SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
การเปลี่ยนแปลงสังคมครั้งใหญ่ของโลกมนุษย์ทุกวันนี้
มีที่มาจากปฏิวัติอุตสาหกรรม
ที่ถือกาเนิดขึ้นในทวีปยุโรปและอเมริกา
จนในที่สุดนามาสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
นั่นก็คือการปฏิวัติประชาธิปไตยของนายทุน
อันเป็นการเปลี่ยนผ่านจากสังคมการผลิตแบบศักดินามาสู่ยุคกา
รผลิตแบบทุนนิยมสมัยใหม่
จนทาให้สังคมขับเคลื่อนมาสู่การปฏิวัติทางเทคโนโลยีที่สาคัญจ
นทาให้สังคมโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์
ที่อาณาเขตและพรมแดนระหว่างประเทศต่างๆผนวกเข้าเป็นหนึ่
งเดียวกันอย่างเช่นทุกวันนี้
การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ
อันเป็นที่มาของหลักสิทธิเสรีภาพและระบอบรัฐธรรมนูญ
เพื่อนามาสุ่การสถาปนารัฐทุนนิยม ก็คือการปฏิวัติฝรั่งเศส เมื่อปี
คศ. 1789
ถือเป็นแม่แบบการปฏิวัติเปลี่ยนผ่านสังคมแบบศักดินา
มาเป็นทุนนิยม
ระบบศักดินา เป็นสังคมที่พัฒนามาจากสังคมทาส
เมื่อบรรดาทาสก่อการลุกขึ้นสู้ ก่อการกบฏ
เพื่อปลดปล่อยตนเองให้หลุดพ้นจากความเป็นทาสด้วยรูปแบบต่
างๆ
จนในที่สุดนายทาสถูกความจาเป็นให้ต้องแบ่งที่ดินของตนออก
ไปเป็นแปลงเล็กๆให้กับทาสและชาวนา
เพื่อทาการกดขี่ขูดรีดในรูปแบบการเกณฑ์แรงงานและการส่งค่
าเช่า หรือการแบ่งปันผลิตการเกษตรให้กับเจ้าศักดินา
ระบอบการปกครองแบบกษัตริย์สถาปนาขึ้นมาในสังคมแบบศัก
ดินาที่มีอานาจสูงสุด
เป็นผู้ครอบครองผืนดินทั้งหมดและแบ่งปันการถือครองที่ดินให้
กับขุนนางลดหลั่นกันไปจนถึงระดับทาส-ไพร่ ติดที่ดิน
ในสังคมแบบศักดินาจึงมีการรบพุ่งฆ่าฟันกัน
มีการเกณฑ์ทหารเพื่อให้ออกไปรบแย่งชิงหรือปล้นสะดมครอบ
ครองดินแดนของคนอื่น
ขยายอาณาเขตการปกครองของระบอบกษัตริย์ให้กว้างขวางอ
อกไป ทาการกวาดต้อนเชลยข้าศึกให้เข้ามาเป็นทาส – ไพร่
ทางานแบบบีบบังคับให้กับรัฐศักดินา
แต่เมื่อสังคมมีการพัฒนาพลังการผลิตที่ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น
หัตถกรารมพื้นฐานที่รับใช้การเกษตร
จึงค่อยๆแยกตัวเป็นอิสระจากเกษตรกรรม กลุ่มพ่อค้า
นายภาษีอากรและขุนนางส่วนหนึ่ง
ทาการผลิตและการพาณิชกรรมกว้างขวางมากยิ่งขึ้น
จนนามาสู่การคิดค้นเครื่องจักรทันสมัย
ดังเช่นการประดิษฐ์เครื่องจักรกลไอน้า
ที่นามาใช้เป็นพลังขับเคลื่อนของการผลิตขนาดใหญ่
เป็นที่มาของโรงงานอุตสาสหกรรม
ทาให้มีความจาเป็นของการใช้แรงงานเสรีมากยิ่งขึ้น
แต่ในระบบศักดินา แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานทาส-
ไพร่ติดที่ดินที่ถูกครอบครองและควบคุมโดยกษัตริย์และขุนนาง
โดยที่ทาส-ไพร่เหล่านี้ปราศจากสิทิเสรีภาพ อย่างสิ้นเชิง
กษัตริย์และขุนนางในยุคศักดินา
ครอบครองทรัพย์สินมหาศาล ได้รับการยกเว้นไม่เสียภาษี
ในขณะที่รัฐศักดินาใช้กาลังทหาร
เข้าไปรีดนาทาเร้นเก็บภาษีและค่าเช่าที่ดินสูงจากชาวนา
รวมทั้งการเกณฑ์แรงงานให้เข้าไปทางานให้พวกขุนนางและก
ษัตริย์
พวกชนชั้นกลางและพ่อค้าซึ่งกาลังก่อตัวขึ้นจากการเฟื่องฟูของ
เมืองและการค้าทางทะเล จึงเกลียดชังอานาจ
สิทธิพิเศษของพวกขุนนางและอานาจที่เกินขอบเขตของกษัตริย์
สมัยนั้น สังคมของฝรั่งเศส สามารถแบ่งได้เป็น 3
ฐานันดร คือ คือ ฐานันดรที่1 กษัตริย์และ ขุนนาง มีประมาณ
400 , 000 คน ฐานันดรที่2. นักบวช มีประมาณ 115, 000 คน
ฐานันดรที่สาม (tiers état) เป็นส่วนที่เหลือของประเทศ เช่น
ชนชั้นกลางและชาวนา (ประมาณ 25.5 ล้านคนในสมัยนั้น)
สองฐานันดรแรกซึ่งมีจานวนเพียงเล็กน้อย
ถือครองที่ดินส่วนมากของประเทศ และมีตัวแทนอยู่ในรัฐสภา
ทาให้ฐานันดรที่ 3
ไม่พอใจเนื่องจากมีความเหลื่อมล้าต่าสูงกันอยู่มาก
ระบบการบริหารประเทศล้าหลังของกษัตริญ์ฝรั่งเศส
ไม่เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เช่น
การเก็บภาษีอย่างไม่เป็นระบบ ( อัตราภาษี
ศุลกากรในแต่ละจังหวัดต่างกัน , การเก็บภาษีไม่ทั่วถึง,
ประเภทภาษีล้าสมัย) ระบบกฎหมายยุ่งเหยิง
(ส่วนเหนือของประเทศใช้กฎหมายจารีตประเพณีอย่างอังกฤษ,
ส่วนใต้ใช้กฎหมายโรมัน)
การยกเว้นภาษีให้สองฐานันดรแรกที่มีฐานะร่ารวย
ทาให้ฐานันดรที่สามที่มีฐานะยากจนอยู่แล้วต้องรับภาระภาษีขอ
งประเทศไว้ทั้งหมด เมื่อสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14
ทรงทาสงครามสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงทรงรีดเอากับประชาชน
ทาให้มีความเป็นอยู่แร้นแค้นยิ่งขึ้น
อีกทั้งในยามสงบราชสานักยังใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย
สาเหตุของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
เหตุการณ์ปฏิวัติในฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ.1789
หรือที่เรียกว่า “การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส”
เป็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครองที่สาคัญ
เพราะเป็นการโค่นล้มอานาจการปกครองของกษัตริย์ในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
และสถาปนาการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นแทน
สาเหตุของการปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ.1789
สรุปได้ 3 ประการ คือ
1 ปัญหาทางเศรษฐกิจ
ฝรั่งเศสกาลังประสบภาวะฝืดเคืองทางเศรษฐกิจ
ซึ่งเกิดจากการใช้จ่ายเพื่อการทาสงครามต่าง ๆ
โดยเฉพาะในสงครามประกาศอิสรภาพของชาวอเมริกัน
ระหว่าง ค.ศ.1776 – 1781
เพื่อสนับสนุนให้ชาวอาณานิคมต่อสู้กับอังกฤษ
ด้วยสาเหตุดังกล่าว รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่16(
Louis XVI , ค.ศ. 1776-1792 )
จึงมีนโยบายจะเก็บภาษีอากรจากประชาชนเพื่อชดเชยรายจ่าย
ที่ต้องสูญเสียไป จึงสร้างความไม่พอใจแก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ
2. ความเหลื่อมทางสังคม
ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชั้น
โดยฐานะของผู้คนในสังคมมีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ
ชนชั้นอภิสิทธิ์และชนชั้นสามัญชน
แต่ในทางปฏิบัติทางการจะแบ่งฐานะของพลเมืองออกเป็น 3
ชนชั้นหรือ 3 ฐานันดร ( Estates ) ได้แก่
ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสต์ศาสนา
และฐานันดรที่ 2 คืน ขุนนางและชนชั้นสูง
ทั้งสองฐานันดรเป็นชนชั้นอภิสิทธิ์ มีจานวนประมาณร้อยละ 2
ของจานวนประชากรทั้งหมด
มีชีวิตความเป็นอยู่สะดวกสบายและหรูหรา
ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชน
ส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก
รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝีมือ และปัญญาชน
ฯลฯ
3.
