SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
   ประวัติ
   โครงการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ปี
    พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มศิลปินร่วมสมัยแห่งประเทศไทยนับพันคน
    ได้จัดแสดงผลงานที่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยหวังให้
                                                    โดยหวั
    สังคมเห็นว่า มีศลปินมากพอที่ควรจะมี หอศิลป์ มาเป็นพื้นที่
                    ิ
    รองรับในการแสดงออกผลงาน และเก็บรักษาผลงานในอดีตและ
    ประวัติศาสตร์ เป็นที่รวมกลุมศิลปิน เพื่อพบปะ แลกเปลี่ยนความ
                                ่
    คิด แนวการทำางาน ผลก็คือการผลักดันให้เกิดการพัฒนาของ
    วงการศิลปะในบ้านเมืองนี้
   สมัยของ ดร.พิจิตต รัตตกุลได้รับตำาแหน่งเป็นผู้วา กทม. มีการ
                                                    ่
    ผลักดันจนกระทั่ง กทม. มีนโยบายที่จะสร้างหอศิลป์ขึ้น มีการ
    กำาหนดพืนที่ตั้งหอศิลป์ที่บริเวณสี่แยกปทุมวัน และผู้ชนะจาก
             ้
    การประกวดแบบหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ได้แก่
    บริษัท Robert G. Boughey & Associates (RGB
    Architects) ความพร้อมทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2539 แต่
    ในสมัยของนายสมัคร สุนทรเวช ผู้ว่า กทม. คนต่อมา โครงการ
   จากการเคลื่อนไหวเรียกร้องต่อสู้เพื่อให้มีหอศิลป์โดยเครือข่าย
    ประชาชนและกลุ่มศิลปินที่ยาวนาน จนกระทั่งกรุงเทพมหานคร
    โดยผู้ว่าราชการฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ได้เล็งเห็นความ
    สำาคัญของศิลปวัฒนธรรม และได้วางนโยบายด้านศิลป
    วัฒนธรรมเป็นนโยบายหลัก โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความ
    เข้าใจ ของเด็ก เยาวชน และประชาชนในสังคม ให้ตระหนักถึง
    คุณค่าของศิลปวัฒนธรรม สภาแห่งกรุงเทพมหานครจึงได้อนุมัติ
    งบประมาณดำาเนินการก่อสร้างหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง
    กรุงเทพมหานคร 509 ล้านบาท[1] เพื่อผลักดันให้
    กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งศิลปวัฒนธรรม ซึ่งหอศิลป
    วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (Bangkok Art and Culture
    Centre or bacc) ได้เริ่มก่อสร้างในที่ดินของกรุงเทพมหานคร
    บริเวณสี่แยกปทุมวัน และได้มีการเปิดโครงการหอศิลป
    วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครอย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่
    19 สิงหาคม 2548
   ในกำาหนดการเดิม หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จะ
   ตัวอาคารสูง 9 ชั้น (บวกอีก 2 ชันใต้ดิน) โดย
                                       ้
    ในตัวอาคารถูกออกแบบมาให้เป็นทรงกระบอก
    ซึ่งสามารถเชือมต่อระหว่างอาคารได้ด้วยทาง
                 ่
    เดินวน เป็นแนวเอียงขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้คนที่เข้ามา
    ชมผลงาน สามารถชมได้ต่อเนื่องในแต่ละชั้น
    นอกจากนีตัวอาคารยังออกแบบมาให้สามารถ
              ้
    รับแสงสว่างจากภายนอกได้ โดยที่แสงไม่แรง
    พอจะที่เข้ามาถึงขนาดทำาลายผลงานศิลปะที่
    แสดงอยู่ข้างในได้ นอกจากห้องนิทรรศการที่มี
    อยู่หลายส่วนแล้ว ภายในยังมีส่วนที่เป็นห้อง
    สมุดประชาชน, ห้องปฏิบัติการศิลปะ, ห้อง
   หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่
    สี่แยกปทุมวัน หัวมุมถนนพระราม 1 และถนน
    พญาไท 
    ตรงข้ามห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่
   สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47,
    48, 50, 54, 
    73, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204,
    ปอ.501, ปอ.508 
    และ ปอ.529

   เรือสายในคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่าน
    ฟ้า-ประตูนำ้า ขึ้นที่
   รถไฟฟ้าลงสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ โดยชัน 3 ของ
                                          ้
    หอศิลปฯ มีทาง
    เดินเชือมต่อกับทางยกระดับสถานี รถไฟฟ้า BTS
           ่
    สนามกีฬา
    แห่งชาติ


   เดินทางได้ 2 เส้นทาง คือ 
    - เส้นทางถนนพญาไท (จากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ)
    ข้ามสะพาน
    หัวช้าง ชิดขวาเข้าทางเข้า หอศิลปฯ (ก่อนข้ามสี่แยก
    ปทุมวัน)
   - เส้นทางถนนพระราม 1 (จากสนามกีฬาแห่งชาติ)
    เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพญาไท และเลี้ยวซ้าย 
   เวลาเปิดบริการวันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-
    21.00 น. (หยุดวันจันทร์)
    ส่วนสำานักงาน เปิดทำาการตั้งแต่เวลา 9.30-18.30 น.


   ไม่มีค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรม และการแสดง
    เป็นกรณีพิเศษ



