SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 46
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความร้อน [HEAT]
พลังงานความร้อน (Thermal energy)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
James Pascott Joule;
(1818–1889) ให้แนวคิดสมมูล
เชิงกลความร้อน (Mechanical
equivalent of heat) หรือ
ส ม มู ล ข อ ง จู ล ( Joule’s
equivalent) นับว่าเป็นจุดที่
สาคัญที่เชื่อมระหว่างปริมาณ
ความร้อนเข้ากับพลังงานความ
ร้อนได้เป็นอย่างดี
ความร้อน (HEAT)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ความร้อน (Heat) คือ รูปหนึ่งของพลังงานความร้อนที่เปลี่ยนมาจากพลังงานอื่น มีหน่วยเป็น จูล (J)
หน่วยของความร้อน
แคลอรี (calorie : cal) : 1 cal = ความร้อนที่ทาให้นา 1 g มีอุณหภูมิสูงขึน 1oC
BTU (British Thermal Unit) : 1 BTU = ความร้อนที่ทาให้นา 1 pound มีอุณหภูมิสูงขึน
1 oF (63 oF ไปเป็น 64 oF)
จากการทดลองได้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยต่างๆ ดังนี
 1 cal = 4.186 J ***
 1 BTU = 252 cal = 1055 J
อุณหภูมิ (Temperature : T)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
อุณหภูมิ
 เป็นปริมาณที่สื่อให้เห็นว่าวัตถุนัน
ร้อน หรือ เย็น เพียงใด.
เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิ T โดยใช้หลักการ สมดุลทางความร้อน
(Thermal equilibrium) ที่กล่าวว่า “สสารทุกชนิด จะไม่มีการถ่ายเทความร้อนซึ่งกันและกัน เมื่อ
สสารเหล่านั้นมีอุณหภูมิหรือระดับความร้อนเท่ากัน”
ชนิดเทอร์โมมิเตอร์
สเกลอุณหภูมิ (Temperature scales)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
032 273
212 32 100 0 373 273
x CF Kt FP tt t
BP FP
  
  
   
32 273
180 100 100
x CF Kt FP tt t
BP FP
  
  

สูตรความสัมพันธ์
หรือ
ตัวอย่าง
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
1. ถ้าต้องการเปลี่ยนอุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส ให้เป็นระบบเคลวินและองศาฟาเรนไฮร์ จะมีค่า
เท่าใด ?
ความจุความร้อน (Heat capacity; C )
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
 ความจุความร้อน (Heat Capacity; C ) คือ ความร้อนที่เปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิ ดังนันจะได้
 ความร้อนจาเพาะ (Specific Heat ; c ) คือ ความร้อนที่ทาให้มวลสาร 1 kg มีอุณหภูมิเพิ่มขึน
1 เคลวิน ดังนันจะได้
***หมายเหตุ ทังค่า C และ c จะไม่คงที่ โดยจะขึนกับอุณหภูมิ T
T
Q
C