ความเสื่อมโทรมของระบอบการปกครองแบบเก่า
กษัตริย์ฝรั่งเศสในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ทรงมีพระราชอานาจเป็นล้นพ้นไม่มีขอบเขตจากัดและทรงอยู่เห
นือกฎหมายของบ้านเมืองโดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าหลุย
ส์ที่ 16 มีหลายครั้งที่ทรงใช้อานาจโดยไม่ฟังเสียงประชาชน
ทรงไม่สนพระทัยการบริหารบ้านเมือง
อีกทั้งยังทรงอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระนางมารี อังตัวเนตต์
( Marie Antoinette ) พระราชินี
ซึ่งทรงนิยมใช้จ่ายในพระราชสานักอย่างฟุ่มเฟือย
อรุณรุ่งการปฏิวัติฝรั่งเศส Les états généraux
ในปี พ.ศ. 2331 พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เรียกประชุมสภา les états
généraux ซึ่งมีการประชุมครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2157
ก่อนหน้าการประชุม ได้มีการถวายฎีกาทั่วประเทศ
มีการควบคุมและห้ามการเผยแพร่ใบปลิวที่มีเนื้อหาเสรีจนน่าจะเ
ป็นอันตราย เนคเกร์ที่ถูกเรียกกลับมาดารงตาแหน่งในปี พ.ศ.
2331 ได้เรียกร้องให้มีการเพิ่มจานวนตัวแทนจากชนชั้นที่ 3
ให้มากขึ้นเป็น 2 เท่า
เพราะจานวนตัวแทนในขณะนั้นมีน้อยเกินไป
และเขายังเรียกร้องให้ปลดตัวแทนบางส่วนจากชนชั้นที่ 1 และ
2 อีกด้วย สภา les états généraux
ได้มีการประชุมที่พระราชวังแวร์ซายส์ในวันที่ 5 พฤษภาคม
พ.ศ. 2332 การประชุมครั้งนี้ใช้ระบบลงคะแนนคือ1
ฐานันดรต่อ 1 เสียง ซึ่งไม่ยุติธรรม
เพราะฐานันดรที่สามซึ่งมีจานวนถึง 90%
ของประชากรกลับได้คะแนนเสียงเพียง 1 ใน 3 ของสภา
และวิธีการลงคะแนนนี้จะทาให้ฐานันดรที่สามไม่มีทางมีเสียงเห
นือกว่า 2 ฐานันดรแรก โดยเสนอให้ลงคะแนนแบบ 1 คน 1
เสียงแทน เมื่อข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธ ทาให้ตัวแทนฐานันดรที่ 3
ไม่พอใจเป็นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม
และไปตั้งสภาของตนเองเรียกว่า Assemblée Nationale
ซึ่งเปิดประชุมเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ปีเดียวกัน.
สภานี้ยังมีตัวแทนจากฐานันดรที่ 1, 2
บางส่วนเข้าร่วมประชุมด้วย
ได้แก่ตัวแทนส่วนใหญ่ของชนชั้นนักบวช
และตัวแทนที่เป็นขุนนางหัวสมัยใหม่นาโดยมิราโบ สภา
Assemblée Nationale
นี้ประกาศว่าสภาของตนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ขึ้นภาษี
เนื่องจากไม่ไว้วางใจการทางานของรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์
ที่สนับสนุนแต่ขุนนางและพระสงฆ์
พระเจ้าหลุยส์พยายามหาทางประนีประนอมโดยเสนอว่าจะจัดป
ระชุมสภา les états généraux
ขึ้นอีกครั้งพวกขุนนางและพระสงฆ์ตอบตกลง แต่สมาชิกสภา
Assemblée Nationale ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมประชุม
โดยไปจัดการประชุมของตัวเองขึ้นที่สนามเทนนิส
(สมัยนั้นเรียกว่า Jeu de paume) ในวันที่ 20 มิถุนายน
โดยมีมติว่าจะไม่ยุบสภานี้จนกว่าประเทศฝรั่งเศสจะได้รัฐธรรมนู
ญ
เปิดฉากการปฏิวัติ
หลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกกดดันจากกองทัพ
พระองค์ก็ทรงเรียกร้องให้ตัวแทนจาก 2
ฐานันดรแรกเข้าร่วมประชุมสภา Assemblée Nationale
ด้วยเพื่อร่างรัฐธรรมนูญ ทาให้เกิดสภาใหม่ในวันที่ 9
กรกฎาคมคือ Assemblée Nationale Constituante
เพื่อร่างรัฐธรรมนูญ
การยึดคุกบาสตีย์ แต่หลังจากนั้นไม่นาน
พระเจ้าหลุยส์ก็ได้รับการกดดันอีกครั้งจากพระนางมารี
อองตัวเนต และพี่ชายของพระเจ้าหลุยส์คือComte d'Artois
ซึ่งจะได้เป็น พระเจ้าชาร์ลส์ที่สิบในอนาคต
ทาให้พระองค์ทาการเรียกกองทหารที่จงรักภักดีต่อพระองค์จาก
ต่างประเทศเข้ามาประจาการในกรุงปารีสและ
พระราชวังแวร์ซายส์ ทาให้เกิดความโกรธแค้นในหมู่ประชาชน
นอกจากนี้พระเจ้าหลุยส์ยังทรงปลดเนคเกร์ลงจากตาแหน่งอีกค
รั้ง ทาให้ประชาชนออกมาก่อจราจลเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม
วันที่ 13 กรกฎาคมมีการจัดตั้งคอมมูนปารีส (Paris
Commune) อารมณ์ปฎิวัติเริ่มแพร่กระจาย ไปทั่วปารีส
มีการตั้งกองกาลังแห่งชาติ (National Guards) มีมาร์กีส์ เดอ
ลาฟาแยตต์ (Marquis de Lafayette) เป็นผู้บังคับการ
วันที่ 14 กรกฎาคม1789 ( พศ.2332) เริ่มการโจมตีคุกบาสติลย์
(Bastille) พวกชาวไร่ชาวนาไม่ยอมเสียภาษี
และเริ่มโจมตีบ้านขุนนาง (กรกฎา-สิงหา)
และยึดคุกบาสตีย์ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์พระราชอานาจของกษัตริ
ย์ได้ในวันที่ 14 กรกฎาคม
วันที่ 14 กรกฎาคม ของทุกปี
ถือเป็นวันชาติฝรั่งเศสในปัจจุบันนี้
หลังจากนั้นพระเจ้าหลุยส์ก็เรียกเนคเกร์มาดารงตาแหน่งอีกครั้ง
ในวันที่ 16 กรกฎาคม
เนคเกร์ได้พบกับประชาชนที่ศาลาว่าการกรุงปารีส ( l'Hôtel de
Ville) ซึ่งถูกประดับไปด้วยธงสามสีคือแดง ขาว น้าเงิน
วันเดียวกันนั้น Comte d'Artois ก็ได้หนีออกนอกประเทศ
ถือเป็นสมาชิกราชวงศ์คนแรก ๆ
ที่หนีออกนอกประเทศในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส
หลังจากนั้นไม่นาน
เทศบาลและกองกาลังติดอาวุธของประชาชน ( Garde
Nationale) ก็ได้ถูกตั้งขึ้นอย่างรีบเร่งโดยประชาชนชาวปารีส
โดยในไม่ช้าทั่วประเทศก็มีกองกาลังติดอาวุธของประชาชนตาม
อย่างกรุงปารีส
ผลของการปฏิวัติในช่วงแรก
-การยุติสิทธิพิเศษต่าง ๆ
สภา Assemblée Nationale
ได้ประกาศว่าประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
และล้มเลิกสิทธิการงดเว้นภาษีของคณะสงฆ์
รวมทั้งให้ทุกคนมีโอกาสในการประกอบอาชีพทุกอย่างเท่าเทีย
มกัน ภายหลังจากการลงมติของสภาฯ ไม่กี่วันก่อนหน้านี้
คือวันที่ 3-4 สิงหาคม 2332
ซึ่งได้รับมติสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากสมาชิกสภา
คาประกาศสิทธิของมนุษย์และพลเมือง
หรือ La déclaration des droits de l'homme et du citoyen
เป็นคาประกาศที่ปูทางไปสู่การร่างรัฐธรรมนูญ
ได้รับแรงบันดาลใจมาจากปรัชญารู้แจ้ง( Enlightened)
ซึ่งเป็นปรัชญาที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น
และคาประกาศนี้ได้แบบอย่างจากรัฐธรรมนูญของสหรัฐฯ
คาประกาศนี้ผ่านการพิจารณาของสภาฯ เมื่อวันที่ 26
สิงหาคมพ.ศ. 2332
มีเนื้อหาหลักแสดงถึงหลักการพื้นฐานของการปฏิวัติ
ภายใต้คาขวัญที่ว่า "เสรีภาพ, เสมอภาค, ภราดรภาพ"
ในขณะนั้นมีข่าวลือในหมู่ประชาชนว่าจะมีการยึดอานาจคืนขอ
งฝ่ายนิยมระบอบเก่าเมื่อชาวปารีสรู้ข่าวก็มีการตื่นตัวกันขนานใ
หญ่ ดังนั้นประชาชนชาวปารีสซึ่งส่วนมากเป็นผู้หญิง
ได้เดินขบวนไปยังพระราชวังแวร์ซายส์และเชิญพระเจ้าหลุยส์พ
ร้อมทั้งราชวงศ์มาประทับในกรุงปารีส ในวันที่ 5-6 ตุลาคม
ปีเดียวกัน
โดยมีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญที่อนุรักษ์นิยมตามเสด็จกลับกรุ
งปารีสด้วย
สาหรับสภา Assemblée Nationale
ในขณะนั้นประกอบด้วยสมาชิกที่หัวก้าวหน้าเป็นส่วนมาก
แต่มีภารกิจสาคัญอันดับแรกของสภาคือการดารงสถาบันพระม
หากษัตริย์ไว้
ดังนั้นจึงยังไม่มีการโค่นล้มสถาบันกษัตริย์ในขณะนั้น
การปฏิรูปครั้งใหญ่
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของฝรั่งเศสมีผลบังคับใช้เมื่อปลายปี พ.ศ.