   มีที่จอดรถให้บริการ 2 ชั้น
   ชันจอดรถ B1 สามารถจอดรถได้ 56 คัน 
      ้
    ชันจอดรถ B2 สามารถจอดรถได้ 62 คัน
        ้
   บ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ตั้งอยู่ทเลขที่ ๑๙ ซอยพระพินจ
                                 ี่                   ิ
    สาทรใต้ ซึ่งคนทัวไปเคยเรียกกันว่า บ้านซอยสวนพลู
                      ่
    เป็นบ้านที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ อยูอาศัยมา ๓๕ ปี จนถึง
                                    ่
    อสัญกรรม เมือ พ.ศ. ๒๕๔๓ กรมศิลปากรได้ขึ้น
                   ่
    ทะเบียนเป็นโบราณสถานประเภทบ้านบุคคลสำาคัญ โด
    ยม.ล.รองฤทธิ์ ปราโมช เป็นเจ้าของบ้านคนปัจจุบัน
   ในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซอยที่แยกจากถนน
    สาทรใต้ไปทางถนนนางลิ้นจีและทะลุออกถนนจันทร์
                                      ่
    ซึงปัจจุบันเรียกว่าซอยสาทร ๓ นัน เรียกว่า ซอย
        ่                               ้
    สวนพลู ซึ่งยังมีซอยเล็กๆ แยกคดเคี้ยวไปในเขต
    ทุงมหาเมฆอีกหลายซอย กรุงเทพมหานครยังคงรักษา
      ่
   ซอยพระพินิจ เป็นซอยแยกที่อยู่ถดจากซอยสวนพลู ๗ มาทาง
                                        ั
    ปากทางเข้าด้านถนนสาทรใต้ ในสมัยนั้นทุ่งมหาเมฆยังไม่มีผู้คน
    อาศัยอยู่แออัดเช่นในปัจจุบัน ส่วนมากยังคงเป็นเรือกสวนปลุก
    ต้นหมากต้นพลู ที่ดินยังมีราคาถูกมากเพราะถือว่าเป็นเขต
    ชานเมือง เมื่อปลายสงครามโลกประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๔ ม.ร.ว.คึก
    ฤทธิ์ได้ซื้อที่ดินในซอยนี้ไว้ ๕ ไร้เศษ ราคาตารางวาละ ๗ บาท
    ซึ่งเจ้าของเดิมให้เช่าเป็นสวนปลูกต้นพลู หลังจากนั้นได้ไปเห็น
    เรือนไทยหลังหนึ่งแถวเสาชิงช้า ซึ่งเทศบาลกรุงเทพฯ ได้เวนคืน
    มาเพราะต้องการใช้ที่บริเวณนั้น สร้างศาลาว่าการ
    กรุงเทพมหานคร แม้จะอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก ก็ยังเห็นได้ว่า
    เป็นเรือนไทยแบบภาคกลาง ที่ปลูกอย่างประณีตงดงาม จึงขอ
    ซื้อจากเทศบาลกรุงเทพฯ ในราคา ๒,๗๐๐ บาท โดยเพิ่มราคา
    ให้อก ๗๐๐ บาทจากราคาต้นทุนที่ทางเทศบาลได้คำานวณและ
          ี
    เสนอขาย “เทศบาลกรุงเทพฯ บอกว่าไม่เคยขายอะไรได้กำาไร
   ม.ร.ว.คึกฤทธิ์อธิบายว่า นอกจากเหตุผลทีในสมัยก่อน
                                            ่
    การสร้างบ้านไม้ราคาถูกกว่าบ้านที่เป็นตึกมากแล้ว
    ท่านมีความใฝ่ฝันจะอยูในบ้านแบบไทย “เพราะรัก
                            ่
    เรือนไทยมานานแสนนาน เนื่องจากเห็นความสวยงาม
    อยากอยูอย่างไทย มีนอกชานเล่น” ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้ทิ้ง
             ่
    เรือนหลังนีไว้ในทีเดิม จนกระทังไปเห็นว่ามีคนแกะ
                 ้     ่           ่
    บานประตูหน้าต่างไป จึงไปร้องเรียนให้ทางเทศบาล
    ติดตามมาจนครบ และได้รื้อถอนมากองไว้ในทีดินที่ซอ
                                                 ่     ื้
    ไว้อีกหลายปี จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๓ จึงคิดทีจะปลูก
                                               ่
    สร้างบ้านอยูเป็นการถาวร และได้ให้นายนำ้าเชื่อม เล็ก
                   ่
    ประทุม ซึงเป็นผู้รับใช้ใกล้ชิดมานาน ไปเสาะหาเรือน
               ่
    แบบเรือนภาคกลางอีก ๒ หลังมาจากบ้านเดิมทีผักไห่ ่
   ชุมชนชาวผักไห่มีความผูกพันกับราชสกุล
    ปราโมชมานาน เพราะบรรพบุรุษเคยเป็น
    มหาดเล็กฝีพาย ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของพระ
    เจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำารบ บิดาของ
    ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ บ้าน ๓ หลังนี้สร้างเสร็จในเวลา
    ๖ เดือน ท่านเจ้าของบ้าน ได้ให้ทำาพายมี
    ลวดลายสีทอง ประดับไว้บนเหนือประตูเรือน
    ประธาน “เป็นการเซ็นชื่อ” ได้เข้าอยู่อาศัยเมื่อ
    พ.ศ. ๒๕๐๓ และได้เรียกขานกันว่า บ้านซอย
    สวนพลูอันลือลั่น
   พิพ ธ ภัณ ฑสถานแห่ง ชาติ พระนคร  ตั้งอยู่ใน
         ิ
    บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือส่วนหนึงของที่      ่
    ประทับวังหน้า (พื้นทีพระราชวังของสมเด็จพระบวร
                             ่
    ราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมามีอาณาเขตตั้งแต่
    บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัย
    ธรรมศาสตร์ สนามหลวงตอนเหนือ อนุสาวรียทหาร       ์
    อาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) ในสมัยรัชกาล
    ที่ 1 ตั้งอยู่ทถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมหา
                   ี่ ถนนหน้        แขวงพระบรมหา
    ราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่าง
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และโรงละครแห่งชาติตรง
                                และ                     ตรง
    ข้ามสนามหลวง ประกอบด้วยหมูพระทีนงต่าง ๆ ได้แก่ 
                                        ่ พระที่ ั่
    พระทีนงศิวโมกขพิมาน พระทีนงพุทไธสวรรย์ 
           ่ ั่                    ่ ั่
   ประวัติ
   การจัดตั้งพิพธภัณฑ์ในประเทศไทยนั้นเริ่มขึ้นในรัชสมัย
                      ิ
    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หว โดยพระองค์ทรงจัดตั้ง
                                             ั
    พิพิธภัณฑ์สวนพระองค์ขึ้นทีพระทีนั่งราชฤดีซึ่งตั้งอยู่บริเวณ
                    ่              ่     ่
    ด้านข้างของพระทีนั่งอมรินทรวินจฉัย ต่อมา เมื่อพระองค์ทรง
                        ่            ิ
    สร้างพระอภิเนาว์นเวศน์ขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง จึงโป
                          ิ     ขึ
    รดฯ ให้ยายโบราณวัตถุและของแปลก ๆ มาไว้ยง
                  ้                                ั
    พระทีนงประพาสพิพธภัณฑ์ในหมูพระอภิเนาว์นเวศน์ ซึ่งนับ
           ่ ั่             ิ          ่         ิ
    เป็นพิพธภัณฑ์ส่วนพระองค์ หรือ “รอยัล มิวเซียม” (Royal
                ิ
    Museum) มิได้เปิดให้ประชาชนทัวไปเข้าชม[1][2]
                                           ่
   ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว      ั
     พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง
    พิพิธภัณฑสถานสำาหรับพระนครขึ้นที่หอคองคอเดีย (
    ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ
    "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมือวันที่ 19
                                                     ่
     กันยายน พ.ศ. 2417ซึ่งนับเป็นวันกำาเนิดของ
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย[3]
     พิพธภัณฑสถานตั้งอยูภายในพระบรมมหาราชวังเป็นเวลา
         ิ                    ่
   ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว เจ้า
                                                   ่
    นายฝ่ายกรมพระราชวังบวรฯ เหลือน้อยพระองค์ พระองค์จึง
    ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรฯ
    เข้าไปประทับในพระบรมมหาราชวัง และพระราชทานพระ
    มหามณเฑียร ณ ขณะนันให้เป็นโรงทหาร จนถึงรัชสมัย
                           ้
    พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหัว พระองค์โปรดฯ ให้ย้าย
                                     ่
    โรงทหารไปอยู่ที่วังจันทรเกษม (บริเวณกระทรวงศึกษาธิการ
                     วั
     ในปัจจุบัน) ส่วนพระราชมณเฑียรของพระราชวังบวรฯ
    ทังหมดจัดเป็นพิพิธภัณฑสถานสำาหรับพระนครและหอสมุด
      ้
    พระวชิรญาณเพื่อจัดตั้งเป็น พิพ ธ ภัณ ฑสถานสำา หรับ
                                   ิ
    พระนคร  เมื่อ พ.ศ. 2469[5] ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ
    เป็น พิพ ิธ ภัณ ฑสถานแห่ง ชาติ พระนคร  เมื่อ พ.ศ. 2477
   ในปี พ.ศ. 2510 ได้สร้างอาคารเพิมขึ้นอีก 2 หลัง คือ
                                       ่
    "อาคารมหาสุรสิงหนาท" ปัจจุบัน จัดแสดงความเป็นมา ศิลป
    วัตถุ โบราณวัตถุในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และในยุค
   ของจัดแสดง
   แนวทางการจัดแสดง ปัจจุบัน พิพิธภัณสถานแห่ง
    ชาติ พระนคร แบ่งการจัดแสดง ออกเป็น 3 หัวเรื่อง
    ใหญ่ ๆ คือ
   ประวัติศาสตร์ชาติไทย จัดแสดงในพระที่นงศิวโมก
                                         ั่
    ขพิมาน
   ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย
    จัดแสดงตามยุคสมัย คือ
       สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารส่วนหลัง ของ
        พระทีนงศิวโมกขพิมาน
              ่ ั่
       สมัยประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารใหม่ 2 หลัง ที่