หน่วย จูลต่อเคลวิน (J/K)
1 Q
c
m T



หน่วย จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน (J/kg K)
ความจุความร้อน (Heat capacity; C )
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
จากสมการข้างต้น เขียนใหม่ได้เป็น
เมื่อ Q แทน พลังงานความร้อน [ J ]
m แทน มวลของสาร [ kg ]
c แทน ความร้อนจาเพาะ [J/kg.oC หรือ J/kg.K ]
แทน ผลต่างของอุณหภูมิ ใช้ Tมาก - Tน้อย เสมอ [ K หรือ oC ]
ใช้เมื่อ เปลี่ยนอุณหภูมิ
แต่ไม่เปลี่ยนสถานะ
ΔQ = mcΔT
ΔT
ตารางความร้อนจาเพาะของสาร
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ΔQ = mcΔT
cน้ำ = 4.2 kJ/kg.oC หรือ cน้ำ = 1 cal/g.oC
ใช้เมื่อ บอก Q มำในหน่วย cal
และ m มำในหน่วย g
ใช้เมื่อ บอก Q มำในหน่วย J
และ m มำในหน่วย kg
1
2
การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ขยำยตัวตำมเส้น
ขยำยตัวตำมพืนที่
ขยำยตัวตำมปริมำตร
ผลการขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ความร้อนแฝง (Latent heat ; L)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
A
การเปลี่ยนสถานะของนา มวล 1 กิโลกรัม
B C
D E
F
ความร้อนแฝง (Latent heat ; L)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ความร้อนแฝง คือ ความร้อนที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสาร เช่น
 จากของแข็งเป็นของเหลว : ความร้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion)
 จากของเหลวเป็นแก๊ส : ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent heat of vaporization)
หลอมเหลว กลายเป็นไอ(เดือด)
ตัวอย่าง การเปลี่ยนของสารเมื่อได้รับความร้อน
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ความร้อนแฝง (Latent heat ; L)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
จากนิยามข้างต้น จะได้ความสัมพันธ์เป็น
เมื่อ Q แทน พลังงานความร้อน [ J ]
m แทน มวลของสาร [ kg ]
L แทน ความร้อนแฝง [ kJ/kg หรือ J/g]
ข้อควรจา!
 ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว(Lm) = 333 J/g
 ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ(Lv) = 2,256 J/g
ใช้เมื่อ ไม่เปลี่ยนอุณหภูมิ
แต่เปลี่ยนสถานะQ = mL
สมดุลความร้อน
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ปริมาณความร้อนที่วัตถุอุณหภูมิสูงคายออกมาหรือลดลง จะเท่ากับปริมาณความร้อนที่วัตถุ
อุณหภูมิต่าได้รับเข้าไปหรือเพิ่มขึน กล่าวสันๆ ว่า “ความร้อนลดเท่ากับความร้อนเพิ่ม” เขียน
ความสัมพันธ์ได้ว่า
Q Q
ลด
=
เพิ่ม
การถ่ายโอนความร้อน (Heat transferring)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
การถ่ายโอนความร้อน แบ่งออกเป็น 3 วิธี ดังนี การนาความร้อน (conduction)
การพาความร้อน (convection)
การแผ่รังสีความร้อน (radiation)
กฎของแก๊ส (Gag laws)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
กฎของแก๊ส (Gas laws) เป็นกฎที่ใช้สาหรับอธิบายสมบัติต่าง ๆ ของแก๊ส ได้แก่ ปริมาตร (V)
ความดัน (P) และอุณหภูมิอุณหพลวัต (T) ของแก๊สนัน ๆ กฎของแก๊สที่เราควรรู้จัก ประกอบด้วย
กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของเก-ลูซัก สาหรับรายละเอียดของกฎข้างต้นและกฎอื่น ๆ จะได้
อธิบายข้างล่างนี
กฎของบอยล์ (Boyle’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
การทดลองของบอยล์
Simulator
กฎของบอยล์ (Boyle’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
“สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าอุณหภูมิ (T) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของแก๊ส
จะแปรผกผันกับความดัน (P) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
1
V α
P
PV constant
[เมื่อ T คงที่]หรือ
จะได้ 1 1 2 2PV = P V ใช้เมื่อ T คงที่
***หมายเหตุ P และ V ใช้หน่วยไหนก็ได้ ขอให้เป็นหน่วยเดียวกัน
Robert Boyle
กฎของชาร์ล (Charles’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
การทดลองของชาร์ล
Simulator
กฎของชาร์ล (Charles’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V α T
V
= constant
T
[เมื่อ P คงที่]
หรือ
จะได้ 1 2
1 2
V V
=
T T ใช้เมื่อ P คงที่
***หมายเหตุ V ใช้หน่วยเดียวกัน แต่ T ต้องเป็นหน่วยเคลวิน (K) เท่านัน!
“สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าความดัน (P) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของ
แก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ (T) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
Cesar Charles
กฎของเกย์-ลูสแซค (Gay-Lussac’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
การทดลองของเกย์-ลูสแซค
ได้กราฟ เส้นตรงของ T กับ P
กฎของเกย์-ลูสแซค (Gay-Lussac’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
P α T
P
= constant
T
[เมื่อ V คงที่]
หรือ
จะได้ 1 2
1 2
P P
=
T T ใช้เมื่อ V คงที่
***หมายเหตุ P ใช้หน่วยเดียวกัน แต่ T ต้องเป็นหน่วยเคลวิน (K) เท่านัน!
Gay-Lussac
“สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าปริมาตร(V) ของแก๊สคงตัว ความดัน(P) ของ
แก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ(T) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
กฎของอาโวกาโดร์ (Avogadro’s law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ที่อุณหภูมิ T และความดัน P คงที่ ปริมาตร V จะแปรผันตามจานวนโมล n ของแก๊ส
constant,;α TPnV เมื่อ
4.22
V
n 
กฎรวมแก๊ส (Combine gas law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
กฎรวมแก๊สเป็นการรวมกฎของบอยล์ ชาร์ลส์ และเกย์ ลูสแซค ดังนี
จะได้
1 1 2 2
1 2
P V P V
=
T T
PV
= Constant
T
กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
กฎรวมแก๊สเป็นการรวมกฎของบอยล์ ชาร์ลส์ และเกย์ ลูสแซค ดังนี
จากสมการข้างต้น พบว่าค่าคงตัวแปรผันตรงกับจานวนโมล (n) ของแก๊ส นั่นคือ
จะได้
โดย R เป็นค่าคงตัว เรียกว่า ค่าคงตัวแก๊ส (Gas constant) มีค่า 8.31 J/mol.K
1 1 2 2
1 2
P V P V
=
T T
PV
n
T