2332 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้
• ตาแหน่งต่าง ๆ
ในราชการไม่สามารถตกทอดไปยังลูกหลาน
• จังหวัดต่าง ๆ ถูกยุบ , ประเทศถูกแบ่งเป็น 83 เขต
(départements)
• ศาลประชาชนถูกก่อตั้งขึ้น
• มีการปฏิรูปกฎหมายของฝรั่งเศส
• การเวนคืนที่ ธรณีสงฆ์ แล้วนามาค้าประกันพันธบัตร
ที่ออกเพื่อระดมทุนจากประชาชน
มาแก้ไขปัญหาหนี้ของประเทศ
การปฏิรูปสถานะของพระสงฆ์
การจับกุม ณ วาเรนน์
มีข่าวลือสะพัดอย่างหนาหูว่า พระนางมารี อองตัวเนตนั้น
ได้แอบติดต่อกับพี่ชายของพระองค์ คือ จักรพรรดิลีโอโปลด์ที่ 2
แห่งออสเตรีย เพื่อที่จะให้
จักรพรรดิยกทัพมาโจมตีฝรั่งเศสและคืนอานาจให้ราชวงศ์
แพระเจ้าหลุยส์]]นั้นไม่ได้พยายามหนีออกนอกประเทศหรือรับค
วามช่วยเหลือ แต่จะทรงหนีไปตั้งมั่นอยู่กับนายพลบุยเล่
ที่จงรักภักดีและสัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่พระองค์
พระองค์เสด็จออกจากพระราชวังทุยเลอรีส์ในตอนกลางคืนของ
วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2334 แต่ทรงถูกจับได้ที่เมืองวาเรนน์
ในวันที่ 21 มิถุนายนพ.ศ. 2334
ส่งผลให้ความเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อพระองค์นั้นลดลงอย่า
งมาก พระองค์ถูกนาตัวกลับมากักบริเวณในกรุงปารีส
การสิ้นสุดของสภาร่างรัฐธรรมนูญ
แม้ว่าสมาชิกส่วนใหญ่ของสภาฯ
จะนิยมระบอบประชาธิปไตยโดยให้พระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธร
รมนูญ มากกว่าระบอบสาธารณรัฐก็ตาม แต่ ณ ขณะนั้น
พระเจ้าหลุยส์ก็ไม่ได้มีบทบาทมากไปหว่าหุ่นเชิด
พระองค์ถูกบังคับให้บฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญ
และให้ยอมรับเงื่อนไขที่ว่า
เมื่อพระองค์กระทาการกระทาใดๆที่จะชักนาให้กองทัพต่างชาติ
มาโจมตีฝรั่งเศส หรือ กระทาสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
ให้ถือว่าพระองค์สละราชสมบัติโดยอัตโนมัติ
ขณะเดียวกันนั้น ฌอง ปิแอร์ บริสโซต์
ได้ร่างประกาศโจมตีพระเจ้าหลุยส์ มีสาระสาคัญว่า
พระเจ้าหลุยส์ทรงสละราชสมบัติไปตั้งแต่พระองค์เสด็จออกจาก
พระราชวังทุยเลอรีส์แล้ว ฝูงชนจานวนมากพยายามเข้ามาใน
ชอง เดอ มาร์ส เพื่อลงนามในใบประกาศนั้น
ทาให้เกิดความวุ่นวายขึ้น
สภาร่างรัฐธรรมนูญได้ขอร้องให้เทศบาลปารีสช่วยรักษาความส
งบ แต่ไม่สาเร็จ ในที่สุด กองทหารองครักษ์
ภายใต้การบัญชาการของลาฟาแยตต์
ก็ได้เข้ามารักษาความสงบ ฝูงชนได้ปาก้อนหินใส่องครักษ์
ในช่วงแรก องครักษ์โต้ตอบด้วยการยิงขึ้นฟ้า แต่ไม่สาเร็จ
จึงจาต้องยิงปืนใส่ฝูงชน ทาให้ประชาชนตายไปประมาณ 50
คน
หลังจากการสังหารหมู่ครั้งนี้
ทางการก็ได้ดาเนินการปราบปรามพวกสมาคมนิยมสาธารณรัฐ
ต่างๆ รวมทั้งหนังสือพิมพ์ของพวกนี้อีกด้วย
หนังสือพิมพ์เพื่อนประชาชน( l'ami du peuple) ของมาราต์
บุคคลที่มีแนวคิดแบบนี้เช่น
มาราต์และเดสมูแลงต่างพากันหลบซ่อน
ส่วนดังตงหนีไปอังกฤษ
ขณะที่ภายในฝรั่งเศสกาลังวุ่นวาย เหล่าราชวงศ์ของยุโรป
โดยมีแกนนาคือกษัตริย์แห่งปรัสเซีย จักรพรรดิออสเตรีย
และพระอนุชาของพระเจ้าหลุยส์ ก็ได้ร่วมมือกัน
โดยมีเป้าหมายสาคัญคือให้พระเจ้าหลุยส์มีอิสรภาพสมบูรณ์และ
ให้ยุบสภา Assemblée Nationale หากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้น
ก็จะโจมตีฝรั่งเศสเพื่อให้สาเร็จตามเป้าหมาย
แต่ประชาชนชาวฝรั่งเศสไม่สนใจต่อคาประกาศดังกล่าว
และเตรียมการต่อต้านอย่างแข็งขัน
โดยส่งกาลังทหารไปยังชายแดน.
การต่อสู้ขับเคี่ยวระหว่างระบอบกษัตริย์และสาธารณรัฐดาเนินก
ารอย่างเข้มข้น และขยายผลสะเทือนไปทั่วทั้งยุโรป วันที่ 27
สิงหาคม 1791(พศ.2334) มีการประกาศพิลนิทซ์ (Declaration
of Pillnitz) ปรัสเซียกับจักรวรรดิออสเตรีย
ประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเพื่อรักษาระบอบกษัตริย์ ในปีถัดมา
วันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1792
สภานิติบัญญัติภายใต้พรรคจิรองแดงประกาศสงครามกับออสเต
รีย วันที่11 กรกฎาคม กองทัพออสเตรียเข้าสู่ฝรั่งเศส
วันที่ 27 กรกฎาคม ฝ่ายออสเตรียออกประกาศบรุนสวิก (
Brunswick Manifesto)
ขู่ทาลายกรุงปารีสหากกษัตริย์เป็นอันตราย
ประชาชนโกรธแค้นคาประกาศนี้
วันที่ 10 สิงหาคม ฝูงชนบุกพระราชวังตุยเลอรี (Tuilleries)
สังหารทหารรักษาการชาวสวิต
ดังตองจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวและตั้งสภาแห่งชาติ (National
Convention)
วันที่ 22 สิงหาคม คศ.1792
ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐครั้งที่หนึ่งยกเลิกระบอบกษัตริย์
ค.ศ.1793 วันที่ 21 มกราคม
พระเจ้าหลุยส์ถูกปลงพะชนม์ด้วยเครื่องกิโยตีน
เพราะทรงถูกกล่าวหาว่า ทรยศต่อชาติ ค.ศ.1793-4
เริ่มยุคน่าสะพึงกลัว (Reign of Terror) โรเบสปิแอร์
(Robespierre) ได้ครองอานาจ วันที่ 16 ตุลาคม
ปลงพระชนม์พระนาง มารี อังตัวเนตต์ ด้วยกิโยตีน
และมีการสังหารพวกจิรองดิสต์ไม่น้อยกว่า 60 คน
การปฏิวัติฝรั่งเศส กินเวลาในช่วงระหว่างปีคศ. 1789-1799 (
พ.ศ.2332-2342) ในการโค่นล้มระบอบกษัติย์
หลังจากสถาปนาระบอบสาธารณรัฐสาเร็จแล้วไม่นาน
มีการแย่งชิงอานาจรัฐระหว่างกลุ่มชนชั้นปกครองด้วยกันเอง
จนนามาสู่ค.ศ. 1799 นาย พลนโปเลียน โบนาปาร์ต
ยึดอานาจจากคณะมนตรี
และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศ
ส ซึ่งเป็นผู้ปกครองที่มีอานาจสูงสุด
นโปเลียนดารงตาแหน่งกงสุลในปี ค.ศ. 1799 - ค.ศ. 1803
ก่อนที่นโปเลียนจะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิในเวลาต่อม
า
หลังจากนั้นฝรั่งเศสต้องเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกหลายครั้ง
สลับกันระหว่างแบบกษัตริย์ กับแบบสาธารณรัฐ
จนกระทั่งปัจจุบัน
ฝรั่งเศส ผ่านกระบวนการสร้างระบอบสาธารณรัฐ มาถึง
สาธารณรัฐที่ 5 ( ค.ศ. 1958 - ปัจจุบัน)
นาย พลชาร์ล เดอ
โกลใช้ระบบประธานาธิบดีที่เลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง
แทนระบบรัฐสภาแบบเดิม ซึ่งคงอยู่มาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐที่
5 ของฝรั่งเศสมีประธานาธิบดีมาทั้งหมด5 คนดังนี้
นาย พลชาลส์ เดอ โกล ค.ศ. 1958 - ค.ศ. 1969
ชอร์ช ปงปีดู ค.ศ. 1969 - ค.ศ. 1974
วาเลรี ชีสการ์ แดสแตง ค.ศ. 1974 - ค.ศ. 1981
ฟรองซัว มีแตรอง ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 1995
ชาก ชีรัก ค.ศ. 1995 – ปัจจุบัน
ปฏิวัติฝรั่งเศส ภาคสรุป
การปฏิวัติฝรั่งเศสเป็นการปฏิวัติใหญ่ที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 18
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการเมืองทั่
วยุโรป โดยมีสาเหตุทางด้านการคลังเป็นพื้นฐาน
เป็นการปฏิวัติโดยกลุ่มชนชั้นกลางที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมใ
นการปกครองโดยการล้มล้างการปกครองในระบอบเก่า
(Ancient Regime) หรือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