        สร้างขนาบสองข้างของหมูวิมานเมือ พ.ศ. 2510 โดย
                                  ่     ่
        แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ สมัยก่อนพุทธศักราช 1800 ได้แก่
   3.ประณีตศิลป์ และ ชาติพันธุวิทยา จัดแสดงในหมู่
                                   ์
    พระวิมาน คือ พระที่นั่งวสันตพิมาน พระที่นั่งวายุ
    สถานอมเรศ และ พระที่นงพรหมเมศธาดา ศิลป
                              ั่
    โบราณวัตถุที่จัดแสดง ได้แก่ เครื่องทอง เครื่องถม 
    เครื่องมุก เครื่องดนตรี เครื่องไม้จำาหลัก ผ้าโบราณ
    เครื่องถ้วย เครื่องสูง ราชยานคานหาม อาวุธโบราณ
    เครื่องใช้ในพิธีพระพุทธศาสนา และ อัฐบริขารของ
                     พระพุ
    สงฆ์ และ เครื่องการละเล่นต่าง ๆ เช่น หัวโขน หุ่น
    กระบอก หุ่นเล็ก และหนังใหญ่ เป็นต้น นอกจากนี้ ยัง
    มี ราชรถที่ใช้ในกระบวนแห่พระบรมศพ คือพระมหา
    พิชยราชรถ เวชยันตรราชรถ ราชรถน้อย และ เครื่อง
        ั
    ประกอบการพระราชพิธีต่าง ๆ ที่ใช้ใน พระราชพิธี
    ถวายพระเพลิงพระบรมศพ จัดแสดงใน อาคารโรง
    ราชรถ
   นอกจากศิลปะโบราณวัตถุแล้ว พิพิธภัณฑสถานแห่ง
    ชาติ พระนคร ยังมีโบราณสถานคือ พระที่นั่ง และ
                       โบราณสถาน
    พระตำาหนักบางองค์ ที่เป็นตัวอย่างของ งาน
    สถาปัตยกรรมไทยที่งดงาม เช่น พระที่นั่งพุทไธสวร
    รย์ ภายในพระที่นั่งประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ และมี
    จิตรกรรมฝาผนังที่งดงามยิ่ง พระที่นงอิศเรศราชานุ
                                         ั่
    สรณ์ ที่ประทับ ของ
    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระตำาหนัก
    แดง ที่ประทับ ของสมเด็จพระศรีสริเยนทราบรมราชินี
                                       ุ
    ในรัชกาลที่ 2 รวมไปถึง พระที่นั่งขนาดย่อม และ
    ศาลาทรงไทยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ศาลาสรง ศาลา
    สำาราญมุขมาตย์ พระที่นั่งมังคลาภิเษก และ พระที่นั่ง
    ปาฏิหาริย์ทัศนัย ด้วยเหตุนี้จึงทำาให้พิพิธภัณฑสถาน
    แห่งชาติ พระนคร ยังคงมีเอกลักษณ์ทาง
   พระที่น ั่ง ศิว โมกขพิม าน
   เดิมเคยเป็นห้องสำาหรับสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหา
    สุรสิงหนาท เสด็จออกขุนนางและบำาเพ็ญพระราชกุศล
    ต่าง ๆ ปัจจุบันจัดแสดงเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย
   สมัยสุโขทัย จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อตั้ง
    อาณาจักร สถาปัตยกรรม การชลประทานการผลิต
    เครื่องสังคโลก ศิลาจารึกหลักที่ 1 สมัยสุโขทัย (พุทธ
    ศตวรรษที่ 19)
   สมัยกรุงศรีอยุธยา จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
    การเมือง การปกครองและเหตุการณ์ณ์สำาคัญใน
    ประวัติศาสตร์ ตู้จัดแสดงเหตุการณ์สงครามเสียพระสุ
    ริโยทัย พ.ศ. 2091
   สมัยรัตนโกสินทร์ จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหา
                        จั
   พระที่น ั่ง พุท ไธสวรรย์
   พระที่นงพุทไธสวรรค์ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1
           ั่
    สำาหรับประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ภายในมีภาพ
    จิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติและภาพเทพชุมนุม
   พระพุทธสิหิงค์ ตามตำานานกล่าวว่า เจ้าเมือง
    นครศรีธรรมราชได้มาจากลังกาแล้วนำาขึ้นไปถวาย
    พระเจ้ากรุงสุโขทัย จากนั้นได้ถูกอัญเชิญไป
    ประดิษฐานหลายเมือง เช่น กรุงศรีอยุธยา
    กำาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่
   พระพุทธสิหิงค์ ศิลปะสุโขทัย สำาริดกะไหล่ทอง สูง
    166 ซม.
   ภาพเขียนพุทธประวัติ ตอนเทศนาโปรดพุทธมารดา
    บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จิตรกรรมฝาผนังในพระที่นง   ั่
   พระตำา หนัก แดง
   เดิมนั้นตั้งอยู่บริเวณด้านหลังพระที่นั่งดุสิตมหา
    ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง 
    พระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟ้า จุฬ าโลกมหาราช
     รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดฯให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับ
    ของสมเด็จพระพี่นางเธอ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระศรี
    สุดารักษ์ ซึ่งเป็นพระพี่นางพระองค์เล็ก และก็ได้สร้าง
    พระตำาหนักเขียวขึ้นเพื่อถวายเป็นที่ประทับของ
    สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสุดาวดี ซึ่ง
    เป็นพระพี่นางพระองค์ใหญ่
   เมื่อสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระศรีสดารักษ์สนพระชนม์
                                 ุ       ิ้
    ใน พ.ศ. ๒๓๓๒ แล้ว พระธิดา คือ เจ้าฟ้าหญิง
    บุญรอด ได้ทรงครอบครองตำาหนักแดงต่อมา จน
    กระทั่งทรงย้ายไปประทับกับพระบาทสมเด็จ
    พระพุทธเลิศหล้านภาลัยผู้ทรงเป็นพระภัศดา (ใน
    ขณะที่ทรงดำารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูก
    ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) ณ พระราชวัง
    เดิม กรุงธนบุรี
   และเมื่อสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เสด็จ
    เถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธ
    เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงย้ายที่ประทับ
    จากพระราชวังเดิม กรุงธนบุรีมาประทับในพระบรม
    มหาราชวังพร้อมกับสมเด็จ พระศรีส ร ิเ ยนทราบ
                                       ุ
   ๑. สมเด็จเจ้าฟ้าชายมงกุฏ (ได้เสด็จเถลิงถวัลยราช
    สมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    รัชกาลที่ ๔)
   ๒. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี (ได้รับพระราชทานพระ
    บวรราชาภิเษกเป็น 
    พระบาทสมเด็จ พระปิน เกล้า เจ้า อยู่ห ัว  )
                            ่
   ครั้นถึงรัชกาลที่ ๓ สมเด็จพระศรีสริเยนทราบรม
                                     ุ
    ราชินี ในรัชกาลที่ ๒ ได้เสด็จออกไปประทับอยู่
    พระราชวังเดิมกับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่
    หัว ด้วยเหตุที่ว่าในระยะเวลาช่วงนั้น ภายในพระบรม
    มหาราชวังมีการเปลี่ยนแปลงให้รื้อตำาหนักเครื่องไม้
    ในพระราชวังหลวงสร้างเป็นตำาหนักตึก รัชกาลที่ ๓
    จึงได้พระราชทานตำาหนักแดงของเดิมให้ไปปลูก
   เมื่อสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี สวรรคตใน
    รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ
    พ.ศ. ๒๓๗๙ พระบาทสมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัว
                                     ่
    ได้ทรงย้ายที่ประทับจากพระราชวังเดิม กรุงธนบุรีมา
    อยู่ภายในพระราชวังบวรสถานมงคล จึงโปรดเกล้าฯ
    ให้รื้อตำาหนักแดงจากพระราชวังเดิมให้มาสร้างใหม่ที่
    ท้ายพระบวรราชวัง (บริเวณที่ตั้งของอาคารประพาส
    พิพิธภัณฑ์ในปัจจุบน) เมื่อพระบาท
                        ั
    สมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระตำาหนักแดง
                 ่
    ไม่ได้รับการดูแลจึงชำารุดทรุดโทรมตามกาลเวลา จน
    กระทั่งถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่
    หัว รัชกาลที่ ๗ ปี พ.ศ. 2470 สมเด็จพระศรีสวรินท
    ราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จประพาส
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ได้ทอดพระเนตรเห็นพระ
   ต่อมาในปี 2506 ได้มีการปฏิสงขรณ์อีกครั้งหนึ่ง
                                      ั
    โดยได้ย้ายพระตำาหนักแดง ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ
    หมู่พระวิมานมาปลูกที่หลังพระที่นั่งศิวโมกขพิมานดัง
    ที่เห็นในปัจจุบนั
   การจัด แสดง  ภายในพระตำาหนักแดงมีการจัดแสดง
    สิงของ เครื่องใช้ของชนชั้นสูง ส่วนใหญ่เป็นศิลปวัตถุ
      ่
    ที่เป็นเครื่องประดับบ้าน เช่น ตู้เท้าสิงห์ โต๊ะและเก้าอี้
    เท้าสิงห์ โถเบญจรงค์ หีบใส่ผาของชนชันสูง และ
                                   ้            ้
    ศิลปวัตถุของผู้ครอบครองตำาหนัก ได้แก่ พระแท่น
    บรรทม และฉลองพระบาทของสมเด็จพระศรีสริเยน         ุ
    ทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 โคมส่องเสด็จของ
    สมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัว
                  ่
   พระที่น ั่ง อิศ ราวิน จ ฉัย
                          ิ
   สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพย์ในสมัย
    รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้า ให้สร้างขึ้นเป็นท้องพระ
    โรงใช้เป็นที่เสด็จออก ปัจจุบันใช้เป็นห้องจัด
    แสดงนิทรรศการพิเศษหมุนเวียนตลอดปี
   ห้องมุขกระสัน ภายในห้องมหรรฆภัณฑ์ซึ่งเก็บ
    รักษาและจัดแสดงเครื่องทองที่ได้จากการขุดค้น
    ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเครื่องทองใน
    สมัยรัตนโกสินทร์
   พระพุทธรูปบุทอง ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธ
   พระที่น ง ภิม ข มณเฑีย ร
              ั่     ุ
   จัดแสดงเครื่องราชยาน คานหาม สัปคับ เสลี่ยง
    กง เสลี่ยงหิ้วและสีวิกา
   พระที่นั่งราเชนทรยาน สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1
    ไม้จำาหลักปิดทองประดับกระจก กว้าง 103 ซม.
    ยาว 191 ซม. สูง 415 ซม. ใช้สำาหรับราชพิธี
   [แก้]พระที่น ง ทัก ษิณ าภิม ข
                  ั่            ุ
   เคยเป็นที่ประทับในสมัยสมเด็จพระบวรเจ้ามหา
    ศักดิพลเสพย์ ปัจจุบันจัดแสดงเครื่องการละเล่น
    หุ่น หัวโขน หนังใหญ่ เครื่องแต่งกาย ละคร
    เครื่องกีฬาไทย หมากรุกงา ปีกระเบื้อง ตัวหวย
                                  ้
    กอ ขอ
   ตัวหนังใหญ่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ทำาด้วยหนังวัว
   พระที่น ั่ง วสัน ตพิม าน
   ชันล่าง จัดแสดงเครื่องถ้วยล้านนา ลพบุรี
      ้
    เบญจรงค์ลายนำ้าทอง เครื่องถ้วยญี่ปน และ
                                      ุ่
    เครื่องถ้วยยุโรป
   ชามเบญจรงค์ ศิลปะไทย – จีน สมัยอยุธยาดิน
    เผาเนื้อกระเบื้อง
   [แก้]พระที่น ั่ง วสัน ตพิม าน
   ชันบน จัดแสดงงาช้าง งาช้างจำาหลัก และเครื่อง
        ้
    ใช้ที่ทำาจากงาช้าง
   งาช้างแกะสลักเป็นพระพุทธรูป ศิลปะพม่า (พุทธ
    ศตวรรษที่ 25) สูงพร้อมฐาน 8. ซม.
   พระที่น ง ปัจ ฉิม าภิม ุข
            ั่
   จัดแสดงของใช้ประดับมุก เครื่องมุกส่วนใหญ่
    เป็นของสมเด็จ ฯ กรมพระนครสวรรค์พินต   ิ
    ประทานพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
   เตียบ สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 25)
    หวายแลไม้ลงรักประดับมุข ปากกว้าง 49.5 ซม.
    สูงพร้อมฝา 62 ซม.
   [แก้]พระที่น ง ปฤษฎางคภิม ุข
                 ั่
   จัดแสดงหุ่นจำาลองม้าและช้างทองเครื่องคชาธาร
    อาวุธภัณฑ์สมัยโบราณและกลองศึก
   เกี่ยวกับการเข้าชมพิพธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
                            ิ
   ระเบีย บปฏิบ ัต ิใ นการเข้า ชม
   ผู้เข้าชมพิพธภัณฑสถานแห่งชาติ ต้องแต่งกายให้เป็นที่
                 ิ
    เรียบร้อยและต้องไม่ปฏิบัติดังต่อไปนี้
   นำาหีบห่อและสิ่งใด ๆ ทีอาจบรรจุปกคลุมปิดบังหรือซ่อน
                              ่
    เร้นสิงของในพิพธภัณฑสถานแห่งชาติออกไป เข้าไปใน
           ่           ิ
    ห้องจัดตั้งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ
   ก่อความรำาคาญด้วยประการใด ๆ แก่เจ้าหน้าทีหรือผู้เข้า
                                                 ่
    ชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
   จับต้องหรือหยิบฉวยสิ่งของทีจัดตั้งแสดงไว้ใน
                                 ่
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
   สูบบุหรี่ในห้องทีจัดตั้งโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ
                     ่
   ขีด เขียน จารึก หรือทำาความสกปรกแก่สิ่งของและอาคาร
    สถานทีในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
             ่
   การบริก าร
   บริการนำาชมเป็นหมูคณะ โดยการนัดหมาย
                      ่
   บริการสื่อโสตทัศนศึกษา โดยการนัดหมาย
   บริการให้ยมนิทรรศการหมุนเวียน โดยการนัดหมาย
               ื
   บริการให้ยมภาพถ่าย โดยการนัดหมาย
                 ื
   บริการห้องสมุดทุกวันยกเว้นวันจันทร์-อังคาร (วันหยุด
    ของพิพธภัณฑ์)
            ิ
   บริการนำาชมคนไทยทุกวันอาทิตย์ 2 รอบ ดังนี้ เวลา
    10.00 น. และ 13.30 น. โดยอาสาสมัคร
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
   บริการนำาชมภาษาต่างประเทศ โดยกลุ่มสตรีอาสาสมัคร
       วันพุธ เวลา 09.30 น. ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น
       วันพฤหัสบดี เวลา 09.30 น. ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส
        ภาษาเยอรมัน
   เวลาทำา การ  09.00-16.00 น. ปิดวันจันทร์ วันอังคาร
   ประวัติ
   พระทีนั่งวิมานเมฆเป็นพระที่นั่งที่สร้างด้วยไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุด
           ่
    ในโลก และเป็นพระที่นงถาวรองค์แรกในพระราชวังดุสิต 
                             ั่
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
    ขึ้นในพระราชวังดุสิต (ซึ่งในรัชสมัยของพระองค์เรียกว่า
    พระราชวังสวนดุสิต) ใน พ.ศ. 2444 โดยโปรดเกล้าฯ ให้รื้อ
    พระทีนั่งมันธาตุรัตนโรจน์ ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่เกาะสีชัง
             ่                                             เกาะสี
    เมื่อ พ.ศ. 2435 แต่ยังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยโปรดเกล้าฯ
    ให้พระราชโยธาเทพ (กร หงสกุล ต่อมาเป็นพระยาราชสงคราม)
    เป็นนายงานรื้อพระที่นงมันธาตุรัตนโรจน์จากเกาะสีชังมาสร้าง
                          ั่
    ในสวนดุสิต และพระราชทานนามว่า "พระที่น ั่ง วิม านเมฆ "[1]
     และทรงวางศิลาฤกษ์พระที่นั่งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.
    2443[2] โปรดเกล้าฯ ให้
    สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
   พระที่นั่งวิมานเมฆสร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง มี
    ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่งดงามประณีตและได้
    รับอิทธิพลการก่อสร้างแบบตะวันตก การก่อสร้าง
    แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2444 และได้เสด็จ
    มาประทับที่พระที่นงวิมานเมฆ จนกระทั่ง
                      ั่
    พระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นใน
    พ.ศ. 2445 สร้างเสร็จเรียบร้อยใน พ.ศ. 2449
     พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้
    เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับที่พระที่นงอัมพร
                                            ั่
    สถานเป็นการถาวร จนกระทั่งเสด็จสวรรคตเมือวัน  ่
    ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 และพระที่นั่งวิมานเมฆ
    ยังคงเป็นสถานที่ประทับของเจ้านายจนกระทั่งสิน    ้
    รัชกาล เจ้านายฝ่ายในและข้าราชบริพารจึงได้กลับ
    มาประทับที่พระบรมมหาราชวัง
                 พระบรมมหาราชวั
   ในรัชสมัย
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด
    เกล้าฯ ให้
    สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา
    ประทับที่พระที่นั่งวิมานเมฆในพ.ศ. 2468 แต่
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ
    สวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
     สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชายา
    ก็ทรงย้ายออกจากพระที่นั่งวิมานเมฆ และจาก
    นั้นมา พระที่นงวิมานเมฆก็มิได้เป็นพระราชฐาน
                  ั่
    ที่ประทับของเจ้านายอีก
   ในรัชกาลปัจจุบน พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีที่ฉลอง
                     ั
    กรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี 
    สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรง
   ลักษณะขององค์พระทีนง    ่ ั่
   พระทีนงองค์นี้ เป็นอาคารแบบวิตอเรีย ได้รับอิทธิพล
           ่ ั่
    จากสถาปัตยกรรมยุโรป ผสมกับไทยประยุกต์ องค์
    พระทีนงเป็นรูปอักษรตัวแอล (L) ในภาษาอังกฤษ ยาว
            ่ ั่
    ด้านละ 60 เมตร สูง 20 เมตร เป็นอาคาร 3 ชั้น ยกเว้น
    ตรงส่วนทีประทับซึ่งมีรูปร่างเป็นแปดเหลี่ยม มี 4 ชั้น
                 ่
    ชั้นล่างสุดก่ออิฐ ถือปูน ชั้นถัดขึ้นไปสร้างด้วยไม้สักทอง
    ทังหมดทาด้วยสีครีมอ่อนหลังคาสีแดง และหลังคาเป็น
      ้
    ทรงไทยประยุกต์ มีลวดลายตามหน้าต่าง และช่องลมซึง        ่
    ฉลุเป็นลายทีเรียกว่าขนมปังขิง
                   ่
   สำาหรับพระทีนั่งวิมานเมฆนี้จะแบ่งเป็นห้องชุดต่างๆ 5 สี
                     ่
    ด้วยกัน คือสีฟา เขียว ชมพู งาช้าง และสีลูกพีช (ชมพู
                       ้
    อมส้ม) แต่ละห้องจะจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้สวน   ่
    พระองค์ของรัชกาลที่ 5 รวมถึงเจ้านายชั้นสูง เช่น ห้อง
    สีเขียว เป็นห้องเครื่องเงินจากประเทศจีน ส่วนชั้นสอง
จัดทำาโดยกลุ่ม 3
   ด.ช.โธรัยห์ คำาไวย์ ม.3/7 เลขที่ 3
   ด.ช.นนทกฤต จันทร์หอม ม.3/7 เลขที่ 10
   ด.ช.อัครพนธ์ สังข์กังวาลย์ ม.3/7 เลขที่ 17
   ด.ช.ชนกชนม์ ปานแดง ม.3/7 เลขที่ 24
   ด.ช.วิกรม ทรงบุญเขตกุล ม.3/7 เลขที่ 31
   ด.ญ.พลอยไพลิน ศรีบญ ม.3/7 เลขที่ 38
                          ุ
   น.ส.ภิณฑกานต์ ไก่แก้ว ม.3/7 เลขที่ 45