PV = nRT
กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ถ้า แทนลงในสมการข้างต้น จะได้
หรือ
โดย kB เรียกว่า ค่าคงโบลต์ซมันน์ (Boltzmann constant)
มีค่า 1.38 x 10-23 J/K
N เป็นจานวนโมเลกุลทังหมดของแก๊ส
A
N
n =
N
A
R
PV = N T
N
BPV = Nk T
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
 เป็นทรงกลมขนาดเล็ก
 เคลื่อนที่ตลอดเวลาแบบสุ่ม แบบ Brownian
motion โดยมีทิศทางและความเร็วต่างกัน
การชนกันระหว่างโมเลกุลเป็นแบบยืดหยุ่น
สมบูรณ์ (KEก่อน = KEหลัง)
 หลังจากการชน ขนาดของความเร็วเท่าเดิม
 ใช้กฎความดันและกฎของนิวตันในการ
อธิบาย
แบบจาลองของแก๊สอุดมคติ (ideal gas model)
“เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของแต่ละโมเลกุล”
ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
จะได้สมการ ดังนี
21
PV =
3
Nmv
อัตราเร็วโมเลกุลของแก๊ส
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
1. อัตราเร็วเฉลี่ยกาลังสองของแก๊ส หาได้จาก
2. อัตราเร็วเฉลี่ยรากที่สองของแก๊ส หาได้จาก
เมื่อ m เป็นมวลโมเลกุลของแก๊ส หน่วย กิโลกรัม [kg]
M เป็นมวลโมลาร์ของแก๊ส หน่วย กิโลกรัมต่อโมล [kg/mol]
2 2 2 2
2 1 2 3 ... Nv v v v
v
N
   