(Absolutism) มาสู่อานาจอธิปไตยของประชาชน
สาเหตุทั่วไปของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ประกอบด้วย
ด้านการเมือง
1. พระเจ้าหลุยส์ที่ 16
ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอานาจเด็ดขาดในการบริหารประเทศจึงเ
ปิดโอกาสให้คณะบุคคลบางกลุ่มเข้ามามีสิทธิร่วมในการบริหาร
ประเทศ
2. สภาท้องถิ่น (Provincial Estates)
เป็นสภาที่มีอยู่ทั่วไปในฝรั่งเศส
และตกอยู่ภายใต้อานาจอิทธิพลของขุนนางท้องถิ่น
เริ่มกลับเข้ามามีบทบาทอีกครั้ง
3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรือศาลสูงสุดของฝรั่งเศส
ทาหน้าที่ให้การปรึกษากับกษัตริย์มีสิทธิ์ยังยั้งการออกกฎหมาย
ใหม่ (Vito)
ซึ้งเป็นสภาที่เป็นปากเป็นเสียงของประชนเคยถูกปิดไปแล้ว
กลับเข้ามามีอานาจอีกครั้ง พระเจ้าหลุยส์ที่ 16
ทรงยอมให้สภาปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบา
งอย่างทางการเมือง
4. สภาฐานันดรหรือสภาทั่วไป (Estates General)
ที่จัดตั่งขึ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้าฟิลิปที่ 4
เพื่อต่อต้านอานาจของสันตปาปา
ซึ่งมีผลทาให้เกิดชนชั้นของประชาชน 3 ชนชั้นคือ พระ
ขุนนาง และสามัญชน, ในปี ค.ศ. 1789
สถานะทางด้านการคลังของประเทศเกิดปัญหาขาดดุลอย่างหนัง
ทาให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16
เปิดสภานี้ขึ้นมาใหม่หลังจากจากที่ถูกปิดไปถึง 174 ปี
เพื่อขอเสียงสนับสนุนจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภ
าษีเพิ่มขึ้น แต่เกิดปัญหาการนับคะแนนเสียงขึ้น
จนกลายเป็นชนวนที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติในเดือน กรกฎาคม
ค.ศ. 1789
5. ประเทศฝรั่งเศสไม่มีรัฐธรรมนูญ
ทาให้การปกครองเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
และประชาชนไม่ได้รับการคุ้มครอง
ด้านเศรษฐกิจ
1. สืบเนื่องมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 15
ทรงใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยในราชสานัก
เป็นปัญหาสั่งสมมาจนถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
2.
เป็นปัญหาสืบเนื่องมาจากการที่ฝรั่งเศสเข้าไปพัวพันกับสงคราม
ในต่างประเทศมากเกินไป
โดยเฉพาะสงครามกู้เอกราชของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1776
จึงทาให้เกิดค้าใช้จ่ายสูง
3.
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมมา
สู่ภาคอุตสาหกรรม ทาให้เกิดวิกฤตการทางการเกษตร
ราคาอาหารสูงขึ้นไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้รับ
การเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดชนชั้นใหม่ขึ้นมา คือชนชั้นกลาง
(พ่อค้า นายทุน) ซึ่งมีส่วนสาคัญในการปฏิวัติ
4. พระเจ้าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้จ่ายในราชสานักได้
แต่ก็พยายามแก้ไขโดย
- ปรับปรุงการเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ก่อให้เกิดการไม่พอใจในกลุ่มคนบางกลุ่มที่ไม่เคยเสียภาษี
- เพิ่มการกู้เงิน ซึ่งก็ช่วยทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
แต่ก็ต้องจ่ายค่าดอกเบี้ยมากขึ้นด้วยเช่นกัน
- ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี้ยบานาน
ลดจานวนค่าราชการ
ซึ่งทาให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ
ยังส่งผลถึงการทางานของราชการไม่มีประสิทธิภาพ
การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไม่เป็นผลสาเร็จ
เนื่องจากแก้ไขที่ไม่ตรงจุด
จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นลงไปได้
ด้านสังคม
1. การรับอิทธิพลทางความคิดของชาวต่างชาติ
จาการที่ฝรั่งเศสเข้าไปช่วยสหรัฐอเมริกาทาสงครามประกาศอิส
ภาพจากอังกฤษ
จึงทาให้รับอิทธิพลทางความคิดด้านเสรีภาพนั้นกลับเข้ามาในป
ระเทศด้วย
อิทธิพลทางความคิดที่สาคัญที่รับมาคือจากบรรดานักปรัชญาก
ลุ่ม ฟิโลซอฟส์ (Philosophes) นักปรัชญาคนสาคัญคือ
วอร์แตร์, จอห์น ล็อค, รุสโซ่
2. เกิดปัญหาความแตกต่างทางสังคม
อันเนื่องมาจากพลเมืองแบ่งออกเป็น 3 ฐานันดร คือ
- ฐานันดรที่ 1 พระ
- ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง
- ฐานันดรที่ 3 สามัญชน
ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็นกลุ่มที่มีอภิสิทธิ์ชน คือไม่ต้องเสียภาษี
ทาให้กลุ่มฐานันดรที่ 3
ต้องแบกรับภาระทั้งหลายอย่างเอาไว้เช่น การเสียภาษี
การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ กลุ่มฐานันดรที่
3 ถือเป็นกลุ่มไม่มีอภิสิทธิ์ชน
สาเหตุปัจจุบันของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
เมื่อประเทศฝรั่งเศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามาร
ถแก้ปัญหาได้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16
จึงทรงเปิดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17
มิถุนายน ค.ศ. 1789
เพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุ่มช่วยกันแ
ก้ไขปัญหาทางการคลัง
แต่ได้เกิดปัญหาขึ้นเพราะกลุ่มฐานันดรที่ 3
เรียกร้องให้นับคะแนนเสียงเป็นรายหัว แต่กลุ่มฐานันดรที่ 1
และ 2
ซึ่งได้ร่วมมือกันเสมอนั้นเสนอให้นับคะแนนเสียงแบบกลุ่ม
จึงทาให้กลุ่มฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา
แล้วจัดตั้งสภาแห่งชาติ (National Assombly)
เรียกร้องให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ปิดห้องประชุม
ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789
สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส
และร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะ
ได้รับชัยชนะ
และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ในการปกครองประเทศ
ในขณะเดียวกันกับความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารี
ส และได้ขยายตัวออกไปทั่วประเทศ
ฝูงชนชาวปารีสได้รับข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
กาลังจะส่งกาลังทหารเข้ามาปราบปรามความฝูงชนที่ก่อวุ่นวาย
ในปารีส
ดังนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789
ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทาลายคุกบาสติล(Bastille)
ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง
และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
(คนเดียว) มาสู่ระบอบสาธารณรัฐ (หลายตน)
2. มีการล้มล้างกลุ่มอภิสิทธิชน พระและขุนนางหมดอานาจ,
กลุ่มสามัญชน กรรมกร ชาวนา และโดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นกลาง
เข้ามามีอานาจแทนที่
3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ากับรัฐ
ทาให้อานาจของสันตะปาปาถูกควบคุมโดยรัฐ
4.
เกิดความวุ่นวายทั่วประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยู่กั
บการปรครองแบบเก่า
5. มีการทาสงครามกับต่างชาติ
6.
มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็นต้นแบบของการปฏิวัติไ
ปยังประเทศอื่น ๆ ในยุโรป ประเทศอืนๆทั่วโลก
Credit: อ.พัฒน์ชระ กมลรัตน์ Edit: ครูทองคา วิรัตน์

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวTaraya Srivilas
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 

Was ist angesagt? (20)

ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 

Mehr von Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

Mehr von Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

ปฏิวัติฝรั่งเศส

  • 1. ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 การเปลี่ยนแปลงสังคมครั้งใหญ่ของโลกมนุษย์ทุกวันนี้ มีที่มาจากปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่ถือกาเนิดขึ้นในทวีปยุโรปและอเมริกา จนในที่สุดนามาสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง นั่นก็คือการปฏิวัติประชาธิปไตยของนายทุน อันเป็นการเปลี่ยนผ่านจากสังคมการผลิตแบบศักดินามาสู่ยุคกา รผลิตแบบทุนนิยมสมัยใหม่ จนทาให้สังคมขับเคลื่อนมาสู่การปฏิวัติทางเทคโนโลยีที่สาคัญจ นทาให้สังคมโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์
  • 2. ที่อาณาเขตและพรมแดนระหว่างประเทศต่างๆผนวกเข้าเป็นหนึ่ งเดียวกันอย่างเช่นทุกวันนี้ การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ อันเป็นที่มาของหลักสิทธิเสรีภาพและระบอบรัฐธรรมนูญ เพื่อนามาสุ่การสถาปนารัฐทุนนิยม ก็คือการปฏิวัติฝรั่งเศส เมื่อปี คศ. 1789 ถือเป็นแม่แบบการปฏิวัติเปลี่ยนผ่านสังคมแบบศักดินา มาเป็นทุนนิยม ระบบศักดินา เป็นสังคมที่พัฒนามาจากสังคมทาส เมื่อบรรดาทาสก่อการลุกขึ้นสู้ ก่อการกบฏ เพื่อปลดปล่อยตนเองให้หลุดพ้นจากความเป็นทาสด้วยรูปแบบต่ างๆ จนในที่สุดนายทาสถูกความจาเป็นให้ต้องแบ่งที่ดินของตนออก ไปเป็นแปลงเล็กๆให้กับทาสและชาวนา เพื่อทาการกดขี่ขูดรีดในรูปแบบการเกณฑ์แรงงานและการส่งค่ าเช่า หรือการแบ่งปันผลิตการเกษตรให้กับเจ้าศักดินา ระบอบการปกครองแบบกษัตริย์สถาปนาขึ้นมาในสังคมแบบศัก ดินาที่มีอานาจสูงสุด เป็นผู้ครอบครองผืนดินทั้งหมดและแบ่งปันการถือครองที่ดินให้ กับขุนนางลดหลั่นกันไปจนถึงระดับทาส-ไพร่ ติดที่ดิน ในสังคมแบบศักดินาจึงมีการรบพุ่งฆ่าฟันกัน มีการเกณฑ์ทหารเพื่อให้ออกไปรบแย่งชิงหรือปล้นสะดมครอบ ครองดินแดนของคนอื่น ขยายอาณาเขตการปกครองของระบอบกษัตริย์ให้กว้างขวางอ
  • 3. อกไป ทาการกวาดต้อนเชลยข้าศึกให้เข้ามาเป็นทาส – ไพร่ ทางานแบบบีบบังคับให้กับรัฐศักดินา แต่เมื่อสังคมมีการพัฒนาพลังการผลิตที่ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น หัตถกรารมพื้นฐานที่รับใช้การเกษตร จึงค่อยๆแยกตัวเป็นอิสระจากเกษตรกรรม กลุ่มพ่อค้า นายภาษีอากรและขุนนางส่วนหนึ่ง ทาการผลิตและการพาณิชกรรมกว้างขวางมากยิ่งขึ้น จนนามาสู่การคิดค้นเครื่องจักรทันสมัย ดังเช่นการประดิษฐ์เครื่องจักรกลไอน้า ที่นามาใช้เป็นพลังขับเคลื่อนของการผลิตขนาดใหญ่ เป็นที่มาของโรงงานอุตสาสหกรรม ทาให้มีความจาเป็นของการใช้แรงงานเสรีมากยิ่งขึ้น แต่ในระบบศักดินา แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานทาส- ไพร่ติดที่ดินที่ถูกครอบครองและควบคุมโดยกษัตริย์และขุนนาง โดยที่ทาส-ไพร่เหล่านี้ปราศจากสิทิเสรีภาพ อย่างสิ้นเชิง กษัตริย์และขุนนางในยุคศักดินา ครอบครองทรัพย์สินมหาศาล ได้รับการยกเว้นไม่เสียภาษี ในขณะที่รัฐศักดินาใช้กาลังทหาร เข้าไปรีดนาทาเร้นเก็บภาษีและค่าเช่าที่ดินสูงจากชาวนา รวมทั้งการเกณฑ์แรงงานให้เข้าไปทางานให้พวกขุนนางและก ษัตริย์ พวกชนชั้นกลางและพ่อค้าซึ่งกาลังก่อตัวขึ้นจากการเฟื่องฟูของ
  • 4. เมืองและการค้าทางทะเล จึงเกลียดชังอานาจ สิทธิพิเศษของพวกขุนนางและอานาจที่เกินขอบเขตของกษัตริย์ สมัยนั้น สังคมของฝรั่งเศส สามารถแบ่งได้เป็น 3 ฐานันดร คือ คือ ฐานันดรที่1 กษัตริย์และ ขุนนาง มีประมาณ 400 , 000 คน ฐานันดรที่2. นักบวช มีประมาณ 115, 000 คน ฐานันดรที่สาม (tiers état) เป็นส่วนที่เหลือของประเทศ เช่น ชนชั้นกลางและชาวนา (ประมาณ 25.5 ล้านคนในสมัยนั้น) สองฐานันดรแรกซึ่งมีจานวนเพียงเล็กน้อย ถือครองที่ดินส่วนมากของประเทศ และมีตัวแทนอยู่ในรัฐสภา ทาให้ฐานันดรที่ 3 ไม่พอใจเนื่องจากมีความเหลื่อมล้าต่าสูงกันอยู่มาก ระบบการบริหารประเทศล้าหลังของกษัตริญ์ฝรั่งเศส ไม่เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เช่น การเก็บภาษีอย่างไม่เป็นระบบ ( อัตราภาษี ศุลกากรในแต่ละจังหวัดต่างกัน , การเก็บภาษีไม่ทั่วถึง, ประเภทภาษีล้าสมัย) ระบบกฎหมายยุ่งเหยิง (ส่วนเหนือของประเทศใช้กฎหมายจารีตประเพณีอย่างอังกฤษ, ส่วนใต้ใช้กฎหมายโรมัน) การยกเว้นภาษีให้สองฐานันดรแรกที่มีฐานะร่ารวย ทาให้ฐานันดรที่สามที่มีฐานะยากจนอยู่แล้วต้องรับภาระภาษีขอ งประเทศไว้ทั้งหมด เมื่อสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงทาสงครามสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงทรงรีดเอากับประชาชน
  • 5. ทาให้มีความเป็นอยู่แร้นแค้นยิ่งขึ้น อีกทั้งในยามสงบราชสานักยังใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย สาเหตุของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 เหตุการณ์ปฏิวัติในฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ.1789 หรือที่เรียกว่า “การปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส” เป็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครองที่สาคัญ เพราะเป็นการโค่นล้มอานาจการปกครองของกษัตริย์ในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และสถาปนาการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นแทน สาเหตุของการปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศส ค.ศ.1789 สรุปได้ 3 ประการ คือ 1 ปัญหาทางเศรษฐกิจ ฝรั่งเศสกาลังประสบภาวะฝืดเคืองทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากการใช้จ่ายเพื่อการทาสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะในสงครามประกาศอิสรภาพของชาวอเมริกัน ระหว่าง ค.ศ.1776 – 1781 เพื่อสนับสนุนให้ชาวอาณานิคมต่อสู้กับอังกฤษ ด้วยสาเหตุดังกล่าว รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่16( Louis XVI , ค.ศ. 1776-1792 )
  • 6. จึงมีนโยบายจะเก็บภาษีอากรจากประชาชนเพื่อชดเชยรายจ่าย ที่ต้องสูญเสียไป จึงสร้างความไม่พอใจแก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ 2. ความเหลื่อมทางสังคม ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชั้น โดยฐานะของผู้คนในสังคมมีสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ ชนชั้นอภิสิทธิ์และชนชั้นสามัญชน แต่ในทางปฏิบัติทางการจะแบ่งฐานะของพลเมืองออกเป็น 3 ชนชั้นหรือ 3 ฐานันดร ( Estates ) ได้แก่ ฐานันดรที่ 1 คือ พระและนักบวชในคริสต์ศาสนา และฐานันดรที่ 2 คืน ขุนนางและชนชั้นสูง ทั้งสองฐานันดรเป็นชนชั้นอภิสิทธิ์ มีจานวนประมาณร้อยละ 2 ของจานวนประชากรทั้งหมด มีชีวิตความเป็นอยู่สะดวกสบายและหรูหรา ฐานันดรที่ 3 คือ สามัญชน ส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝีมือ และปัญญาชน ฯลฯ 3. ความเสื่อมโทรมของระบอบการปกครองแบบเก่า กษัตริย์ฝรั่งเศสในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทรงมีพระราชอานาจเป็นล้นพ้นไม่มีขอบเขตจากัดและทรงอยู่เห นือกฎหมายของบ้านเมืองโดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าหลุย ส์ที่ 16 มีหลายครั้งที่ทรงใช้อานาจโดยไม่ฟังเสียงประชาชน
