SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การนาเสนอของกลุ่มที่ 1

    กลุ่มที่ 1 รายงานตัวสมาชิกในกลุ่มชึ่งประกอบด้วยดังต่อไปนี้

    การก่อตั้งของ NAFTA ที่ส่งออกพืชตระกูลถัว มะม่วง
                                            ่

    ข้อตกลงการค้าเสรี อเมริ กาเหนือ โดยจะขจัดอุปสรรคทางการค้าและบริ การระหว่างประเทศภาคีความร่ วมมือ
    ของธุ รกิจหลังข้อตกลง NAFTA ที่ส่งออกพืชตระกูลถัวมะม่วง แม็กซิ โกมีขอได้เปรี ยบได้หลายอย่าง
                                                    ่                   ้

    คาถามของกลุ่มที่1 คาถามที่ 1 ถามว่า ท่านคิดว่า กลยุทธ์ที่ฟาร์ม ซันไซน์สร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ใน
    ประเทศสหรัฐอเมริ กาเพื่อให้ผลิตภัณฑ์น้ นประสบผลสาเร็ จท่านคิดว่ากลยุทธ์น้ ีจะประสบผลสาเร็ จหรื อไม่
                                           ั

    สาหรับคาตอบของกลุ่มที่1 ตอบ ว่าไม่ประสบผลสาเร็ จ

                                                                                         ่
              คาถามที่ 2 ท่านจะมีแนวทางแนะนาแก่แบนแบดโดบัสส์ในการรักษาธุ รกิจของเขาให้อยูรอดได้หรื อไม่
    อย่างไร                              สาหรับผูมีส่วนได้เสี ยในธุ รกิจนี้มีดงต่อไปนี้
                                                 ้                            ั

              - ผู้ได้ ผลประโยชน์
              - คือคู่แข่งขันจากต่างประเทศ
              - ผูบริ โภค จะได้ราคาที่ถูก
                  ้
              - ผู้ทเี่ สี ยผลประโยชน์
              - ผูประกอบการในประเทศสหรัฐอเมริ กา
                  ้

1. EFTA มีสมาชิก 7 ประเทศ EFTA ... 2501 เรี ยกว่า กลุ่มอีอีซี มีสมาชิก 7 ประเทศ คือ ออสเตรี ย นอร์เว สวีเดน
   เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ โปรตุเกส ไอชแลนด์
   ปั จจุบนเหลือเพียง 3 ประเทศ ได้แก่ ไอชแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เว
          ั

2. AFTA กลุ่มประเทศอาเซียนมี10 ประเทศ กลุ่มอาเชียนเดิม 6 ประเทศ ประกอบด้วย บรู ไน อินโดนีเซีย
   มาเลเซีย. ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ... กลุ่มประเทศ อาเซี ยนใหม่ ประกอบด้วย ประเทศ เวียดนาม ลาว พม่า และ
   กัมพูชา
3. APEC กลุ่มประทศ APEC มีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจปั จจุบน เอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้ น 21 เขตเศรษฐกิจ
                                                      ั
   (19 ประเทศ 2 เขตเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วย

             ออสเตรเลีย
               บรู ไน
               แคนาดา
              ชิลี
              จีน
              รัสเซีย
              ฮ่องกง
              อินโดนีเซีย
              ญี่ปน ุ่
              เกาหลีใต้
               มาเลเซีย
               เม็กซิโก
               นิวซีแลนด์
             ปาปั วนิ วกินี
              เปรู
               ฟิ ลิปปิ นส์
              สิ งคโปร์
              ไต้หวัน
             ไทย
               สหรัฐอเมริ กา
              เวียดนาม




          กลุ่มที่ 1 คาถามที่ 3 (ที่ให้ เพือนในห้ องแสดงความคิดเห็นร่ วมกัน)
                                           ่