2 3 3
= = =B
rms
k T RT
v v
m M
พลังงานภายในระบบ
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ระบบ (System)
ระบบในทางอุณหพลศาสตร์ คือ สิ่งใด ๆ ที่พิจารณาและมีขอบเขตที่แน่ชัด อธิบายได้ด้วยตัว
แปรสถานะ เช่น ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ ฯลฯ สิ่งที่อยู่นอกระบบเรียกว่า สิ่งแวดล้อม
(surrounding) ระบบแบ่งได้ดังนี
 ระบบโดดเดี่ยว (isolated system) : ไม่มีการ
แลกเปลี่ยนมวลและพลังงานกับสิ่งแวดล้อม
 ระบบปิด (closed system) : พลังงานแลก
เปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้แต่มวลสารคงที่
 ระบบเปิด (opened system) : ทังมวลสารและ
พลังงานแลกเปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้
พลังงานภายในระบบ (U)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
พลังงานภายในระบบ (internal energy ; U ) คือ
ผลรวมของพลังงานจลน์ทังหมดของโมเลกุล หาได้จาก
การพิจารณาเครื่องหมายบวก ลบ ของ ให้ดูจากค่าของ ดังนี
 ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึนจะได้ค่า เป็นบวก ทาให้ เป็นบวกตาม
 ถ้าอุณหภูมิลดลงจะได้ค่า เป็นลบ ทาให้ เป็นลบตาม
ΔU ΔT
ΔT ΔU
ΔT ΔU
3 3
U = = =
2 2
k BN E Nk T nR T   
งานที่ทาโดยแก๊ส (W)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
งาน(Work) คือ กลไกการส่งพลังงานที่สาคัญในระบบ
อุณหพลวัตร เช่นเดียวกับความร้อน ดังนัน งาน (W) ที่แก๊สทา
ต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกสาหรับการขยายตัว หาได้จาก
W = PΔV
การคิดเครื่องหมาย
 แก๊สถูกอัด V < 0 งาน (W) เป็น – (ให้งานระบบ)
 แก๊สขยายตัว V > 0 งาน (W) เป็น + (ระบบทางานให้)
 แก๊สไม่ขยายตัว V = 0 งาน (W) เป็น 0
กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์
(The first law of thermodynamics)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
เป็นกฎที่กล่าวถึงการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวคือ “ พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบ
(Q) จะเท่ากับ ผลรวมของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น (U) กับงานที่ทาโดยระบบ (W) ” จะ
ได้ว่า
เมื่อ Q = พลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ
U = พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึน
W = งานที่ได้จากระบบ
ΔQ = U + W 
การคิดเครื่องหมาย
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
ปริมาณ ลักษณะ เครื่องหมาย
Q พลังงานความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ +
พลังงานความร้อนไหลออกจากระบบ -
ไม่มีพลังงานความร้อนไหลเข้าหรือออกจากระบบ 0
U พลังงานภายในระบบเพิ่มขึน ( อุณหภูมิเพิ่มขึน ) +
พลังงานภายในระบบลดลง ( อุณหภูมิลดลง ) -
พลังงานภายในระบบคงตัว ( อุณหภูมิคงที่ ) 0
W งานที่ทาโดยระบบ ( ปริมาตรเพิ่มขึน ) +
งานที่สิ่งแวดล้อมทาให้ระบบ ( ปริมาตรลดลง ) -
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร 0
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )
17.1 ความหนาแน่น (Density)
โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]
V คือ ปริมาตร ( m3 )

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
dnavaroj
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
krupornpana55
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 

Was ist angesagt? (20)

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 

Andere mochten auch

Second Law of Thermodynamics
Second Law of Thermodynamics Second Law of Thermodynamics
Second Law of Thermodynamics
cordialswap
 
การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbook
Khwankamon Changwiriya
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
10.3 - Second law of thermodynamics
10.3 - Second law of thermodynamics10.3 - Second law of thermodynamics
10.3 - Second law of thermodynamics
simonandisa
 
Milk the complete food
Milk   the complete foodMilk   the complete food
Milk the complete food
siobhanpdst
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
Nawamin Wongchai
 
Methods of heat transfer
Methods of heat transferMethods of heat transfer
Methods of heat transfer
siobhanpdst
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 

Andere mochten auch (19)

บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
Second Law of Thermodynamics
Second Law of Thermodynamics Second Law of Thermodynamics
Second Law of Thermodynamics
 
heat
heatheat
heat
 
การถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbookการถ่ายโอนความร้อนEbook
การถ่ายโอนความร้อนEbook
 
Topic 1
Topic 1Topic 1
Topic 1
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
10.3 - Second law of thermodynamics
10.3 - Second law of thermodynamics10.3 - Second law of thermodynamics
10.3 - Second law of thermodynamics
 