  • 7. ทรงไม่สนพระทัยการบริหารบ้านเมือง อีกทั้งยังทรงอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระนางมารี อังตัวเนตต์ ( Marie Antoinette ) พระราชินี ซึ่งทรงนิยมใช้จ่ายในพระราชสานักอย่างฟุ่มเฟือย อรุณรุ่งการปฏิวัติฝรั่งเศส Les états généraux ในปี พ.ศ. 2331 พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เรียกประชุมสภา les états généraux ซึ่งมีการประชุมครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2157 ก่อนหน้าการประชุม ได้มีการถวายฎีกาทั่วประเทศ มีการควบคุมและห้ามการเผยแพร่ใบปลิวที่มีเนื้อหาเสรีจนน่าจะเ ป็นอันตราย เนคเกร์ที่ถูกเรียกกลับมาดารงตาแหน่งในปี พ.ศ. 2331 ได้เรียกร้องให้มีการเพิ่มจานวนตัวแทนจากชนชั้นที่ 3 ให้มากขึ้นเป็น 2 เท่า เพราะจานวนตัวแทนในขณะนั้นมีน้อยเกินไป และเขายังเรียกร้องให้ปลดตัวแทนบางส่วนจากชนชั้นที่ 1 และ 2 อีกด้วย สภา les états généraux ได้มีการประชุมที่พระราชวังแวร์ซายส์ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2332 การประชุมครั้งนี้ใช้ระบบลงคะแนนคือ1 ฐานันดรต่อ 1 เสียง ซึ่งไม่ยุติธรรม เพราะฐานันดรที่สามซึ่งมีจานวนถึง 90% ของประชากรกลับได้คะแนนเสียงเพียง 1 ใน 3 ของสภา และวิธีการลงคะแนนนี้จะทาให้ฐานันดรที่สามไม่มีทางมีเสียงเห นือกว่า 2 ฐานันดรแรก โดยเสนอให้ลงคะแนนแบบ 1 คน 1 เสียงแทน เมื่อข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธ ทาให้ตัวแทนฐานันดรที่ 3
  • 8. ไม่พอใจเป็นอย่างมากจึงไม่เข้าร่วมการประชุม และไปตั้งสภาของตนเองเรียกว่า Assemblée Nationale ซึ่งเปิดประชุมเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ปีเดียวกัน. สภานี้ยังมีตัวแทนจากฐานันดรที่ 1, 2 บางส่วนเข้าร่วมประชุมด้วย ได้แก่ตัวแทนส่วนใหญ่ของชนชั้นนักบวช และตัวแทนที่เป็นขุนนางหัวสมัยใหม่นาโดยมิราโบ สภา Assemblée Nationale นี้ประกาศว่าสภาของตนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ขึ้นภาษี เนื่องจากไม่ไว้วางใจการทางานของรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ ที่สนับสนุนแต่ขุนนางและพระสงฆ์ พระเจ้าหลุยส์พยายามหาทางประนีประนอมโดยเสนอว่าจะจัดป ระชุมสภา les états généraux ขึ้นอีกครั้งพวกขุนนางและพระสงฆ์ตอบตกลง แต่สมาชิกสภา Assemblée Nationale ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมประชุม โดยไปจัดการประชุมของตัวเองขึ้นที่สนามเทนนิส (สมัยนั้นเรียกว่า Jeu de paume) ในวันที่ 20 มิถุนายน โดยมีมติว่าจะไม่ยุบสภานี้จนกว่าประเทศฝรั่งเศสจะได้รัฐธรรมนู ญ เปิดฉากการปฏิวัติ หลังจากที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกกดดันจากกองทัพ พระองค์ก็ทรงเรียกร้องให้ตัวแทนจาก 2
  • 9. ฐานันดรแรกเข้าร่วมประชุมสภา Assemblée Nationale ด้วยเพื่อร่างรัฐธรรมนูญ ทาให้เกิดสภาใหม่ในวันที่ 9 กรกฎาคมคือ Assemblée Nationale Constituante เพื่อร่างรัฐธรรมนูญ การยึดคุกบาสตีย์ แต่หลังจากนั้นไม่นาน พระเจ้าหลุยส์ก็ได้รับการกดดันอีกครั้งจากพระนางมารี อองตัวเนต และพี่ชายของพระเจ้าหลุยส์คือComte d'Artois ซึ่งจะได้เป็น พระเจ้าชาร์ลส์ที่สิบในอนาคต ทาให้พระองค์ทาการเรียกกองทหารที่จงรักภักดีต่อพระองค์จาก ต่างประเทศเข้ามาประจาการในกรุงปารีสและ พระราชวังแวร์ซายส์ ทาให้เกิดความโกรธแค้นในหมู่ประชาชน นอกจากนี้พระเจ้าหลุยส์ยังทรงปลดเนคเกร์ลงจากตาแหน่งอีกค รั้ง ทาให้ประชาชนออกมาก่อจราจลเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม วันที่ 13 กรกฎาคมมีการจัดตั้งคอมมูนปารีส (Paris Commune) อารมณ์ปฎิวัติเริ่มแพร่กระจาย ไปทั่วปารีส มีการตั้งกองกาลังแห่งชาติ (National Guards) มีมาร์กีส์ เดอ ลาฟาแยตต์ (Marquis de Lafayette) เป็นผู้บังคับการ วันที่ 14 กรกฎาคม1789 ( พศ.2332) เริ่มการโจมตีคุกบาสติลย์ (Bastille) พวกชาวไร่ชาวนาไม่ยอมเสียภาษี และเริ่มโจมตีบ้านขุนนาง (กรกฎา-สิงหา)
  • 10. และยึดคุกบาสตีย์ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์พระราชอานาจของกษัตริ ย์ได้ในวันที่ 14 กรกฎาคม วันที่ 14 กรกฎาคม ของทุกปี ถือเป็นวันชาติฝรั่งเศสในปัจจุบันนี้ หลังจากนั้นพระเจ้าหลุยส์ก็เรียกเนคเกร์มาดารงตาแหน่งอีกครั้ง ในวันที่ 16 กรกฎาคม เนคเกร์ได้พบกับประชาชนที่ศาลาว่าการกรุงปารีส ( l'Hôtel de Ville) ซึ่งถูกประดับไปด้วยธงสามสีคือแดง ขาว น้าเงิน วันเดียวกันนั้น Comte d'Artois ก็ได้หนีออกนอกประเทศ ถือเป็นสมาชิกราชวงศ์คนแรก ๆ ที่หนีออกนอกประเทศในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส หลังจากนั้นไม่นาน เทศบาลและกองกาลังติดอาวุธของประชาชน ( Garde Nationale) ก็ได้ถูกตั้งขึ้นอย่างรีบเร่งโดยประชาชนชาวปารีส โดยในไม่ช้าทั่วประเทศก็มีกองกาลังติดอาวุธของประชาชนตาม อย่างกรุงปารีส ผลของการปฏิวัติในช่วงแรก -การยุติสิทธิพิเศษต่าง ๆ สภา Assemblée Nationale ได้ประกาศว่าประชาชนทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน และล้มเลิกสิทธิการงดเว้นภาษีของคณะสงฆ์
  • 11. รวมทั้งให้ทุกคนมีโอกาสในการประกอบอาชีพทุกอย่างเท่าเทีย มกัน ภายหลังจากการลงมติของสภาฯ ไม่กี่วันก่อนหน้านี้ คือวันที่ 3-4 สิงหาคม 2332 ซึ่งได้รับมติสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากสมาชิกสภา คาประกาศสิทธิของมนุษย์และพลเมือง หรือ La déclaration des droits de l'homme et du citoyen เป็นคาประกาศที่ปูทางไปสู่การร่างรัฐธรรมนูญ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากปรัชญารู้แจ้ง( Enlightened) ซึ่งเป็นปรัชญาที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น และคาประกาศนี้ได้แบบอย่างจากรัฐธรรมนูญของสหรัฐฯ คาประกาศนี้ผ่านการพิจารณาของสภาฯ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคมพ.ศ. 2332 มีเนื้อหาหลักแสดงถึงหลักการพื้นฐานของการปฏิวัติ ภายใต้คาขวัญที่ว่า "เสรีภาพ, เสมอภาค, ภราดรภาพ" ในขณะนั้นมีข่าวลือในหมู่ประชาชนว่าจะมีการยึดอานาจคืนขอ งฝ่ายนิยมระบอบเก่าเมื่อชาวปารีสรู้ข่าวก็มีการตื่นตัวกันขนานใ หญ่ ดังนั้นประชาชนชาวปารีสซึ่งส่วนมากเป็นผู้หญิง ได้เดินขบวนไปยังพระราชวังแวร์ซายส์และเชิญพระเจ้าหลุยส์พ ร้อมทั้งราชวงศ์มาประทับในกรุงปารีส ในวันที่ 5-6 ตุลาคม ปีเดียวกัน โดยมีสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญที่อนุรักษ์นิยมตามเสด็จกลับกรุ งปารีสด้วย