                     ถามว่า ถ้าท่านเป็ นผูบริ หารของฟาร์มชันไชน์ท่านจะดาเนิ นธุ รกิจนี้ต่อไป หรื อหันไปประกอบธุรกิจ
                                          ้
          อย่างอื่นแทน เพราะเหตุใด

          ปวีณา ตอบ จะแปรรู ปผลิตภัณฑ์เป็ นขนมหรื อทาเป็ นชนิดผง เช่น ทามะนาวผง

          พัสนันท์ ตอบ จะตัดสิ นค้าเกษตรออกจะทาผลิตภัณฑ์ใหม่ จะหาผลิตภัณฑ์มาเสริ มใหม่

          ทัศนี ตอบ จะทาต่อแต่จะเปลื่ยนการปลูกมาปลูกในฤดูต่างๆตามฤดูกาล
ั
         ณัฐธนิชา ตอบ ให้สร้างแบรนด์ให้กบตัวเอง

         พัสนันท์ ตอบ ผูบริ หารบ้างท่านก็จะได้ให้รัฐสนับสนุน
                        ้

         ปวีณา ตอบ ทาให้แบรนด์ของเขาให้ได้การยอบรับจากการสนับสนุนของรัฐ

         สุ นิสา ตอบ มีการติดตราแบนด์

         กลุ่มที่ 1 เป็ นสิ นค้าที่ปลอดประเทศ คือไม่ตองเสี ยภาษี
                                                     ้

         กลุ่มที่ 1 บริ โภคสิ นค้านอกประเทศ

         อาจารย์ สรุ ปให้ ว่า กรณี N – มี 3 ประเทศ การนาเอาของประเทศแม็กชิโกถูกกว่าประเทศในอเมริ กา ชึ่งธุรกิจ
         นี้จะประสบผลสาเร็ จเพราะอเมริ กาเป็ นประเทศรักนิยม จะใช้สินค้าของตนเองอเมริ กาเป็ นเมืองใหญ่ แต่แม็กชิ
         โกเป็ นเมืองเล็ก ความรู ้สึกกับสิ นค้าของอเมริ กาจะนิยมใช้สินค้าของตนเอง สุ ดท้ายจะไม่ปิดฟาร์มชันไชน์ลง จะ
         ดาเนินธุรกิจนี้ต่อไป ซึ่ งเป็ นขอตกลงทางการค้าเสรี

         ปวีณา บอกว่า ข้อดีมากกว่าข้อเสี ย จะต้องมีการปรับปรุ งให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบน
                                                                                        ั

                                                                            ่
        อาจารย์ คอมเมนการนาเสนอของกลุ่มที่ 1 การจัดลาดับในการนาเสนอของกลุมที่1 จะต้องจับลาดับให้
เหมาะสมมากกว่านี้ ให้นาเสนอกรณี ศึกษาก่อน ค่อยอธิ บายโดยภาพรวม แต่กถือว่าการนาเสนอสาหรับกลุ่มนี้ก็ OK ทา
                                                                    ็
ดีแล้ว จะต้องมีรูปภาพประกอบด้วย การใช้ภาษาควรให้มนเป็ นทางการ ทั้งการนาเสนอและตอบคาถาม
                                                    ั



ถึงตอนอาจารย์สอน วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ อาจารย์สอน 3 เรื่ องใหญ่ ดังนี้

    1. ระบบเศรษฐกิจ
    2. ดัชนี ช้ ีวดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
                  ั
    3. องค์กรการค้าระหว่างประเทศ