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)sungetbackers
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยpongpangud13
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...A'mp Minoz
 
Watniwettammapawat40
Watniwettammapawat40Watniwettammapawat40
Watniwettammapawat40xiaotuzi
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
งานนำเสนอ31ส.ค
งานนำเสนอ31ส.คงานนำเสนอ31ส.ค
งานนำเสนอ31ส.คPornpan Larbsib
 

Was ist angesagt? (19)

อังคนา
อังคนาอังคนา
อังคนา
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
Hawaii
HawaiiHawaii
Hawaii
 
อังคนา
อังคนาอังคนา
อังคนา
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Wat arun
Wat arunWat arun
Wat arun
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...
 
Watniwettammapawat40
Watniwettammapawat40Watniwettammapawat40
Watniwettammapawat40
 
357
357357
357
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
Wat pho part01
Wat pho part01Wat pho part01
Wat pho part01
 
งานนำเสนอ31ส.ค
งานนำเสนอ31ส.คงานนำเสนอ31ส.ค
งานนำเสนอ31ส.ค
 

Andere mochten auch

Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)Rini Dwi Septiani
 
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural Safety
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural SafetyMajor construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural Safety
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural SafetyAzea Ltd
 
Sense tu
Sense tuSense tu
Sense tuapipu96
 
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and Briefings
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and BriefingsA Behavioural Approach - Enhancing Communications and Briefings
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and BriefingsAzea Ltd
 
Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)Rini Dwi Septiani
 
SHINKO Advisors - Corporate Brochure
SHINKO Advisors - Corporate BrochureSHINKO Advisors - Corporate Brochure
SHINKO Advisors - Corporate BrochureVenugopal Tenkayala
 
De presentatie van nordine
De presentatie van nordineDe presentatie van nordine
De presentatie van nordineNordine Balti
 
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)Nabila Ramadhania
 
Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)Rini Dwi Septiani
 
Design and analysis of 2D repetitive pattern
Design and analysis of 2D repetitive patternDesign and analysis of 2D repetitive pattern
Design and analysis of 2D repetitive patternTaisuke Ohshima
 

Andere mochten auch (20)

Rujak buah copy
Rujak buah   copyRujak buah   copy
Rujak buah copy
 
Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)
 
Rujak buah copy
Rujak buah   copyRujak buah   copy
Rujak buah copy
 
Rini presentasi (2)
Rini presentasi (2)Rini presentasi (2)
Rini presentasi (2)
 
Presentasi rizjal
Presentasi rizjalPresentasi rizjal
Presentasi rizjal
 
Rini presentasi (2)
Rini presentasi (2)Rini presentasi (2)
Rini presentasi (2)
 
Drill 4
Drill 4Drill 4
Drill 4
 
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural Safety
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural SafetyMajor construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural Safety
Major construction company - Training Foreign Nationals in Behavioural Safety
 
Drill 5
Drill 5Drill 5
Drill 5
 
Sense tu
Sense tuSense tu
Sense tu
 
Power Gaming
Power GamingPower Gaming
Power Gaming
 
9 (his) 21.1.11
9 (his) 21.1.119 (his) 21.1.11
9 (his) 21.1.11
 
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and Briefings
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and BriefingsA Behavioural Approach - Enhancing Communications and Briefings
A Behavioural Approach - Enhancing Communications and Briefings
 
Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)
 
SHINKO Advisors - Corporate Brochure
SHINKO Advisors - Corporate BrochureSHINKO Advisors - Corporate Brochure
SHINKO Advisors - Corporate Brochure
 
De presentatie van nordine
De presentatie van nordineDe presentatie van nordine
De presentatie van nordine
 
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)
Biologi reproduksi(kelompok4 kelas 9.4)
 
Pm tips
Pm tipsPm tips
Pm tips
 
Presentasi basing (how to make) copy (2)
Presentasi basing (how to make)   copy (2)Presentasi basing (how to make)   copy (2)
Presentasi basing (how to make) copy (2)
 
Design and analysis of 2D repetitive pattern
Design and analysis of 2D repetitive patternDesign and analysis of 2D repetitive pattern
Design and analysis of 2D repetitive pattern
 

Ähnlich wie พิพิธภัณฑ์ในบางกอก

วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9Varit Sanchalee
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาPRINTT
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์Patcha Jirasuwanpong
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
สวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลสวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลNankanjana Pakla
 
สวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลสวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลNankanjana Pakla
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a daypatmalya
 

Ähnlich wie พิพิธภัณฑ์ในบางกอก (20)

วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
สวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลสวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑล
 
สวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑลสวนพุทธมณฑล
สวนพุทธมณฑล
 
วัด
วัดวัด
วัด
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
Kompech5 2 2
Kompech5 2 2Kompech5 2 2
Kompech5 2 2
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
A day
A dayA day
A day
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 