  • 12. สาหรับสภา Assemblée Nationale ในขณะนั้นประกอบด้วยสมาชิกที่หัวก้าวหน้าเป็นส่วนมาก แต่มีภารกิจสาคัญอันดับแรกของสภาคือการดารงสถาบันพระม หากษัตริย์ไว้ ดังนั้นจึงยังไม่มีการโค่นล้มสถาบันกษัตริย์ในขณะนั้น การปฏิรูปครั้งใหญ่ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของฝรั่งเศสมีผลบังคับใช้เมื่อปลายปี พ.ศ. 2332 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังต่อไปนี้ • ตาแหน่งต่าง ๆ ในราชการไม่สามารถตกทอดไปยังลูกหลาน • จังหวัดต่าง ๆ ถูกยุบ , ประเทศถูกแบ่งเป็น 83 เขต (départements) • ศาลประชาชนถูกก่อตั้งขึ้น • มีการปฏิรูปกฎหมายของฝรั่งเศส • การเวนคืนที่ ธรณีสงฆ์ แล้วนามาค้าประกันพันธบัตร ที่ออกเพื่อระดมทุนจากประชาชน มาแก้ไขปัญหาหนี้ของประเทศ การปฏิรูปสถานะของพระสงฆ์ การจับกุม ณ วาเรนน์
  • 13. มีข่าวลือสะพัดอย่างหนาหูว่า พระนางมารี อองตัวเนตนั้น ได้แอบติดต่อกับพี่ชายของพระองค์ คือ จักรพรรดิลีโอโปลด์ที่ 2 แห่งออสเตรีย เพื่อที่จะให้ จักรพรรดิยกทัพมาโจมตีฝรั่งเศสและคืนอานาจให้ราชวงศ์ แพระเจ้าหลุยส์]]นั้นไม่ได้พยายามหนีออกนอกประเทศหรือรับค วามช่วยเหลือ แต่จะทรงหนีไปตั้งมั่นอยู่กับนายพลบุยเล่ ที่จงรักภักดีและสัญญาว่าจะให้ความช่วยเหลือแก่พระองค์ พระองค์เสด็จออกจากพระราชวังทุยเลอรีส์ในตอนกลางคืนของ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2334 แต่ทรงถูกจับได้ที่เมืองวาเรนน์ ในวันที่ 21 มิถุนายนพ.ศ. 2334 ส่งผลให้ความเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อพระองค์นั้นลดลงอย่า งมาก พระองค์ถูกนาตัวกลับมากักบริเวณในกรุงปารีส การสิ้นสุดของสภาร่างรัฐธรรมนูญ แม้ว่าสมาชิกส่วนใหญ่ของสภาฯ จะนิยมระบอบประชาธิปไตยโดยให้พระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธร รมนูญ มากกว่าระบอบสาธารณรัฐก็ตาม แต่ ณ ขณะนั้น พระเจ้าหลุยส์ก็ไม่ได้มีบทบาทมากไปหว่าหุ่นเชิด พระองค์ถูกบังคับให้บฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญ และให้ยอมรับเงื่อนไขที่ว่า เมื่อพระองค์กระทาการกระทาใดๆที่จะชักนาให้กองทัพต่างชาติ มาโจมตีฝรั่งเศส หรือ กระทาสิ่งที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ให้ถือว่าพระองค์สละราชสมบัติโดยอัตโนมัติ ขณะเดียวกันนั้น ฌอง ปิแอร์ บริสโซต์ ได้ร่างประกาศโจมตีพระเจ้าหลุยส์ มีสาระสาคัญว่า
  • 14. พระเจ้าหลุยส์ทรงสละราชสมบัติไปตั้งแต่พระองค์เสด็จออกจาก พระราชวังทุยเลอรีส์แล้ว ฝูงชนจานวนมากพยายามเข้ามาใน ชอง เดอ มาร์ส เพื่อลงนามในใบประกาศนั้น ทาให้เกิดความวุ่นวายขึ้น สภาร่างรัฐธรรมนูญได้ขอร้องให้เทศบาลปารีสช่วยรักษาความส งบ แต่ไม่สาเร็จ ในที่สุด กองทหารองครักษ์ ภายใต้การบัญชาการของลาฟาแยตต์ ก็ได้เข้ามารักษาความสงบ ฝูงชนได้ปาก้อนหินใส่องครักษ์ ในช่วงแรก องครักษ์โต้ตอบด้วยการยิงขึ้นฟ้า แต่ไม่สาเร็จ จึงจาต้องยิงปืนใส่ฝูงชน ทาให้ประชาชนตายไปประมาณ 50 คน หลังจากการสังหารหมู่ครั้งนี้ ทางการก็ได้ดาเนินการปราบปรามพวกสมาคมนิยมสาธารณรัฐ ต่างๆ รวมทั้งหนังสือพิมพ์ของพวกนี้อีกด้วย หนังสือพิมพ์เพื่อนประชาชน( l'ami du peuple) ของมาราต์ บุคคลที่มีแนวคิดแบบนี้เช่น มาราต์และเดสมูแลงต่างพากันหลบซ่อน ส่วนดังตงหนีไปอังกฤษ ขณะที่ภายในฝรั่งเศสกาลังวุ่นวาย เหล่าราชวงศ์ของยุโรป โดยมีแกนนาคือกษัตริย์แห่งปรัสเซีย จักรพรรดิออสเตรีย และพระอนุชาของพระเจ้าหลุยส์ ก็ได้ร่วมมือกัน โดยมีเป้าหมายสาคัญคือให้พระเจ้าหลุยส์มีอิสรภาพสมบูรณ์และ ให้ยุบสภา Assemblée Nationale หากสิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้น
  • 15. ก็จะโจมตีฝรั่งเศสเพื่อให้สาเร็จตามเป้าหมาย แต่ประชาชนชาวฝรั่งเศสไม่สนใจต่อคาประกาศดังกล่าว และเตรียมการต่อต้านอย่างแข็งขัน โดยส่งกาลังทหารไปยังชายแดน. การต่อสู้ขับเคี่ยวระหว่างระบอบกษัตริย์และสาธารณรัฐดาเนินก ารอย่างเข้มข้น และขยายผลสะเทือนไปทั่วทั้งยุโรป วันที่ 27 สิงหาคม 1791(พศ.2334) มีการประกาศพิลนิทซ์ (Declaration of Pillnitz) ปรัสเซียกับจักรวรรดิออสเตรีย ประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเพื่อรักษาระบอบกษัตริย์ ในปีถัดมา วันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1792 สภานิติบัญญัติภายใต้พรรคจิรองแดงประกาศสงครามกับออสเต รีย วันที่11 กรกฎาคม กองทัพออสเตรียเข้าสู่ฝรั่งเศส วันที่ 27 กรกฎาคม ฝ่ายออสเตรียออกประกาศบรุนสวิก ( Brunswick Manifesto) ขู่ทาลายกรุงปารีสหากกษัตริย์เป็นอันตราย ประชาชนโกรธแค้นคาประกาศนี้ วันที่ 10 สิงหาคม ฝูงชนบุกพระราชวังตุยเลอรี (Tuilleries) สังหารทหารรักษาการชาวสวิต ดังตองจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวและตั้งสภาแห่งชาติ (National Convention) วันที่ 22 สิงหาคม คศ.1792 ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐครั้งที่หนึ่งยกเลิกระบอบกษัตริย์
  • 16. ค.ศ.1793 วันที่ 21 มกราคม พระเจ้าหลุยส์ถูกปลงพะชนม์ด้วยเครื่องกิโยตีน เพราะทรงถูกกล่าวหาว่า ทรยศต่อชาติ ค.ศ.1793-4 เริ่มยุคน่าสะพึงกลัว (Reign of Terror) โรเบสปิแอร์ (Robespierre) ได้ครองอานาจ วันที่ 16 ตุลาคม ปลงพระชนม์พระนาง มารี อังตัวเนตต์ ด้วยกิโยตีน และมีการสังหารพวกจิรองดิสต์ไม่น้อยกว่า 60 คน การปฏิวัติฝรั่งเศส กินเวลาในช่วงระหว่างปีคศ. 1789-1799 ( พ.ศ.2332-2342) ในการโค่นล้มระบอบกษัติย์ หลังจากสถาปนาระบอบสาธารณรัฐสาเร็จแล้วไม่นาน มีการแย่งชิงอานาจรัฐระหว่างกลุ่มชนชั้นปกครองด้วยกันเอง จนนามาสู่ค.ศ. 1799 นาย พลนโปเลียน โบนาปาร์ต ยึดอานาจจากคณะมนตรี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศ ส ซึ่งเป็นผู้ปกครองที่มีอานาจสูงสุด นโปเลียนดารงตาแหน่งกงสุลในปี ค.ศ. 1799 - ค.ศ. 1803 ก่อนที่นโปเลียนจะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิในเวลาต่อม า หลังจากนั้นฝรั่งเศสต้องเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกหลายครั้ง สลับกันระหว่างแบบกษัตริย์ กับแบบสาธารณรัฐ จนกระทั่งปัจจุบัน ฝรั่งเศส ผ่านกระบวนการสร้างระบอบสาธารณรัฐ มาถึง สาธารณรัฐที่ 5 ( ค.ศ. 1958 - ปัจจุบัน)
  • 17. นาย พลชาร์ล เดอ โกลใช้ระบบประธานาธิบดีที่เลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง แทนระบบรัฐสภาแบบเดิม ซึ่งคงอยู่มาถึงปัจจุบัน สาธารณรัฐที่ 5 ของฝรั่งเศสมีประธานาธิบดีมาทั้งหมด5 คนดังนี้ นาย พลชาลส์ เดอ โกล ค.ศ. 1958 - ค.ศ. 1969 ชอร์ช ปงปีดู ค.ศ. 1969 - ค.ศ. 1974 วาเลรี ชีสการ์ แดสแตง ค.ศ. 1974 - ค.ศ. 1981 ฟรองซัว มีแตรอง ค.ศ. 1981 - ค.ศ. 1995 ชาก ชีรัก ค.ศ. 1995 – ปัจจุบัน ปฏิวัติฝรั่งเศส ภาคสรุป การปฏิวัติฝรั่งเศสเป็นการปฏิวัติใหญ่ที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการเมืองทั่ วยุโรป โดยมีสาเหตุทางด้านการคลังเป็นพื้นฐาน เป็นการปฏิวัติโดยกลุ่มชนชั้นกลางที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมใ นการปกครองโดยการล้มล้างการปกครองในระบอบเก่า (Ancient Regime) หรือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolutism) มาสู่อานาจอธิปไตยของประชาชน สาเหตุทั่วไปของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 ประกอบด้วย ด้านการเมือง