Milk the complete food
Milk   the complete foodMilk   the complete food
Milk the complete food
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
Second law of thermodynamic
Second law of thermodynamic              Second law of thermodynamic
Second law of thermodynamic
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
Methods of heat transfer
Methods of heat transferMethods of heat transfer
Methods of heat transfer
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Ähnlich wie ความร้อน

เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
Apinya Phuadsing
 

Ähnlich wie ความร้อน (20)

002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
 
Thermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptxThermodynamics.pptx
Thermodynamics.pptx
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน.pptx
ความร้อน.pptxความร้อน.pptx
ความร้อน.pptx
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
005 transient heat conduction thai
005 transient heat conduction thai005 transient heat conduction thai
005 transient heat conduction thai
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 

Mehr von Theerawat Duangsin

แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
Theerawat Duangsin
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Theerawat Duangsin
 

Mehr von Theerawat Duangsin (6)

ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แร่และหิน
แร่และหินแร่และหิน
แร่และหิน
 

ความร้อน

  • 2. พลังงานความร้อน (Thermal energy) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] James Pascott Joule; (1818–1889) ให้แนวคิดสมมูล เชิงกลความร้อน (Mechanical equivalent of heat) หรือ ส ม มู ล ข อ ง จู ล ( Joule’s equivalent) นับว่าเป็นจุดที่ สาคัญที่เชื่อมระหว่างปริมาณ ความร้อนเข้ากับพลังงานความ ร้อนได้เป็นอย่างดี
  • 3. ความร้อน (HEAT) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ความร้อน (Heat) คือ รูปหนึ่งของพลังงานความร้อนที่เปลี่ยนมาจากพลังงานอื่น มีหน่วยเป็น จูล (J) หน่วยของความร้อน แคลอรี (calorie : cal) : 1 cal = ความร้อนที่ทาให้นา 1 g มีอุณหภูมิสูงขึน 1oC BTU (British Thermal Unit) : 1 BTU = ความร้อนที่ทาให้นา 1 pound มีอุณหภูมิสูงขึน 1 oF (63 oF ไปเป็น 64 oF) จากการทดลองได้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยต่างๆ ดังนี  1 cal = 4.186 J ***  1 BTU = 252 cal = 1055 J
  • 4. อุณหภูมิ (Temperature : T) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] อุณหภูมิ  เป็นปริมาณที่สื่อให้เห็นว่าวัตถุนัน ร้อน หรือ เย็น เพียงใด.
  • 5. เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้วัดอุณหภูมิ T โดยใช้หลักการ สมดุลทางความร้อน (Thermal equilibrium) ที่กล่าวว่า “สสารทุกชนิด จะไม่มีการถ่ายเทความร้อนซึ่งกันและกัน เมื่อ สสารเหล่านั้นมีอุณหภูมิหรือระดับความร้อนเท่ากัน” ชนิดเทอร์โมมิเตอร์
  • 6. สเกลอุณหภูมิ (Temperature scales) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] 032 273 212 32 100 0 373 273 x CF Kt FP tt t BP FP           32 273 180 100 100 x CF Kt FP tt t BP FP        สูตรความสัมพันธ์ หรือ
  • 7. ตัวอย่าง โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] 1. ถ้าต้องการเปลี่ยนอุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส ให้เป็นระบบเคลวินและองศาฟาเรนไฮร์ จะมีค่า เท่าใด ?