 ระบบเศรษฐกิจ มีอยู่ 3 ลักษณะดังนี้

    1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยม

    2.สังคมนิยม
3. แบบผสม

อาจารย์ถามว่า ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบใด

ภรณ์ภิมลย์ ตอบว่า แบบผสม ถูกต้อง

1.ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี ซึ่ งปรัชญาแนวความคิดระบบทุนนิยมนี้ได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยนัก
ปรัชญาชื่อดัง อดัมสมิธ แบบตลาดเสรี เอกชนมีสิทธิควบคุมทรัพยากรของประเทศได้เลย เอกชนมีอิสระในการ
ตัดสิ นในการกาหนด และการตัดสิ นใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริ การ เอกชนสามารถทาธุ รกิจได้อย่างถูก
กฎหมาย ลูกค้าจะได้ราคาสิ นค้าที่ถูก ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เช่น สหรัฐอเมริ กา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส
ฮ่องกง สิ งค์โปร์

2.ระบบเศรษฐกิจแบบสั งคมนิยม ระบบเศรษฐกิจนี้จะมีการว่างแผนไว้ล่วงหน้า เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีระบบ
แบบทุนนิยม กับ ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ รัฐบาลจะเป็ นผูวางแผนและครอบตรองกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน
                                                          ้่
และทรัพยากรต่างๆ เช่น ระบบสาธารณูปโภค ระบบขนส่ ง ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบังคมนิยม เช่น รัส
เชีย จีน เวียดนาม      ศรี ลงกา สังคมนิยม มีววฒนาการมาจากคอมมิวนิสต์
                            ั                ิั

3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็ นระบบเศรษฐกิจผสมผสานระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี และระบบ
เศรษฐกิจที่มีไว้ล่วงหน้าระบบเศรษฐกิจแบบผสมจะนามาปรับใช้ให้เหมะสมกับสถานการณ์ปัจจุบน แนวโน้ม
                                                                                      ั
ของเศรษฐกิจแบบผสมมักจะเป็ นระบบทุนนิยมมากกว่าสังคมนิยม คือรัฐจะมีอานาจในบ้างเรื่ อง เอกชนมีอิสระ
ในการตัดสิ นใจการดาเนินธุ รกิจต่างๆ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสม เช่น อังกฤษ เยอรมนี สวีเดน ไทย

ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
         ั
แสดงมูลค่ารวมของสิ นค้าและบริ การที่ผลิตขึ้นโดยคนสัญชาติหนึ่งสัญชาติใดในรอบระยะเวลาหนึ่ง

รายได้ ประชาติเฉลียต่ อหัว เป็ นดัชนีวดที่ดีที่สุดสาหรับคุณภาพของตลาด เช่น ญี่ปุ่น สวีเดน ย่อมเหมาะที่จะส่ ง
                     ่                ั
สิ นค้าที่มีคุณภาพและราคาสู งไปจาหน่าย การหาค่าเฉลี่ยต่อหัว ประเทศมี 4.613.00 x 30 หาร 12 จะได้รายได้ต่อ
              ่
หัวเฉลี่ย อยูท่ี 11,000 บาท ต่อเดือน

ภาวะเงินเฟอ คือ ภาวะที่ระดับราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัวไปเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องชึ่งหากระดับที่เพิ่มขึ้นสู ง
          ้                                           ่
ไปมากนักก็ส่งผลกระทบทางลบต่อผูผลิตและผูบริ โภค
                                 ้         ้
อัตราดอกเบีย เป็ นปั จจัยที่นกลงทุนต้องพิจารณา ถ้าอัตราดอกเบี้ยสู งต้นทุนในการลงทุนซื้ อเครื่ องจักร การปลูก
            ้                ั
สร้างโรงงานและการซื้ ออุปกรณ์ก็จะสู งตามไปด้วย ในอดียประเทศที่พฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริ กาและญี่ปุน
                                                                     ั
                   ่
อัตราดอกเบี้ยมักอยูในเกณฑ์ที่ต่ากว่าประเทศที่กาลังพัฒนา เช่นไทย อินโดนีเชีย และ ฟิ ลิปปิ นส์



