอียงของพฤติกรรมจาก ประสบการณที่ผานมา การตลาดจึงไดมีการประยุกตแนวความคิดนี้ ดวยการโฆษณาซ้ําแลวซ้าอีก ํ หรือจัดการสงเสริมการขาย เพื่อทําใหการตัดสินใจซื้อสินคาและใชบริการเปนประจํา สิ่งกระตุนที่ จะมีอิทธิพลที่ทําใหเกิดการเรียนรูไดตองมีคุณคาในสายตาของผูบริโภค 4.4 ความเชื่อและทัศนคติ เปนความคิดที่บุคคลยึดถือเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปน ผลมาจากประสบการณในอดีต ซึ่งบางความเชื่อเปนความเชื่อในดานลบ จึงจองมีการรณรงค เพื่อแกไขความเชื่อที่ผิดนั้น
  • 15. 21 4.5 บุคลิกภาพ เปนความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปนสิ่งที่มีอิทธิพล  ตอความเชื่อ ซึ่งมีทางเลือกอยู 2 ทางเลือก ทางเลือกที่ 1 คือสรางทัศนคติของผูบริโภคใหสอดคลอง กับสินคาและบริการของกิจการ หรือพิจารณาวาทัศนคติของผูบริโภคเปนอยางไรแลวจึงพัฒนา สินคาและบริการใหสอดคลองกับทัศนคติของผูบริโภค ซึ่งวิธีหลังนี้จะทําไดงายกวาสําหรับ การสรางทัศนคตินั้น ตองยึดหลักองคประกอบของการเกิดทัศนคติซึ่งมี 3 สวน ไดแก สวนของ ความเขาใจ สวนของความรูสึก และสวนของพฤติกรรม  4.6 แนวความคิดของตนเอง หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเอง หรือ ความคิดที่บุคคลอื่นมีความคิดเห็นตอตน แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ Detox ยอมาจาก คําวา Detoxification หมายถึง กระบวนการในการลางสารพิษ (Toxin) ออกจากรางกายดวยวิธีการตาง ๆ 90% ของโรคเกิดจากการสะสมพิษในลําไสใหญ นักวิทยาศาสตร คนพบวา การสะสมพิษ เชน อุจจาระตกคาง ตะกรัน (Chronic Dunk) ที่ลําไสใหญ หรือ อาการ ทองผูก เปนสาเหตุหลักที่ทําใหรางกายเราออนแอและเกิดโรคตาง ๆ ตามมาไดงายเนื่องจากลําไส เปนอวัยวะที่รางกายเราไมสามารถมองเห็นได จึงถูกละเลยในการดูแลโรคที่เกิดจากการสะสมพิษ  ในลําไสใหญ เชน เบาหวาน ความดัน คลอเรสเตอรอล เสนเลือดในสมองแตก หลอดเลือดตีบตัน หัวใจ หลอดเลือดในหัวใจตีบ ไมเกรน ปวดหัว อัมพาต มะเร็ง ผิวหนัง ภูมิแพ ภูมิเพี้ยน (SLE) เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ สิวเสี้ยน สิวอักเสบ ฝา กระ ผิวหยาบกราน กลิ่นกาย กลิ่นปาก ปวดหลัง ปวดคอ ปวดขอ ทองอืด ทองเฟอ โรคกระเพาะ ลําไสอักเสบ ริดสีดวง พุงโต น้ําหนักเกิน ฯลฯ วิธีการดีทอกซดวยการสวน แบงเปน 2 วิธี คือ 1. ดีทอกซแบบลางลําไสระดับลาง เปนการสวนลางลําไสในชวงระยะ 30 เซนติเมตร สุดทายของลําไส ดวยกาแฟหรือน้ําสมุนไพร ใชน้ําประมาณ 5 ลิตร 2. ดีทอกซแบบลางลําไสสวนบน ดวยน้ําเกลือแรหรือสมุนไพร ใชน้ําประมาณ 2 ลิตร การทําดีทอกซแบบลางลําไสสวนบนนั้น จะใชเครื่องมือทางการแพทยที่ทันสมัยและ มีประสิทธิภาพที่เรียกวา เครื่องลางลําไส (COLONIC) ในการดีทอกซแตละครั้งจะเสียคาใชจาย  ประมาณ 700-1,000 บาท ปจจุบันทางการแพทยคนพบวิธีการ ลางลําไสดวยวิธีการทานอาหารที่เรียกวา Fiber คือ ใยอาหารมีสวนประกอบที่มาจากคารโบไฮเดรท แตเปนสวนที่รางกายยอยสลายไมไดและจะไมถูก  ดูดซึมเขาสูรางกาย ประเภทของอาหารทีใหใยอาหารสูงแกรางกาย Fiber เปนอาหารที่ไมมี ่