พิพิธภัณฑ์ในบางกอก

  • 1.
  • 2.
  • 3. ประวัติ  โครงการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มศิลปินร่วมสมัยแห่งประเทศไทยนับพันคน ได้จัดแสดงผลงานที่ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยหวังให้  โดยหวั สังคมเห็นว่า มีศลปินมากพอที่ควรจะมี หอศิลป์ มาเป็นพื้นที่ ิ รองรับในการแสดงออกผลงาน และเก็บรักษาผลงานในอดีตและ ประวัติศาสตร์ เป็นที่รวมกลุมศิลปิน เพื่อพบปะ แลกเปลี่ยนความ ่ คิด แนวการทำางาน ผลก็คือการผลักดันให้เกิดการพัฒนาของ วงการศิลปะในบ้านเมืองนี้  สมัยของ ดร.พิจิตต รัตตกุลได้รับตำาแหน่งเป็นผู้วา กทม. มีการ ่ ผลักดันจนกระทั่ง กทม. มีนโยบายที่จะสร้างหอศิลป์ขึ้น มีการ กำาหนดพืนที่ตั้งหอศิลป์ที่บริเวณสี่แยกปทุมวัน และผู้ชนะจาก ้ การประกวดแบบหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ได้แก่ บริษัท Robert G. Boughey & Associates (RGB Architects) ความพร้อมทั้งหมดนี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2539 แต่ ในสมัยของนายสมัคร สุนทรเวช ผู้ว่า กทม. คนต่อมา โครงการ
  • 4. จากการเคลื่อนไหวเรียกร้องต่อสู้เพื่อให้มีหอศิลป์โดยเครือข่าย ประชาชนและกลุ่มศิลปินที่ยาวนาน จนกระทั่งกรุงเทพมหานคร โดยผู้ว่าราชการฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ได้เล็งเห็นความ สำาคัญของศิลปวัฒนธรรม และได้วางนโยบายด้านศิลป วัฒนธรรมเป็นนโยบายหลัก โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความ เข้าใจ ของเด็ก เยาวชน และประชาชนในสังคม ให้ตระหนักถึง คุณค่าของศิลปวัฒนธรรม สภาแห่งกรุงเทพมหานครจึงได้อนุมัติ งบประมาณดำาเนินการก่อสร้างหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร 509 ล้านบาท[1] เพื่อผลักดันให้ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งศิลปวัฒนธรรม ซึ่งหอศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (Bangkok Art and Culture Centre or bacc) ได้เริ่มก่อสร้างในที่ดินของกรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกปทุมวัน และได้มีการเปิดโครงการหอศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครอย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2548  ในกำาหนดการเดิม หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จะ
  • 5. ตัวอาคารสูง 9 ชั้น (บวกอีก 2 ชันใต้ดิน) โดย ้ ในตัวอาคารถูกออกแบบมาให้เป็นทรงกระบอก ซึ่งสามารถเชือมต่อระหว่างอาคารได้ด้วยทาง ่ เดินวน เป็นแนวเอียงขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้คนที่เข้ามา ชมผลงาน สามารถชมได้ต่อเนื่องในแต่ละชั้น นอกจากนีตัวอาคารยังออกแบบมาให้สามารถ ้ รับแสงสว่างจากภายนอกได้ โดยที่แสงไม่แรง พอจะที่เข้ามาถึงขนาดทำาลายผลงานศิลปะที่ แสดงอยู่ข้างในได้ นอกจากห้องนิทรรศการที่มี อยู่หลายส่วนแล้ว ภายในยังมีส่วนที่เป็นห้อง สมุดประชาชน, ห้องปฏิบัติการศิลปะ, ห้อง
  • 6. หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ สี่แยกปทุมวัน หัวมุมถนนพระราม 1 และถนน พญาไท  ตรงข้ามห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่  สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 48, 50, 54,  73, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ.501, ปอ.508  และ ปอ.529  เรือสายในคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่าน ฟ้า-ประตูนำ้า ขึ้นที่
  • 7. รถไฟฟ้าลงสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ โดยชัน 3 ของ ้ หอศิลปฯ มีทาง เดินเชือมต่อกับทางยกระดับสถานี รถไฟฟ้า BTS ่ สนามกีฬา แห่งชาติ   เดินทางได้ 2 เส้นทาง คือ  - เส้นทางถนนพญาไท (จากอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ) ข้ามสะพาน หัวช้าง ชิดขวาเข้าทางเข้า หอศิลปฯ (ก่อนข้ามสี่แยก ปทุมวัน)  - เส้นทางถนนพระราม 1 (จากสนามกีฬาแห่งชาติ) เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพญาไท และเลี้ยวซ้าย 
  • 8. เวลาเปิดบริการวันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00- 21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ส่วนสำานักงาน เปิดทำาการตั้งแต่เวลา 9.30-18.30 น.  ไม่มีค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรม และการแสดง เป็นกรณีพิเศษ  มีที่จอดรถให้บริการ 2 ชั้น  ชันจอดรถ B1 สามารถจอดรถได้ 56 คัน  ้ ชันจอดรถ B2 สามารถจอดรถได้ 62 คัน ้
  • 9. บ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ตั้งอยู่ทเลขที่ ๑๙ ซอยพระพินจ ี่ ิ สาทรใต้ ซึ่งคนทัวไปเคยเรียกกันว่า บ้านซอยสวนพลู ่ เป็นบ้านที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ อยูอาศัยมา ๓๕ ปี จนถึง ่ อสัญกรรม เมือ พ.ศ. ๒๕๔๓ กรมศิลปากรได้ขึ้น ่ ทะเบียนเป็นโบราณสถานประเภทบ้านบุคคลสำาคัญ โด ยม.ล.รองฤทธิ์ ปราโมช เป็นเจ้าของบ้านคนปัจจุบัน  ในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซอยที่แยกจากถนน สาทรใต้ไปทางถนนนางลิ้นจีและทะลุออกถนนจันทร์ ่ ซึงปัจจุบันเรียกว่าซอยสาทร ๓ นัน เรียกว่า ซอย ่ ้ สวนพลู ซึ่งยังมีซอยเล็กๆ แยกคดเคี้ยวไปในเขต ทุงมหาเมฆอีกหลายซอย กรุงเทพมหานครยังคงรักษา ่
  • 10. ซอยพระพินิจ เป็นซอยแยกที่อยู่ถดจากซอยสวนพลู ๗ มาทาง ั ปากทางเข้าด้านถนนสาทรใต้ ในสมัยนั้นทุ่งมหาเมฆยังไม่มีผู้คน อาศัยอยู่แออัดเช่นในปัจจุบัน ส่วนมากยังคงเป็นเรือกสวนปลุก ต้นหมากต้นพลู ที่ดินยังมีราคาถูกมากเพราะถือว่าเป็นเขต ชานเมือง เมื่อปลายสงครามโลกประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๔ ม.ร.ว.คึก ฤทธิ์ได้ซื้อที่ดินในซอยนี้ไว้ ๕ ไร้เศษ ราคาตารางวาละ ๗ บาท ซึ่งเจ้าของเดิมให้เช่าเป็นสวนปลูกต้นพลู หลังจากนั้นได้ไปเห็น เรือนไทยหลังหนึ่งแถวเสาชิงช้า ซึ่งเทศบาลกรุงเทพฯ ได้เวนคืน มาเพราะต้องการใช้ที่บริเวณนั้น สร้างศาลาว่าการ กรุงเทพมหานคร แม้จะอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก ก็ยังเห็นได้ว่า เป็นเรือนไทยแบบภาคกลาง ที่ปลูกอย่างประณีตงดงาม จึงขอ ซื้อจากเทศบาลกรุงเทพฯ ในราคา ๒,๗๐๐ บาท โดยเพิ่มราคา ให้อก ๗๐๐ บาทจากราคาต้นทุนที่ทางเทศบาลได้คำานวณและ ี เสนอขาย “เทศบาลกรุงเทพฯ บอกว่าไม่เคยขายอะไรได้กำาไร
  • 11. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์อธิบายว่า นอกจากเหตุผลทีในสมัยก่อน ่ การสร้างบ้านไม้ราคาถูกกว่าบ้านที่เป็นตึกมากแล้ว ท่านมีความใฝ่ฝันจะอยูในบ้านแบบไทย “เพราะรัก ่ เรือนไทยมานานแสนนาน เนื่องจากเห็นความสวยงาม อยากอยูอย่างไทย มีนอกชานเล่น” ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ได้ทิ้ง ่ เรือนหลังนีไว้ในทีเดิม จนกระทังไปเห็นว่ามีคนแกะ ้ ่ ่ บานประตูหน้าต่างไป จึงไปร้องเรียนให้ทางเทศบาล ติดตามมาจนครบ และได้รื้อถอนมากองไว้ในทีดินที่ซอ ่ ื้ ไว้อีกหลายปี จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๓ จึงคิดทีจะปลูก ่ สร้างบ้านอยูเป็นการถาวร และได้ให้นายนำ้าเชื่อม เล็ก ่ ประทุม ซึงเป็นผู้รับใช้ใกล้ชิดมานาน ไปเสาะหาเรือน ่ แบบเรือนภาคกลางอีก ๒ หลังมาจากบ้านเดิมทีผักไห่ ่
  • 12. ชุมชนชาวผักไห่มีความผูกพันกับราชสกุล ปราโมชมานาน เพราะบรรพบุรุษเคยเป็น มหาดเล็กฝีพาย ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของพระ เจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำารบ บิดาของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ บ้าน ๓ หลังนี้สร้างเสร็จในเวลา ๖ เดือน ท่านเจ้าของบ้าน ได้ให้ทำาพายมี ลวดลายสีทอง ประดับไว้บนเหนือประตูเรือน ประธาน “เป็นการเซ็นชื่อ” ได้เข้าอยู่อาศัยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ และได้เรียกขานกันว่า บ้านซอย สวนพลูอันลือลั่น
  • 13. พิพ ธ ภัณ ฑสถานแห่ง ชาติ พระนคร  ตั้งอยู่ใน ิ บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือส่วนหนึงของที่ ่ ประทับวังหน้า (พื้นทีพระราชวังของสมเด็จพระบวร ่ ราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมามีอาณาเขตตั้งแต่ บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ สนามหลวงตอนเหนือ อนุสาวรียทหาร ์ อาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน) ในสมัยรัชกาล ที่ 1 ตั้งอยู่ทถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรมหา ี่ ถนนหน้  แขวงพระบรมหา ราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่าง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และโรงละครแห่งชาติตรง  และ ตรง ข้ามสนามหลวง ประกอบด้วยหมูพระทีนงต่าง ๆ ได้แก่  ่ พระที่ ั่ พระทีนงศิวโมกขพิมาน พระทีนงพุทไธสวรรย์  ่ ั่ ่ ั่