  • 8. ความจุความร้อน (Heat capacity; C ) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]  ความจุความร้อน (Heat Capacity; C ) คือ ความร้อนที่เปลี่ยนแปลงต่ออุณหภูมิ ดังนันจะได้  ความร้อนจาเพาะ (Specific Heat ; c ) คือ ความร้อนที่ทาให้มวลสาร 1 kg มีอุณหภูมิเพิ่มขึน 1 เคลวิน ดังนันจะได้ ***หมายเหตุ ทังค่า C และ c จะไม่คงที่ โดยจะขึนกับอุณหภูมิ T T Q C    หน่วย จูลต่อเคลวิน (J/K) 1 Q c m T    หน่วย จูลต่อกิโลกรัม เคลวิน (J/kg K)
  • 9. ความจุความร้อน (Heat capacity; C ) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] จากสมการข้างต้น เขียนใหม่ได้เป็น เมื่อ Q แทน พลังงานความร้อน [ J ] m แทน มวลของสาร [ kg ] c แทน ความร้อนจาเพาะ [J/kg.oC หรือ J/kg.K ] แทน ผลต่างของอุณหภูมิ ใช้ Tมาก - Tน้อย เสมอ [ K หรือ oC ] ใช้เมื่อ เปลี่ยนอุณหภูมิ แต่ไม่เปลี่ยนสถานะ ΔQ = mcΔT ΔT
  • 10. ตารางความร้อนจาเพาะของสาร โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ΔQ = mcΔT cน้ำ = 4.2 kJ/kg.oC หรือ cน้ำ = 1 cal/g.oC ใช้เมื่อ บอก Q มำในหน่วย cal และ m มำในหน่วย g ใช้เมื่อ บอก Q มำในหน่วย J และ m มำในหน่วย kg 1 2
  • 11. การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ขยำยตัวตำมเส้น ขยำยตัวตำมพืนที่ ขยำยตัวตำมปริมำตร
  • 13. ความร้อนแฝง (Latent heat ; L) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] A การเปลี่ยนสถานะของนา มวล 1 กิโลกรัม B C D E F
  • 14. ความร้อนแฝง (Latent heat ; L) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ความร้อนแฝง คือ ความร้อนที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสาร เช่น  จากของแข็งเป็นของเหลว : ความร้อนแฝงของการหลอม (Latent heat of fusion)  จากของเหลวเป็นแก๊ส : ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (Latent heat of vaporization) หลอมเหลว กลายเป็นไอ(เดือด)
  • 16. ความร้อนแฝง (Latent heat ; L) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] จากนิยามข้างต้น จะได้ความสัมพันธ์เป็น เมื่อ Q แทน พลังงานความร้อน [ J ] m แทน มวลของสาร [ kg ] L แทน ความร้อนแฝง [ kJ/kg หรือ J/g] ข้อควรจา!  ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว(Lm) = 333 J/g  ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ(Lv) = 2,256 J/g ใช้เมื่อ ไม่เปลี่ยนอุณหภูมิ แต่เปลี่ยนสถานะQ = mL
  • 17. สมดุลความร้อน โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ปริมาณความร้อนที่วัตถุอุณหภูมิสูงคายออกมาหรือลดลง จะเท่ากับปริมาณความร้อนที่วัตถุ อุณหภูมิต่าได้รับเข้าไปหรือเพิ่มขึน กล่าวสันๆ ว่า “ความร้อนลดเท่ากับความร้อนเพิ่ม” เขียน ความสัมพันธ์ได้ว่า Q Q ลด = เพิ่ม
  • 18. การถ่ายโอนความร้อน (Heat transferring) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] การถ่ายโอนความร้อน แบ่งออกเป็น 3 วิธี ดังนี การนาความร้อน (conduction) การพาความร้อน (convection) การแผ่รังสีความร้อน (radiation)
  • 19. กฎของแก๊ส (Gag laws) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] กฎของแก๊ส (Gas laws) เป็นกฎที่ใช้สาหรับอธิบายสมบัติต่าง ๆ ของแก๊ส ได้แก่ ปริมาตร (V) ความดัน (P) และอุณหภูมิอุณหพลวัต (T) ของแก๊สนัน ๆ กฎของแก๊สที่เราควรรู้จัก ประกอบด้วย กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของเก-ลูซัก สาหรับรายละเอียดของกฎข้างต้นและกฎอื่น ๆ จะได้ อธิบายข้างล่างนี
  • 20. กฎของบอยล์ (Boyle’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] การทดลองของบอยล์ Simulator