                                          องค์ การค้ าระหว่ างประเทศ

-เขตการค้ าเสรี

-สหภาพศุลกากร

-ตลาดร่ วม

-การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ

เขตการค้ าเสรี เป็ นการลดการนาเข้า การชดเชย หรื ออุปสรรคทางด้านการจัดการ ได้รับความนิยมมากที่สุดของ
การรวมตัวกันทางด้านเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคโดยมีถึง 90 % ของการรวมตัวกัน เช่น APEC , AFTA ,
NAFTA,WTO ,AFAS ,ASEA

สหภาพศุลกร เป็ นอีกขั้นหนึ่ งของการรวมตัวกันทางเสรษฐกิจและการเมืองโดยมีจุดมุ่งหมายประเทศที่เกี่ยวข้อง
กับสหภาพศุลกากรมีความปรารถนาที่จะไปสู่ การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในอนาคตเช่น EU

ตลาดร่ วม เป็ นการร่ วมมือที่มีเงื่อนไขในเรื่ องการเคลื่อนย้ายสิ นค้า ทุน ทัพยากรและมนุษย์อย่างเป้ นอิสระ
ภายใต้กลุ่มประเทศสมาชิก แต่ EU ก็ประสบผลสาเร็ จในการรวมตัวกันเป้ นตลาดร่ วม นอกจากนั้นยังมี กลุ่ม
MERCOSUR ซึ่งเป็ นการรวมตัวของประเทสในแถบลาติอเมริ กา

การรวมตัวกันทางด้ านเสรษฐกิจ ภายใต้การรวมตัวของสภาพทางเสรษฐกิจ ประเทศสมาชิกจะมีนโยบายทาง
การเงินภาษี และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลอันเดียวกัน ในกลุ่มสหภาพยุโรป EU ได้พฒนามาจากกลุ่มสหภาพ
                                                                       ั
เศรษฐกิจที่สมบูรณ์จะใช้เงินสกุลเดียว คือ ยูโร

                         ั
สาหรับสกุลเงินที่นิยมใช้กน

1. ลอนดาร์สหรัฐ = อเมริ กา
2 .ปอนด์สริ ง = อังกฤษ

3.ยูโร = สหภาพยุโรปทั้งหมด

4. หยว = จีน

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikar
Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas KashalikarVruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikar
Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikaradwaitf
 
Lean by Suren Samarchyan
Lean by Suren SamarchyanLean by Suren Samarchyan
Lean by Suren SamarchyanAlexander Orlov
 
Campus Basket Fran Murcia 2010
Campus Basket Fran Murcia 2010Campus Basket Fran Murcia 2010
Campus Basket Fran Murcia 2010Jose Maria Salinas
 
PresentacióN Estudiantesboletinweb
PresentacióN EstudiantesboletinwebPresentacióN Estudiantesboletinweb
PresentacióN EstudiantesboletinwebSANSIMON
 
Livolink foundation
Livolink foundationLivolink foundation
Livolink foundationswadhinbarik
 
Icex soluciones y servicios2010
Icex soluciones y servicios2010Icex soluciones y servicios2010
Icex soluciones y servicios2010CADE Huelva
 
Otras cefaleas primarias
Otras cefaleas primariasOtras cefaleas primarias
Otras cefaleas primariasjhonsoomelol
 
Finished Projects Yachts Sheet1
Finished Projects Yachts Sheet1Finished Projects Yachts Sheet1
Finished Projects Yachts Sheet1lindacoffeen
 
S U P E R J O Y D R
S U P E R J O Y   D RS U P E R J O Y   D R
S U P E R J O Y D Rdrravindrai
 

Andere mochten auch (17)

Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikar
Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas KashalikarVruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikar
Vruddha Trihi Samruddha Bestseller For Sexy Aging Dr. Shriniwas Kashalikar
 
Audriņu pagasta bibliotēka
Audriņu pagasta bibliotēkaAudriņu pagasta bibliotēka
Audriņu pagasta bibliotēka
 
Lean by Suren Samarchyan
Lean by Suren SamarchyanLean by Suren Samarchyan
Lean by Suren Samarchyan
 