  • 14. ประวัติ  การจัดตั้งพิพธภัณฑ์ในประเทศไทยนั้นเริ่มขึ้นในรัชสมัย ิ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หว โดยพระองค์ทรงจัดตั้ง ั พิพิธภัณฑ์สวนพระองค์ขึ้นทีพระทีนั่งราชฤดีซึ่งตั้งอยู่บริเวณ ่ ่ ่ ด้านข้างของพระทีนั่งอมรินทรวินจฉัย ต่อมา เมื่อพระองค์ทรง ่ ิ สร้างพระอภิเนาว์นเวศน์ขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง จึงโป ิ ขึ รดฯ ให้ยายโบราณวัตถุและของแปลก ๆ มาไว้ยง ้ ั พระทีนงประพาสพิพธภัณฑ์ในหมูพระอภิเนาว์นเวศน์ ซึ่งนับ ่ ั่ ิ ่ ิ เป็นพิพธภัณฑ์ส่วนพระองค์ หรือ “รอยัล มิวเซียม” (Royal ิ Museum) มิได้เปิดให้ประชาชนทัวไปเข้าชม[1][2] ่  ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว ั  พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง พิพิธภัณฑสถานสำาหรับพระนครขึ้นที่หอคองคอเดีย ( ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมือวันที่ 19 ่ กันยายน พ.ศ. 2417ซึ่งนับเป็นวันกำาเนิดของ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย[3]  พิพธภัณฑสถานตั้งอยูภายในพระบรมมหาราชวังเป็นเวลา ิ ่
  • 15. ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว เจ้า ่ นายฝ่ายกรมพระราชวังบวรฯ เหลือน้อยพระองค์ พระองค์จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรฯ เข้าไปประทับในพระบรมมหาราชวัง และพระราชทานพระ มหามณเฑียร ณ ขณะนันให้เป็นโรงทหาร จนถึงรัชสมัย ้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูหัว พระองค์โปรดฯ ให้ย้าย ่ โรงทหารไปอยู่ที่วังจันทรเกษม (บริเวณกระทรวงศึกษาธิการ วั  ในปัจจุบัน) ส่วนพระราชมณเฑียรของพระราชวังบวรฯ ทังหมดจัดเป็นพิพิธภัณฑสถานสำาหรับพระนครและหอสมุด ้ พระวชิรญาณเพื่อจัดตั้งเป็น พิพ ธ ภัณ ฑสถานสำา หรับ ิ พระนคร  เมื่อ พ.ศ. 2469[5] ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เป็น พิพ ิธ ภัณ ฑสถานแห่ง ชาติ พระนคร  เมื่อ พ.ศ. 2477  ในปี พ.ศ. 2510 ได้สร้างอาคารเพิมขึ้นอีก 2 หลัง คือ ่ "อาคารมหาสุรสิงหนาท" ปัจจุบัน จัดแสดงความเป็นมา ศิลป วัตถุ โบราณวัตถุในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และในยุค
  • 16. ของจัดแสดง  แนวทางการจัดแสดง ปัจจุบัน พิพิธภัณสถานแห่ง ชาติ พระนคร แบ่งการจัดแสดง ออกเป็น 3 หัวเรื่อง ใหญ่ ๆ คือ  ประวัติศาสตร์ชาติไทย จัดแสดงในพระที่นงศิวโมก ั่ ขพิมาน  ประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย จัดแสดงตามยุคสมัย คือ  สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารส่วนหลัง ของ พระทีนงศิวโมกขพิมาน ่ ั่  สมัยประวัติศาสตร์ จัดแสดงในอาคารใหม่ 2 หลัง ที่ สร้างขนาบสองข้างของหมูวิมานเมือ พ.ศ. 2510 โดย ่ ่ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ สมัยก่อนพุทธศักราช 1800 ได้แก่
  • 17. 3.ประณีตศิลป์ และ ชาติพันธุวิทยา จัดแสดงในหมู่ ์ พระวิมาน คือ พระที่นั่งวสันตพิมาน พระที่นั่งวายุ สถานอมเรศ และ พระที่นงพรหมเมศธาดา ศิลป ั่ โบราณวัตถุที่จัดแสดง ได้แก่ เครื่องทอง เครื่องถม  เครื่องมุก เครื่องดนตรี เครื่องไม้จำาหลัก ผ้าโบราณ เครื่องถ้วย เครื่องสูง ราชยานคานหาม อาวุธโบราณ เครื่องใช้ในพิธีพระพุทธศาสนา และ อัฐบริขารของ พระพุ สงฆ์ และ เครื่องการละเล่นต่าง ๆ เช่น หัวโขน หุ่น กระบอก หุ่นเล็ก และหนังใหญ่ เป็นต้น นอกจากนี้ ยัง มี ราชรถที่ใช้ในกระบวนแห่พระบรมศพ คือพระมหา พิชยราชรถ เวชยันตรราชรถ ราชรถน้อย และ เครื่อง ั ประกอบการพระราชพิธีต่าง ๆ ที่ใช้ใน พระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพ จัดแสดงใน อาคารโรง ราชรถ
  • 18. นอกจากศิลปะโบราณวัตถุแล้ว พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ พระนคร ยังมีโบราณสถานคือ พระที่นั่ง และ โบราณสถาน พระตำาหนักบางองค์ ที่เป็นตัวอย่างของ งาน สถาปัตยกรรมไทยที่งดงาม เช่น พระที่นั่งพุทไธสวร รย์ ภายในพระที่นั่งประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ และมี จิตรกรรมฝาผนังที่งดงามยิ่ง พระที่นงอิศเรศราชานุ ั่ สรณ์ ที่ประทับ ของ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระตำาหนัก แดง ที่ประทับ ของสมเด็จพระศรีสริเยนทราบรมราชินี ุ ในรัชกาลที่ 2 รวมไปถึง พระที่นั่งขนาดย่อม และ ศาลาทรงไทยในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ศาลาสรง ศาลา สำาราญมุขมาตย์ พระที่นั่งมังคลาภิเษก และ พระที่นั่ง ปาฏิหาริย์ทัศนัย ด้วยเหตุนี้จึงทำาให้พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ พระนคร ยังคงมีเอกลักษณ์ทาง
  • 19. พระที่น ั่ง ศิว โมกขพิม าน  เดิมเคยเป็นห้องสำาหรับสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหา สุรสิงหนาท เสด็จออกขุนนางและบำาเพ็ญพระราชกุศล ต่าง ๆ ปัจจุบันจัดแสดงเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย  สมัยสุโขทัย จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อตั้ง อาณาจักร สถาปัตยกรรม การชลประทานการผลิต เครื่องสังคโลก ศิลาจารึกหลักที่ 1 สมัยสุโขทัย (พุทธ ศตวรรษที่ 19)  สมัยกรุงศรีอยุธยา จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเมือง การปกครองและเหตุการณ์ณ์สำาคัญใน ประวัติศาสตร์ ตู้จัดแสดงเหตุการณ์สงครามเสียพระสุ ริโยทัย พ.ศ. 2091  สมัยรัตนโกสินทร์ จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหา  จั
  • 20. พระที่น ั่ง พุท ไธสวรรย์  พระที่นงพุทไธสวรรค์ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ั่ สำาหรับประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ภายในมีภาพ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติและภาพเทพชุมนุม  พระพุทธสิหิงค์ ตามตำานานกล่าวว่า เจ้าเมือง นครศรีธรรมราชได้มาจากลังกาแล้วนำาขึ้นไปถวาย พระเจ้ากรุงสุโขทัย จากนั้นได้ถูกอัญเชิญไป ประดิษฐานหลายเมือง เช่น กรุงศรีอยุธยา กำาแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่  พระพุทธสิหิงค์ ศิลปะสุโขทัย สำาริดกะไหล่ทอง สูง 166 ซม.  ภาพเขียนพุทธประวัติ ตอนเทศนาโปรดพุทธมารดา บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จิตรกรรมฝาผนังในพระที่นง ั่
  • 21. พระตำา หนัก แดง  เดิมนั้นตั้งอยู่บริเวณด้านหลังพระที่นั่งดุสิตมหา ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง  พระบาทสมเด็จ พระพุท ธยอดฟ้า จุฬ าโลกมหาราช  รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดฯให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับ ของสมเด็จพระพี่นางเธอ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระศรี สุดารักษ์ ซึ่งเป็นพระพี่นางพระองค์เล็ก และก็ได้สร้าง พระตำาหนักเขียวขึ้นเพื่อถวายเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระเทพสุดาวดี ซึ่ง เป็นพระพี่นางพระองค์ใหญ่
  • 22. เมื่อสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระศรีสดารักษ์สนพระชนม์ ุ ิ้ ใน พ.ศ. ๒๓๓๒ แล้ว พระธิดา คือ เจ้าฟ้าหญิง บุญรอด ได้ทรงครอบครองตำาหนักแดงต่อมา จน กระทั่งทรงย้ายไปประทับกับพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยผู้ทรงเป็นพระภัศดา (ใน ขณะที่ทรงดำารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูก ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) ณ พระราชวัง เดิม กรุงธนบุรี  และเมื่อสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ได้ทรงย้ายที่ประทับ จากพระราชวังเดิม กรุงธนบุรีมาประทับในพระบรม มหาราชวังพร้อมกับสมเด็จ พระศรีส ร ิเ ยนทราบ ุ
  • 23. ๑. สมเด็จเจ้าฟ้าชายมงกุฏ (ได้เสด็จเถลิงถวัลยราช สมบัติ เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔)  ๒. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี (ได้รับพระราชทานพระ บวรราชาภิเษกเป็น  พระบาทสมเด็จ พระปิน เกล้า เจ้า อยู่ห ัว  ) ่  ครั้นถึงรัชกาลที่ ๓ สมเด็จพระศรีสริเยนทราบรม ุ ราชินี ในรัชกาลที่ ๒ ได้เสด็จออกไปประทับอยู่ พระราชวังเดิมกับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่ หัว ด้วยเหตุที่ว่าในระยะเวลาช่วงนั้น ภายในพระบรม มหาราชวังมีการเปลี่ยนแปลงให้รื้อตำาหนักเครื่องไม้ ในพระราชวังหลวงสร้างเป็นตำาหนักตึก รัชกาลที่ ๓ จึงได้พระราชทานตำาหนักแดงของเดิมให้ไปปลูก
  • 24. เมื่อสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี สวรรคตใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๙ พระบาทสมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัว ่ ได้ทรงย้ายที่ประทับจากพระราชวังเดิม กรุงธนบุรีมา อยู่ภายในพระราชวังบวรสถานมงคล จึงโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำาหนักแดงจากพระราชวังเดิมให้มาสร้างใหม่ที่ ท้ายพระบวรราชวัง (บริเวณที่ตั้งของอาคารประพาส พิพิธภัณฑ์ในปัจจุบน) เมื่อพระบาท ั สมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระตำาหนักแดง ่ ไม่ได้รับการดูแลจึงชำารุดทรุดโทรมตามกาลเวลา จน กระทั่งถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัว รัชกาลที่ ๗ ปี พ.ศ. 2470 สมเด็จพระศรีสวรินท ราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จประพาส พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ได้ทอดพระเนตรเห็นพระ