  • 21. กฎของบอยล์ (Boyle’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] “สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าอุณหภูมิ (T) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของแก๊ส จะแปรผกผันกับความดัน (P) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น 1 V α P PV constant [เมื่อ T คงที่]หรือ จะได้ 1 1 2 2PV = P V ใช้เมื่อ T คงที่ ***หมายเหตุ P และ V ใช้หน่วยไหนก็ได้ ขอให้เป็นหน่วยเดียวกัน Robert Boyle
  • 22. กฎของชาร์ล (Charles’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] การทดลองของชาร์ล Simulator
  • 23. กฎของชาร์ล (Charles’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V α T V = constant T [เมื่อ P คงที่] หรือ จะได้ 1 2 1 2 V V = T T ใช้เมื่อ P คงที่ ***หมายเหตุ V ใช้หน่วยเดียวกัน แต่ T ต้องเป็นหน่วยเคลวิน (K) เท่านัน! “สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าความดัน (P) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของ แก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ (T) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น Cesar Charles
  • 24. กฎของเกย์-ลูสแซค (Gay-Lussac’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] การทดลองของเกย์-ลูสแซค ได้กราฟ เส้นตรงของ T กับ P
  • 25. กฎของเกย์-ลูสแซค (Gay-Lussac’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] P α T P = constant T [เมื่อ V คงที่] หรือ จะได้ 1 2 1 2 P P = T T ใช้เมื่อ V คงที่ ***หมายเหตุ P ใช้หน่วยเดียวกัน แต่ T ต้องเป็นหน่วยเคลวิน (K) เท่านัน! Gay-Lussac “สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าปริมาตร(V) ของแก๊สคงตัว ความดัน(P) ของ แก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ(T) ของแก๊ส” เขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
  • 26. กฎของอาโวกาโดร์ (Avogadro’s law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ที่อุณหภูมิ T และความดัน P คงที่ ปริมาตร V จะแปรผันตามจานวนโมล n ของแก๊ส constant,;α TPnV เมื่อ 4.22 V n 
  • 27. กฎรวมแก๊ส (Combine gas law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] กฎรวมแก๊สเป็นการรวมกฎของบอยล์ ชาร์ลส์ และเกย์ ลูสแซค ดังนี จะได้ 1 1 2 2 1 2 P V P V = T T PV = Constant T
  • 28. กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] กฎรวมแก๊สเป็นการรวมกฎของบอยล์ ชาร์ลส์ และเกย์ ลูสแซค ดังนี จากสมการข้างต้น พบว่าค่าคงตัวแปรผันตรงกับจานวนโมล (n) ของแก๊ส นั่นคือ จะได้ โดย R เป็นค่าคงตัว เรียกว่า ค่าคงตัวแก๊ส (Gas constant) มีค่า 8.31 J/mol.K 1 1 2 2 1 2 P V P V = T T PV n T  PV = nRT
  • 29. กฎของแก๊สอุดมคติ (Ideal gas law) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ถ้า แทนลงในสมการข้างต้น จะได้ หรือ โดย kB เรียกว่า ค่าคงโบลต์ซมันน์ (Boltzmann constant) มีค่า 1.38 x 10-23 J/K N เป็นจานวนโมเลกุลทังหมดของแก๊ส A N n = N A R PV = N T N BPV = Nk T
  • 30. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT]  เป็นทรงกลมขนาดเล็ก  เคลื่อนที่ตลอดเวลาแบบสุ่ม แบบ Brownian motion โดยมีทิศทางและความเร็วต่างกัน การชนกันระหว่างโมเลกุลเป็นแบบยืดหยุ่น สมบูรณ์ (KEก่อน = KEหลัง)  หลังจากการชน ขนาดของความเร็วเท่าเดิม  ใช้กฎความดันและกฎของนิวตันในการ อธิบาย แบบจาลองของแก๊สอุดมคติ (ideal gas model) “เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ของแต่ละโมเลกุล”
  • 31. ความดันและพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] จะได้สมการ ดังนี 21 PV = 3 Nmv
  • 32. อัตราเร็วโมเลกุลของแก๊ส โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] 1. อัตราเร็วเฉลี่ยกาลังสองของแก๊ส หาได้จาก 2. อัตราเร็วเฉลี่ยรากที่สองของแก๊ส หาได้จาก เมื่อ m เป็นมวลโมเลกุลของแก๊ส หน่วย กิโลกรัม [kg] M เป็นมวลโมลาร์ของแก๊ส หน่วย กิโลกรัมต่อโมล [kg/mol] 2 2 2 2 2 1 2 3 ... Nv v v v v N      2 3 3 = = =B rms k T RT v v m M