Campus Basket Fran Murcia 2010
Campus Basket Fran Murcia 2010Campus Basket Fran Murcia 2010
Campus Basket Fran Murcia 2010
 
PresentacióN Estudiantesboletinweb
PresentacióN EstudiantesboletinwebPresentacióN Estudiantesboletinweb
PresentacióN Estudiantesboletinweb
 
Livolink foundation
Livolink foundationLivolink foundation
Livolink foundation
 
Pgt villasanta ngt
Pgt villasanta ngtPgt villasanta ngt
Pgt villasanta ngt
 
Folding
FoldingFolding
Folding
 
Icex soluciones y servicios2010
Icex soluciones y servicios2010Icex soluciones y servicios2010
Icex soluciones y servicios2010
 
Marketing online
Marketing onlineMarketing online
Marketing online
 
Chloe Does Yale
Chloe Does YaleChloe Does Yale
Chloe Does Yale
 
3rd Weekly News
3rd Weekly News3rd Weekly News
3rd Weekly News
 
Arjun final
Arjun finalArjun final
Arjun final
 
Otras cefaleas primarias
Otras cefaleas primariasOtras cefaleas primarias
Otras cefaleas primarias
 
Phycobilisomes and their constituents
Phycobilisomes and their constituentsPhycobilisomes and their constituents
Phycobilisomes and their constituents
 
Finished Projects Yachts Sheet1
Finished Projects Yachts Sheet1Finished Projects Yachts Sheet1
Finished Projects Yachts Sheet1
 
S U P E R J O Y D R
S U P E R J O Y   D RS U P E R J O Y   D R
S U P E R J O Y D R
 

Ähnlich wie Get attachment

เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1TangMo Sweet
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jame JameCaeSar
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeVitsanu Nittayathammakul
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 

Ähnlich wie Get attachment (20)

case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Asean thai handout
Asean thai handoutAsean thai handout
Asean thai handout
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
ASEAN marketing
ASEAN marketingASEAN marketing
ASEAN marketing
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
Scribe book กลุ่มที่ 1
Scribe book  กลุ่มที่ 1Scribe book  กลุ่มที่ 1
Scribe book กลุ่มที่ 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 