  • 25. ต่อมาในปี 2506 ได้มีการปฏิสงขรณ์อีกครั้งหนึ่ง ั โดยได้ย้ายพระตำาหนักแดง ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ หมู่พระวิมานมาปลูกที่หลังพระที่นั่งศิวโมกขพิมานดัง ที่เห็นในปัจจุบนั  การจัด แสดง  ภายในพระตำาหนักแดงมีการจัดแสดง สิงของ เครื่องใช้ของชนชั้นสูง ส่วนใหญ่เป็นศิลปวัตถุ ่ ที่เป็นเครื่องประดับบ้าน เช่น ตู้เท้าสิงห์ โต๊ะและเก้าอี้ เท้าสิงห์ โถเบญจรงค์ หีบใส่ผาของชนชันสูง และ ้ ้ ศิลปวัตถุของผู้ครอบครองตำาหนัก ได้แก่ พระแท่น บรรทม และฉลองพระบาทของสมเด็จพระศรีสริเยน ุ ทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 โคมส่องเสด็จของ สมเด็จพระปินเกล้าเจ้าอยู่หัว ่
  • 26. พระที่น ั่ง อิศ ราวิน จ ฉัย ิ  สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพย์ในสมัย รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้า ให้สร้างขึ้นเป็นท้องพระ โรงใช้เป็นที่เสด็จออก ปัจจุบันใช้เป็นห้องจัด แสดงนิทรรศการพิเศษหมุนเวียนตลอดปี  ห้องมุขกระสัน ภายในห้องมหรรฆภัณฑ์ซึ่งเก็บ รักษาและจัดแสดงเครื่องทองที่ได้จากการขุดค้น ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเครื่องทองใน สมัยรัตนโกสินทร์  พระพุทธรูปบุทอง ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธ
  • 27. พระที่น ง ภิม ข มณเฑีย ร ั่ ุ  จัดแสดงเครื่องราชยาน คานหาม สัปคับ เสลี่ยง กง เสลี่ยงหิ้วและสีวิกา  พระที่นั่งราเชนทรยาน สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 ไม้จำาหลักปิดทองประดับกระจก กว้าง 103 ซม. ยาว 191 ซม. สูง 415 ซม. ใช้สำาหรับราชพิธี  [แก้]พระที่น ง ทัก ษิณ าภิม ข ั่ ุ  เคยเป็นที่ประทับในสมัยสมเด็จพระบวรเจ้ามหา ศักดิพลเสพย์ ปัจจุบันจัดแสดงเครื่องการละเล่น หุ่น หัวโขน หนังใหญ่ เครื่องแต่งกาย ละคร เครื่องกีฬาไทย หมากรุกงา ปีกระเบื้อง ตัวหวย ้ กอ ขอ  ตัวหนังใหญ่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ทำาด้วยหนังวัว
  • 28. พระที่น ั่ง วสัน ตพิม าน  ชันล่าง จัดแสดงเครื่องถ้วยล้านนา ลพบุรี ้ เบญจรงค์ลายนำ้าทอง เครื่องถ้วยญี่ปน และ ุ่ เครื่องถ้วยยุโรป  ชามเบญจรงค์ ศิลปะไทย – จีน สมัยอยุธยาดิน เผาเนื้อกระเบื้อง  [แก้]พระที่น ั่ง วสัน ตพิม าน  ชันบน จัดแสดงงาช้าง งาช้างจำาหลัก และเครื่อง ้ ใช้ที่ทำาจากงาช้าง  งาช้างแกะสลักเป็นพระพุทธรูป ศิลปะพม่า (พุทธ ศตวรรษที่ 25) สูงพร้อมฐาน 8. ซม.
  • 29. พระที่น ง ปัจ ฉิม าภิม ุข ั่  จัดแสดงของใช้ประดับมุก เครื่องมุกส่วนใหญ่ เป็นของสมเด็จ ฯ กรมพระนครสวรรค์พินต ิ ประทานพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  เตียบ สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 25) หวายแลไม้ลงรักประดับมุข ปากกว้าง 49.5 ซม. สูงพร้อมฝา 62 ซม.  [แก้]พระที่น ง ปฤษฎางคภิม ุข ั่  จัดแสดงหุ่นจำาลองม้าและช้างทองเครื่องคชาธาร อาวุธภัณฑ์สมัยโบราณและกลองศึก
  • 30. เกี่ยวกับการเข้าชมพิพธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ิ  ระเบีย บปฏิบ ัต ิใ นการเข้า ชม  ผู้เข้าชมพิพธภัณฑสถานแห่งชาติ ต้องแต่งกายให้เป็นที่ ิ เรียบร้อยและต้องไม่ปฏิบัติดังต่อไปนี้  นำาหีบห่อและสิ่งใด ๆ ทีอาจบรรจุปกคลุมปิดบังหรือซ่อน ่ เร้นสิงของในพิพธภัณฑสถานแห่งชาติออกไป เข้าไปใน ่ ิ ห้องจัดตั้งโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ  ก่อความรำาคาญด้วยประการใด ๆ แก่เจ้าหน้าทีหรือผู้เข้า ่ ชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  จับต้องหรือหยิบฉวยสิ่งของทีจัดตั้งแสดงไว้ใน ่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  สูบบุหรี่ในห้องทีจัดตั้งโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ่  ขีด เขียน จารึก หรือทำาความสกปรกแก่สิ่งของและอาคาร สถานทีในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ่
  • 31. การบริก าร  บริการนำาชมเป็นหมูคณะ โดยการนัดหมาย ่  บริการสื่อโสตทัศนศึกษา โดยการนัดหมาย  บริการให้ยมนิทรรศการหมุนเวียน โดยการนัดหมาย ื  บริการให้ยมภาพถ่าย โดยการนัดหมาย ื  บริการห้องสมุดทุกวันยกเว้นวันจันทร์-อังคาร (วันหยุด ของพิพธภัณฑ์) ิ  บริการนำาชมคนไทยทุกวันอาทิตย์ 2 รอบ ดังนี้ เวลา 10.00 น. และ 13.30 น. โดยอาสาสมัคร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร  บริการนำาชมภาษาต่างประเทศ โดยกลุ่มสตรีอาสาสมัคร  วันพุธ เวลา 09.30 น. ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น  วันพฤหัสบดี เวลา 09.30 น. ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน  เวลาทำา การ  09.00-16.00 น. ปิดวันจันทร์ วันอังคาร
  • 32. ประวัติ  พระทีนั่งวิมานเมฆเป็นพระที่นั่งที่สร้างด้วยไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุด ่ ในโลก และเป็นพระที่นงถาวรองค์แรกในพระราชวังดุสิต  ั่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ขึ้นในพระราชวังดุสิต (ซึ่งในรัชสมัยของพระองค์เรียกว่า พระราชวังสวนดุสิต) ใน พ.ศ. 2444 โดยโปรดเกล้าฯ ให้รื้อ พระทีนั่งมันธาตุรัตนโรจน์ ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่เกาะสีชัง ่ เกาะสี เมื่อ พ.ศ. 2435 แต่ยังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโยธาเทพ (กร หงสกุล ต่อมาเป็นพระยาราชสงคราม) เป็นนายงานรื้อพระที่นงมันธาตุรัตนโรจน์จากเกาะสีชังมาสร้าง ั่ ในสวนดุสิต และพระราชทานนามว่า "พระที่น ั่ง วิม านเมฆ "[1]  และทรงวางศิลาฤกษ์พระที่นั่งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2443[2] โปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
  • 33. พระที่นั่งวิมานเมฆสร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง มี ลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่งดงามประณีตและได้ รับอิทธิพลการก่อสร้างแบบตะวันตก การก่อสร้าง แล้วเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2444 และได้เสด็จ มาประทับที่พระที่นงวิมานเมฆ จนกระทั่ง ั่ พระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2445 สร้างเสร็จเรียบร้อยใน พ.ศ. 2449  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ เสด็จแปรพระราชฐานมาประทับที่พระที่นงอัมพร ั่ สถานเป็นการถาวร จนกระทั่งเสด็จสวรรคตเมือวัน ่ ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 และพระที่นั่งวิมานเมฆ ยังคงเป็นสถานที่ประทับของเจ้านายจนกระทั่งสิน ้ รัชกาล เจ้านายฝ่ายในและข้าราชบริพารจึงได้กลับ มาประทับที่พระบรมมหาราชวัง พระบรมมหาราชวั
  • 34. ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรด เกล้าฯ ให้ สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ประทับที่พระที่นั่งวิมานเมฆในพ.ศ. 2468 แต่ เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468  สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชายา ก็ทรงย้ายออกจากพระที่นั่งวิมานเมฆ และจาก นั้นมา พระที่นงวิมานเมฆก็มิได้เป็นพระราชฐาน ั่ ที่ประทับของเจ้านายอีก  ในรัชกาลปัจจุบน พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีที่ฉลอง ั กรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี  สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรง
  • 35. ลักษณะขององค์พระทีนง ่ ั่  พระทีนงองค์นี้ เป็นอาคารแบบวิตอเรีย ได้รับอิทธิพล ่ ั่ จากสถาปัตยกรรมยุโรป ผสมกับไทยประยุกต์ องค์ พระทีนงเป็นรูปอักษรตัวแอล (L) ในภาษาอังกฤษ ยาว ่ ั่ ด้านละ 60 เมตร สูง 20 เมตร เป็นอาคาร 3 ชั้น ยกเว้น ตรงส่วนทีประทับซึ่งมีรูปร่างเป็นแปดเหลี่ยม มี 4 ชั้น ่ ชั้นล่างสุดก่ออิฐ ถือปูน ชั้นถัดขึ้นไปสร้างด้วยไม้สักทอง ทังหมดทาด้วยสีครีมอ่อนหลังคาสีแดง และหลังคาเป็น ้ ทรงไทยประยุกต์ มีลวดลายตามหน้าต่าง และช่องลมซึง ่ ฉลุเป็นลายทีเรียกว่าขนมปังขิง ่  สำาหรับพระทีนั่งวิมานเมฆนี้จะแบ่งเป็นห้องชุดต่างๆ 5 สี ่ ด้วยกัน คือสีฟา เขียว ชมพู งาช้าง และสีลูกพีช (ชมพู ้ อมส้ม) แต่ละห้องจะจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้สวน ่ พระองค์ของรัชกาลที่ 5 รวมถึงเจ้านายชั้นสูง เช่น ห้อง สีเขียว เป็นห้องเครื่องเงินจากประเทศจีน ส่วนชั้นสอง
  • 36. จัดทำาโดยกลุ่ม 3  ด.ช.โธรัยห์ คำาไวย์ ม.3/7 เลขที่ 3  ด.ช.นนทกฤต จันทร์หอม ม.3/7 เลขที่ 10  ด.ช.อัครพนธ์ สังข์กังวาลย์ ม.3/7 เลขที่ 17  ด.ช.ชนกชนม์ ปานแดง ม.3/7 เลขที่ 24  ด.ช.วิกรม ทรงบุญเขตกุล ม.3/7 เลขที่ 31  ด.ญ.พลอยไพลิน ศรีบญ ม.3/7 เลขที่ 38 ุ  น.ส.ภิณฑกานต์ ไก่แก้ว ม.3/7 เลขที่ 45