  • 33. พลังงานภายในระบบ โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ระบบ (System) ระบบในทางอุณหพลศาสตร์ คือ สิ่งใด ๆ ที่พิจารณาและมีขอบเขตที่แน่ชัด อธิบายได้ด้วยตัว แปรสถานะ เช่น ความดัน ปริมาตร อุณหภูมิ ฯลฯ สิ่งที่อยู่นอกระบบเรียกว่า สิ่งแวดล้อม (surrounding) ระบบแบ่งได้ดังนี  ระบบโดดเดี่ยว (isolated system) : ไม่มีการ แลกเปลี่ยนมวลและพลังงานกับสิ่งแวดล้อม  ระบบปิด (closed system) : พลังงานแลก เปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้แต่มวลสารคงที่  ระบบเปิด (opened system) : ทังมวลสารและ พลังงานแลกเปลี่ยนกับสิ่งแวดล้อมได้
  • 34. พลังงานภายในระบบ (U) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] พลังงานภายในระบบ (internal energy ; U ) คือ ผลรวมของพลังงานจลน์ทังหมดของโมเลกุล หาได้จาก การพิจารณาเครื่องหมายบวก ลบ ของ ให้ดูจากค่าของ ดังนี  ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึนจะได้ค่า เป็นบวก ทาให้ เป็นบวกตาม  ถ้าอุณหภูมิลดลงจะได้ค่า เป็นลบ ทาให้ เป็นลบตาม ΔU ΔT ΔT ΔU ΔT ΔU 3 3 U = = = 2 2 k BN E Nk T nR T   
  • 35. งานที่ทาโดยแก๊ส (W) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] งาน(Work) คือ กลไกการส่งพลังงานที่สาคัญในระบบ อุณหพลวัตร เช่นเดียวกับความร้อน ดังนัน งาน (W) ที่แก๊สทา ต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกสาหรับการขยายตัว หาได้จาก W = PΔV การคิดเครื่องหมาย  แก๊สถูกอัด V < 0 งาน (W) เป็น – (ให้งานระบบ)  แก๊สขยายตัว V > 0 งาน (W) เป็น + (ระบบทางานให้)  แก๊สไม่ขยายตัว V = 0 งาน (W) เป็น 0
  • 36. กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ (The first law of thermodynamics) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] เป็นกฎที่กล่าวถึงการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวคือ “ พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบ (Q) จะเท่ากับ ผลรวมของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น (U) กับงานที่ทาโดยระบบ (W) ” จะ ได้ว่า เมื่อ Q = พลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ U = พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึน W = งานที่ได้จากระบบ ΔQ = U + W 
  • 37. การคิดเครื่องหมาย โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] ปริมาณ ลักษณะ เครื่องหมาย Q พลังงานความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ + พลังงานความร้อนไหลออกจากระบบ - ไม่มีพลังงานความร้อนไหลเข้าหรือออกจากระบบ 0 U พลังงานภายในระบบเพิ่มขึน ( อุณหภูมิเพิ่มขึน ) + พลังงานภายในระบบลดลง ( อุณหภูมิลดลง ) - พลังงานภายในระบบคงตัว ( อุณหภูมิคงที่ ) 0 W งานที่ทาโดยระบบ ( ปริมาตรเพิ่มขึน ) + งานที่สิ่งแวดล้อมทาให้ระบบ ( ปริมาตรลดลง ) - ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร 0
  • 38. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 39. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 40. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 41. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 42. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 43. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 44. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 45. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )
  • 46. 17.1 ความหนาแน่น (Density) โดย : ครูธีรวัฒน์ ดวงสิน ความร้อน [HEAT] V คือ ปริมาตร ( m3 )