  • 18. 1. พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอานาจเด็ดขาดในการบริหารประเทศจึงเ ปิดโอกาสให้คณะบุคคลบางกลุ่มเข้ามามีสิทธิร่วมในการบริหาร ประเทศ 2. สภาท้องถิ่น (Provincial Estates) เป็นสภาที่มีอยู่ทั่วไปในฝรั่งเศส และตกอยู่ภายใต้อานาจอิทธิพลของขุนนางท้องถิ่น เริ่มกลับเข้ามามีบทบาทอีกครั้ง 3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรือศาลสูงสุดของฝรั่งเศส ทาหน้าที่ให้การปรึกษากับกษัตริย์มีสิทธิ์ยังยั้งการออกกฎหมาย ใหม่ (Vito) ซึ้งเป็นสภาที่เป็นปากเป็นเสียงของประชนเคยถูกปิดไปแล้ว กลับเข้ามามีอานาจอีกครั้ง พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงยอมให้สภาปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบา งอย่างทางการเมือง 4. สภาฐานันดรหรือสภาทั่วไป (Estates General) ที่จัดตั่งขึ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้าฟิลิปที่ 4 เพื่อต่อต้านอานาจของสันตปาปา ซึ่งมีผลทาให้เกิดชนชั้นของประชาชน 3 ชนชั้นคือ พระ ขุนนาง และสามัญชน, ในปี ค.ศ. 1789 สถานะทางด้านการคลังของประเทศเกิดปัญหาขาดดุลอย่างหนัง ทาให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16
  • 19. เปิดสภานี้ขึ้นมาใหม่หลังจากจากที่ถูกปิดไปถึง 174 ปี เพื่อขอเสียงสนับสนุนจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภ าษีเพิ่มขึ้น แต่เกิดปัญหาการนับคะแนนเสียงขึ้น จนกลายเป็นชนวนที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1789 5. ประเทศฝรั่งเศสไม่มีรัฐธรรมนูญ ทาให้การปกครองเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และประชาชนไม่ได้รับการคุ้มครอง ด้านเศรษฐกิจ 1. สืบเนื่องมาจากพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ทรงใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยในราชสานัก เป็นปัญหาสั่งสมมาจนถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 2. เป็นปัญหาสืบเนื่องมาจากการที่ฝรั่งเศสเข้าไปพัวพันกับสงคราม ในต่างประเทศมากเกินไป โดยเฉพาะสงครามกู้เอกราชของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1776 จึงทาให้เกิดค้าใช้จ่ายสูง 3. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมมา สู่ภาคอุตสาหกรรม ทาให้เกิดวิกฤตการทางการเกษตร ราคาอาหารสูงขึ้นไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดชนชั้นใหม่ขึ้นมา คือชนชั้นกลาง (พ่อค้า นายทุน) ซึ่งมีส่วนสาคัญในการปฏิวัติ
  • 20. 4. พระเจ้าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้จ่ายในราชสานักได้ แต่ก็พยายามแก้ไขโดย - ปรับปรุงการเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ก่อให้เกิดการไม่พอใจในกลุ่มคนบางกลุ่มที่ไม่เคยเสียภาษี - เพิ่มการกู้เงิน ซึ่งก็ช่วยทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ก็ต้องจ่ายค่าดอกเบี้ยมากขึ้นด้วยเช่นกัน - ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี้ยบานาน ลดจานวนค่าราชการ ซึ่งทาให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ ยังส่งผลถึงการทางานของราชการไม่มีประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไม่เป็นผลสาเร็จ เนื่องจากแก้ไขที่ไม่ตรงจุด จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นลงไปได้ ด้านสังคม 1. การรับอิทธิพลทางความคิดของชาวต่างชาติ จาการที่ฝรั่งเศสเข้าไปช่วยสหรัฐอเมริกาทาสงครามประกาศอิส ภาพจากอังกฤษ จึงทาให้รับอิทธิพลทางความคิดด้านเสรีภาพนั้นกลับเข้ามาในป ระเทศด้วย อิทธิพลทางความคิดที่สาคัญที่รับมาคือจากบรรดานักปรัชญาก ลุ่ม ฟิโลซอฟส์ (Philosophes) นักปรัชญาคนสาคัญคือ วอร์แตร์, จอห์น ล็อค, รุสโซ่
  • 21. 2. เกิดปัญหาความแตกต่างทางสังคม อันเนื่องมาจากพลเมืองแบ่งออกเป็น 3 ฐานันดร คือ - ฐานันดรที่ 1 พระ - ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง - ฐานันดรที่ 3 สามัญชน ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็นกลุ่มที่มีอภิสิทธิ์ชน คือไม่ต้องเสียภาษี ทาให้กลุ่มฐานันดรที่ 3 ต้องแบกรับภาระทั้งหลายอย่างเอาไว้เช่น การเสียภาษี การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ กลุ่มฐานันดรที่ 3 ถือเป็นกลุ่มไม่มีอภิสิทธิ์ชน สาเหตุปัจจุบันของการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 เมื่อประเทศฝรั่งเศสประสบปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจนไม่สามาร ถแก้ปัญหาได้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 จึงทรงเปิดประชุมสภาฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1789 เพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุ่มช่วยกันแ ก้ไขปัญหาทางการคลัง แต่ได้เกิดปัญหาขึ้นเพราะกลุ่มฐานันดรที่ 3 เรียกร้องให้นับคะแนนเสียงเป็นรายหัว แต่กลุ่มฐานันดรที่ 1 และ 2 ซึ่งได้ร่วมมือกันเสมอนั้นเสนอให้นับคะแนนเสียงแบบกลุ่ม จึงทาให้กลุ่มฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา
  • 22. แล้วจัดตั้งสภาแห่งชาติ (National Assombly) เรียกร้องให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ปิดห้องประชุม ต่อมาวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ย้ายไปประชุมที่สนามเทนนิส และร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่าจะ ได้รับชัยชนะ และต้องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ในการปกครองประเทศ ในขณะเดียวกันกับความวุ่นวายได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปารี ส และได้ขยายตัวออกไปทั่วประเทศ ฝูงชนชาวปารีสได้รับข่าวลือว่าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 กาลังจะส่งกาลังทหารเข้ามาปราบปรามความฝูงชนที่ก่อวุ่นวาย ในปารีส ดังนั้น ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ร่วมมือกันทาลายคุกบาสติล(Bastille) ซึ่งเป็นสถานที่คุมขังนักโทษทางการเมือง และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (คนเดียว) มาสู่ระบอบสาธารณรัฐ (หลายตน) 2. มีการล้มล้างกลุ่มอภิสิทธิชน พระและขุนนางหมดอานาจ, กลุ่มสามัญชน กรรมกร ชาวนา และโดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นกลาง เข้ามามีอานาจแทนที่
  • 23. 3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ากับรัฐ ทาให้อานาจของสันตะปาปาถูกควบคุมโดยรัฐ 4. เกิดความวุ่นวายทั่วประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยู่กั บการปรครองแบบเก่า 5. มีการทาสงครามกับต่างชาติ 6. มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็นต้นแบบของการปฏิวัติไ ปยังประเทศอื่น ๆ ในยุโรป ประเทศอืนๆทั่วโลก Credit: อ.พัฒน์ชระ กมลรัตน์ Edit: ครูทองคา วิรัตน์