Get attachment

  • 1. การนาเสนอของกลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 รายงานตัวสมาชิกในกลุ่มชึ่งประกอบด้วยดังต่อไปนี้ การก่อตั้งของ NAFTA ที่ส่งออกพืชตระกูลถัว มะม่วง ่ ข้อตกลงการค้าเสรี อเมริ กาเหนือ โดยจะขจัดอุปสรรคทางการค้าและบริ การระหว่างประเทศภาคีความร่ วมมือ ของธุ รกิจหลังข้อตกลง NAFTA ที่ส่งออกพืชตระกูลถัวมะม่วง แม็กซิ โกมีขอได้เปรี ยบได้หลายอย่าง ่ ้ คาถามของกลุ่มที่1 คาถามที่ 1 ถามว่า ท่านคิดว่า กลยุทธ์ที่ฟาร์ม ซันไซน์สร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ใน ประเทศสหรัฐอเมริ กาเพื่อให้ผลิตภัณฑ์น้ นประสบผลสาเร็ จท่านคิดว่ากลยุทธ์น้ ีจะประสบผลสาเร็ จหรื อไม่ ั สาหรับคาตอบของกลุ่มที่1 ตอบ ว่าไม่ประสบผลสาเร็ จ ่ คาถามที่ 2 ท่านจะมีแนวทางแนะนาแก่แบนแบดโดบัสส์ในการรักษาธุ รกิจของเขาให้อยูรอดได้หรื อไม่ อย่างไร สาหรับผูมีส่วนได้เสี ยในธุ รกิจนี้มีดงต่อไปนี้ ้ ั - ผู้ได้ ผลประโยชน์ - คือคู่แข่งขันจากต่างประเทศ - ผูบริ โภค จะได้ราคาที่ถูก ้ - ผู้ทเี่ สี ยผลประโยชน์ - ผูประกอบการในประเทศสหรัฐอเมริ กา ้ 1. EFTA มีสมาชิก 7 ประเทศ EFTA ... 2501 เรี ยกว่า กลุ่มอีอีซี มีสมาชิก 7 ประเทศ คือ ออสเตรี ย นอร์เว สวีเดน เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ โปรตุเกส ไอชแลนด์ ปั จจุบนเหลือเพียง 3 ประเทศ ได้แก่ ไอชแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เว ั 2. AFTA กลุ่มประเทศอาเซียนมี10 ประเทศ กลุ่มอาเชียนเดิม 6 ประเทศ ประกอบด้วย บรู ไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย. ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ... กลุ่มประเทศ อาเซี ยนใหม่ ประกอบด้วย ประเทศ เวียดนาม ลาว พม่า และ กัมพูชา
  • 2. 3. APEC กลุ่มประทศ APEC มีสมาชิก 21 เขตเศรษฐกิจปั จจุบน เอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้ น 21 เขตเศรษฐกิจ ั (19 ประเทศ 2 เขตเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วย  ออสเตรเลีย  บรู ไน  แคนาดา  ชิลี  จีน  รัสเซีย  ฮ่องกง  อินโดนีเซีย  ญี่ปน ุ่  เกาหลีใต้  มาเลเซีย  เม็กซิโก  นิวซีแลนด์  ปาปั วนิ วกินี  เปรู  ฟิ ลิปปิ นส์  สิ งคโปร์  ไต้หวัน  ไทย  สหรัฐอเมริ กา  เวียดนาม กลุ่มที่ 1 คาถามที่ 3 (ที่ให้ เพือนในห้ องแสดงความคิดเห็นร่ วมกัน) ่ ถามว่า ถ้าท่านเป็ นผูบริ หารของฟาร์มชันไชน์ท่านจะดาเนิ นธุ รกิจนี้ต่อไป หรื อหันไปประกอบธุรกิจ ้ อย่างอื่นแทน เพราะเหตุใด ปวีณา ตอบ จะแปรรู ปผลิตภัณฑ์เป็ นขนมหรื อทาเป็ นชนิดผง เช่น ทามะนาวผง พัสนันท์ ตอบ จะตัดสิ นค้าเกษตรออกจะทาผลิตภัณฑ์ใหม่ จะหาผลิตภัณฑ์มาเสริ มใหม่ ทัศนี ตอบ จะทาต่อแต่จะเปลื่ยนการปลูกมาปลูกในฤดูต่างๆตามฤดูกาล