  • 16. 22 แคลเลอรี่จึงเหมาะสําหรับผูที่ตองการลดน้ําหนักแบบธรรมชาติ ใยอาหารนี้เอง ไมเพียงแตจะ สามารถเปลี่ยนชีวิตของผูที่จะลดน้ําหนักตัวเทานั้น แตใยอาหารสามารถเปลี่ยนชีวิตของทุก ๆ คน ใหมีสุขภาพที่ดีดวย (สุพจน สัมฤทธิ์สณิชชา, 2546) ปจจุบันมีการลางสารพิษไดโดยไมตองสวนทวาร เปนรูปแบบในการรับประทาน ผลิตภัณฑเสริมอาหารแทน ซึ่งมีออกมาจําหนายในรูปแบบตางๆ มีทั้งรูปแบบผง อัดเม็ด หรือทํา ออกมาในรูปของชา กาแฟฯลฯ ซึ่งมีคุณสมบัติสามารถขับพิษออกจากรางกายได ซึ่งวิธีการ รับประทานผลิตภัณฑเสริมอาหารประเภทลางสารพิษ ซึ่งเปนวิธีที่งายและสะดวก และไดผลดี ทํา ใหไมตองทนกับความเจ็บปวด งานวิจัยที่เกี่ยวของ เนรัญชรา ณ ฝน (2546) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารเสริมเพื่อสุขภาพของ สตรีวัยทํางานในเขตเทศบาลเมืองเชียงราย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภค และปจจัยที่มอิทธิพลตอการบริโภคผลิตภัณฑอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ 3 กลุมคือ ผลิตภัณฑอาหาร ี เสริมเพื่อลดน้ําหนัก เพื่อความงาม และเพื่อบํารุงสุขภาพ ของสตรีวัยทํางานในเขตเทศบาลเมือง เชียงราย โดยใชแบบสอบถาม 300 คน สุมตัวอยางแบบตามสะดวก และแบบบังเอิญตามรานขาย ผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคสวนใหญมีอายุ 21-30 ป คิดเปนรอยละ 47.70 การศึกษาต่ํากวา อนุปริญญา หรือต่ํากวา ปวส. คิดเปนรอยละ 34.30 สําหรับรายได อยูในระดับต่ํากวา 10,000 บาท คิดเปนรอยละ 65 และเปนผูบริโภคที่เคยบริโภคและยังบริโภคอยู คิดเปนรอยละ 44.04 บริโภค ผลิตภัณฑลดความอวน คิดเปนรอยละ 42.49 และประเภทหวังเฉพาะทาง คิดเปนรอยละ 13.47 พเยาว สมหมาย (2546) ศึกษาเรื่องปจจัยสวนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจซื้อ อาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม การบริโภคอาหารเสริมเพื่อสุขภาพและสวนประสมทางการตลาดที่สงผลใหพฤติกรรมการบริโภค อาหารที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการศึกษาพบวา ผูบริโภคสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 70 อายุ 30-35 ป คิดเปนรอยละ 31.70 สถานภาพโสด คิดเปนรอยละ 51 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเปน รอยละ 58.70 อาชีพเปนพนักงานเอกชน คิดเปนรอยละ 58 และสวนใหญรายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,000-20,000 บาท คิดเปนรอยละ 44.30 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพและการบริโภคอาหารเสริม เพื่อสุขภาพของผูบริโภคสวนใหญ ไมมีโรคประจําตัว คิดเปนรอยละ 68.70 สนใจดูแลสุขภาพใน ระดับมาก คิดเปนรอยละ 44 วิธีดูแลสุขภาพโดยทานอาหารวันละ 3 มื้อ คิดเปนรอยละ 23.50 และ ปจจัยของสวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจซื้ออาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผูบริโภค ซึ่งผูบริโภคมีความคิดเห็นวา ปจจัยสวนประสมทางการตลาด พิจารณาดานผลิตภัณฑพบวามีผลตอ