  • 3. ณัฐธนิชา ตอบ ให้สร้างแบรนด์ให้กบตัวเอง พัสนันท์ ตอบ ผูบริ หารบ้างท่านก็จะได้ให้รัฐสนับสนุน ้ ปวีณา ตอบ ทาให้แบรนด์ของเขาให้ได้การยอบรับจากการสนับสนุนของรัฐ สุ นิสา ตอบ มีการติดตราแบนด์ กลุ่มที่ 1 เป็ นสิ นค้าที่ปลอดประเทศ คือไม่ตองเสี ยภาษี ้ กลุ่มที่ 1 บริ โภคสิ นค้านอกประเทศ อาจารย์ สรุ ปให้ ว่า กรณี N – มี 3 ประเทศ การนาเอาของประเทศแม็กชิโกถูกกว่าประเทศในอเมริ กา ชึ่งธุรกิจ นี้จะประสบผลสาเร็ จเพราะอเมริ กาเป็ นประเทศรักนิยม จะใช้สินค้าของตนเองอเมริ กาเป็ นเมืองใหญ่ แต่แม็กชิ โกเป็ นเมืองเล็ก ความรู ้สึกกับสิ นค้าของอเมริ กาจะนิยมใช้สินค้าของตนเอง สุ ดท้ายจะไม่ปิดฟาร์มชันไชน์ลง จะ ดาเนินธุรกิจนี้ต่อไป ซึ่ งเป็ นขอตกลงทางการค้าเสรี ปวีณา บอกว่า ข้อดีมากกว่าข้อเสี ย จะต้องมีการปรับปรุ งให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบน ั ่ อาจารย์ คอมเมนการนาเสนอของกลุ่มที่ 1 การจัดลาดับในการนาเสนอของกลุมที่1 จะต้องจับลาดับให้ เหมาะสมมากกว่านี้ ให้นาเสนอกรณี ศึกษาก่อน ค่อยอธิ บายโดยภาพรวม แต่กถือว่าการนาเสนอสาหรับกลุ่มนี้ก็ OK ทา ็ ดีแล้ว จะต้องมีรูปภาพประกอบด้วย การใช้ภาษาควรให้มนเป็ นทางการ ทั้งการนาเสนอและตอบคาถาม ั ถึงตอนอาจารย์สอน วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ อาจารย์สอน 3 เรื่ องใหญ่ ดังนี้ 1. ระบบเศรษฐกิจ 2. ดัชนี ช้ ีวดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ั 3. องค์กรการค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจ มีอยู่ 3 ลักษณะดังนี้ 1.ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิ ยม 2.สังคมนิยม
  • 4. 3. แบบผสม อาจารย์ถามว่า ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบใด ภรณ์ภิมลย์ ตอบว่า แบบผสม ถูกต้อง 1.ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี ซึ่ งปรัชญาแนวความคิดระบบทุนนิยมนี้ได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 18 โดยนัก ปรัชญาชื่อดัง อดัมสมิธ แบบตลาดเสรี เอกชนมีสิทธิควบคุมทรัพยากรของประเทศได้เลย เอกชนมีอิสระในการ ตัดสิ นในการกาหนด และการตัดสิ นใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริ การ เอกชนสามารถทาธุ รกิจได้อย่างถูก กฎหมาย ลูกค้าจะได้ราคาสิ นค้าที่ถูก ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เช่น สหรัฐอเมริ กา ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส ฮ่องกง สิ งค์โปร์ 2.ระบบเศรษฐกิจแบบสั งคมนิยม ระบบเศรษฐกิจนี้จะมีการว่างแผนไว้ล่วงหน้า เป็ นระบบเศรษฐกิจที่มีระบบ แบบทุนนิยม กับ ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ รัฐบาลจะเป็ นผูวางแผนและครอบตรองกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน ้่ และทรัพยากรต่างๆ เช่น ระบบสาธารณูปโภค ระบบขนส่ ง ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบังคมนิยม เช่น รัส เชีย จีน เวียดนาม ศรี ลงกา สังคมนิยม มีววฒนาการมาจากคอมมิวนิสต์ ั ิั 3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็ นระบบเศรษฐกิจผสมผสานระหว่างระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี และระบบ เศรษฐกิจที่มีไว้ล่วงหน้าระบบเศรษฐกิจแบบผสมจะนามาปรับใช้ให้เหมะสมกับสถานการณ์ปัจจุบน แนวโน้ม ั ของเศรษฐกิจแบบผสมมักจะเป็ นระบบทุนนิยมมากกว่าสังคมนิยม คือรัฐจะมีอานาจในบ้างเรื่ อง เอกชนมีอิสระ ในการตัดสิ นใจการดาเนินธุ รกิจต่างๆ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบผสม เช่น อังกฤษ เยอรมนี สวีเดน ไทย ดัชนีชี้วดสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ั แสดงมูลค่ารวมของสิ นค้าและบริ การที่ผลิตขึ้นโดยคนสัญชาติหนึ่งสัญชาติใดในรอบระยะเวลาหนึ่ง รายได้ ประชาติเฉลียต่ อหัว เป็ นดัชนีวดที่ดีที่สุดสาหรับคุณภาพของตลาด เช่น ญี่ปุ่น สวีเดน ย่อมเหมาะที่จะส่ ง ่ ั สิ นค้าที่มีคุณภาพและราคาสู งไปจาหน่าย การหาค่าเฉลี่ยต่อหัว ประเทศมี 4.613.00 x 30 หาร 12 จะได้รายได้ต่อ ่ หัวเฉลี่ย อยูท่ี 11,000 บาท ต่อเดือน ภาวะเงินเฟอ คือ ภาวะที่ระดับราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัวไปเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องชึ่งหากระดับที่เพิ่มขึ้นสู ง ้ ่ ไปมากนักก็ส่งผลกระทบทางลบต่อผูผลิตและผูบริ โภค ้ ้
  • 5. อัตราดอกเบีย เป็ นปั จจัยที่นกลงทุนต้องพิจารณา ถ้าอัตราดอกเบี้ยสู งต้นทุนในการลงทุนซื้ อเครื่ องจักร การปลูก ้ ั สร้างโรงงานและการซื้ ออุปกรณ์ก็จะสู งตามไปด้วย ในอดียประเทศที่พฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริ กาและญี่ปุน ั ่ อัตราดอกเบี้ยมักอยูในเกณฑ์ที่ต่ากว่าประเทศที่กาลังพัฒนา เช่นไทย อินโดนีเชีย และ ฟิ ลิปปิ นส์ องค์ การค้ าระหว่ างประเทศ -เขตการค้ าเสรี -สหภาพศุลกากร -ตลาดร่ วม -การรวมตัวกันทางด้ านเศรษฐกิจ เขตการค้ าเสรี เป็ นการลดการนาเข้า การชดเชย หรื ออุปสรรคทางด้านการจัดการ ได้รับความนิยมมากที่สุดของ การรวมตัวกันทางด้านเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคโดยมีถึง 90 % ของการรวมตัวกัน เช่น APEC , AFTA , NAFTA,WTO ,AFAS ,ASEA สหภาพศุลกร เป็ นอีกขั้นหนึ่ งของการรวมตัวกันทางเสรษฐกิจและการเมืองโดยมีจุดมุ่งหมายประเทศที่เกี่ยวข้อง กับสหภาพศุลกากรมีความปรารถนาที่จะไปสู่ การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในอนาคตเช่น EU ตลาดร่ วม เป็ นการร่ วมมือที่มีเงื่อนไขในเรื่ องการเคลื่อนย้ายสิ นค้า ทุน ทัพยากรและมนุษย์อย่างเป้ นอิสระ ภายใต้กลุ่มประเทศสมาชิก แต่ EU ก็ประสบผลสาเร็ จในการรวมตัวกันเป้ นตลาดร่ วม นอกจากนั้นยังมี กลุ่ม MERCOSUR ซึ่งเป็ นการรวมตัวของประเทสในแถบลาติอเมริ กา การรวมตัวกันทางด้ านเสรษฐกิจ ภายใต้การรวมตัวของสภาพทางเสรษฐกิจ ประเทศสมาชิกจะมีนโยบายทาง การเงินภาษี และค่าใช้จ่ายของรัฐบาลอันเดียวกัน ในกลุ่มสหภาพยุโรป EU ได้พฒนามาจากกลุ่มสหภาพ ั เศรษฐกิจที่สมบูรณ์จะใช้เงินสกุลเดียว คือ ยูโร ั สาหรับสกุลเงินที่นิยมใช้กน 1. ลอนดาร์สหรัฐ = อเมริ กา
  • 6. 2 .ปอนด์สริ ง = อังกฤษ 3.ยูโร = สหภาพยุโรปทั้งหมด 4. หยว = จีน