SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
Downloaden Sie, um offline zu lesen
The Components of HCI
  Human-Computer Interaction




        วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                 ั
Motivation Quiz 1

จงยกตัวอยางอุปกรณเชื่อมตอประสาน
ระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรทรจก
                              ี่ ู ั
มาคนละ 10ชนิด


            วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                     ั
Continued from Week 1:
What is HCI ?
Outlines
 ความเปนมาของ HCI
 เปาหมายของ HCI
 แผนภาพของ HCI
 หลักการที่ทําใหได HCI ที่ดี
 ความทาทายของ HCI
วิชานี้ไดกําเนิดมาในวงการคอมพิวเตอร 10 กวาปหรือ 20 ปตนๆ
สมัยกอนจะมีสอนในสาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ระดับสูงๆ ตั้งแตระดับ
ปริญญาโทขึ้นไปจนถึงปริญญาเอก....
ปจจุบันมีสาขาเอกใหเลือก ทาง HCI โดยตรง
บุคลากรทางดาน HCI ยังเปนที่ตองการของตลาดอุสาหกรรมซอฟตแวรและโม
บาย




                      วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                               ั
เปาหมายของ HCI คือการสรางระบบที่สามารถใชงานได, มีความ
ปลอดภัย และสามารถใชงานไดจริง ซึ่งสามารสรุปเปาหมายออกเปน
หัวขอดังนี้
มีความปลอดภัย (Safety)
มีประโยชน (Utility)
มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ (Effectiveness and
Efficiency)
สามารถใชงานได (Usability)

                   วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                            ั
System
 ระบบ มีความหมายที่ครอบคลุมไมไดมีเพียงแคฮารดแวร หรือ
 ซอฟตแวร แตหมายถึงสภาพแวดลอมทั้งหมดที่ใช หรือถูก
 กระทบโดยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร




                   วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                            ั
Effectiveness and Efficiency
 การปรับปรุงประสิทธิผล และประสิทธิภาพ คือการมุงเนนให
 ระบบที่พัฒนาขึ้นมีผลการทํางานที่ดีขึ้น มีความสะดวกสบาย
 ในแตละสวนของระบบ แตอยางไรก็ตามหัวขอนี้เปนเรื่องของ
 การวัดผล ดังนั้นมันจึงขึ้นอยูกบมุมมองที่พิจารณาดวย วาดี
                              ั
 ขึ้นในแงใด




                   วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                            ั
Safety
 ความปลอดภัย คือการมุงเนนในเรื่องการออกแบบใหระบบที่
 พัฒนามีความปลอดภัยทั้งกับบุคคล และองคกรที่ใชงานระบบ




                  วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                           ั
Utility
 ความมีประโยชน คือการสรางระบบใหสามารใชงานไดจริงของ
 ระบบที่ไดพัฒนาขึ้น




                  วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                           ั
Usability
 การใชงานได คือแนวคิดที่เกี่ยวกับการทําระบบใหงายตอการ
 เรียนรู และงายตอการใชงานระบบคอมพิวเตอรไมกอความ
 ลําบาก หรือรําคาญกับผูใช




                    วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                             ั
ขั้นตอนทีจะนําไปสูเปาหมายของ HCI
         ่
  ประกอบไปดวย 3 ขันตอนดังนี้
                     ้
  Understand คือมีความเขาใจในเรื่องจิตวิทยา, กาย
  วิภาคศาสตร, และปจจัยเกี่ยวกับองคกรทางสังคม
  Develop คือการใชเทคนิคตางๆในทางคอมพิวเตอรเพือ
                                                 ่
  ใชในการออกแบบ หรือพัฒนาผลงาน
  Achieve คือการทําปฏิสัมพันธใหมีประสิทธิภาพ
  ประสิทธิผล และปลอดภัยตอทั้งบุคคลและกลุม

                 วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                          ั
แผนภาพรวมของ HCI
แผนภาพของ HCI
 องคประกอบของ HCI แบงออกเปนสี่สวน แสดงดังรูป
 U1: กลุมระบบคอมพิวเตอรที่ใชงานในกลุมสังคมที่ทํางาน
 รวมกัน
 U2: กลุมการใชโปรแกรมประยุกต ระบบ และงานที่ตองนํา
 คอมพิวเตอรเขามาใชงาน
 U3: กลุมที่ใชงานคอมพิวเตอรแบบเฉพาะบุคคล ตองมีการ
 ดัดแปลงเพือใหใชเฉพาะงาน หรือเฉพาะบุคคล
           ่
แผนภาพของ HCI
 H1: กระบวนการรับรู และวิเคราะหของมนุษย
 H2: ภาษา การสื่อสาร และปฏิสัมพันธ
 H3: ลักษณะการทํางานทางกายภาพของมนุษย
แผนภาพของ HCI
 C1: อุปกรณนําเขา และแสดงผลเปนตัวเชื่อมมนุษยและ
 คอมพิวเตอร
 C2: เทคนิคที่ใชในขั้นตอนการโตตอบระหวางใชงาน
 C3: เทคนิคที่ทําใหเกิดผลในการออกแบบขนาดใหญ
 C4: รายละเอียดในสวนสนับสนุนการโตตอบ
 C5: การโตตอบหลายเทคนิค ที่นําไปสูการออกแบบระบบ
 สถาปตยกรรม
แผนภาพของ HCI
 D1:   การออกแบบสําหรับการโตตอบ
 D2:   เทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพฒนาใหเกิดผล
                                     ั
 D3:   เทคนิคการประเมิน
 D4:   ตัวอยางระบบการออกแบบ และกรณีศึกษาที่เหมาะสม
การทําความเขาใจเกี่ยวกับมนุษย
       -การประมวลผลขอมูลของมนุษย
-ภาษา, วิธีการสื่อสาร และการโตตอบของมนุษย
   -มานุษยวิทยา และสรีระวิทยาของมนุษย
บริบทของกระบวนการสรางและประเมิน
              - อุปกรณ Input/output
        -Technique การสรางการสนทนาโตตอบ
                  -- ประเภทการโตตอบ
             --การนํากราฟกสมาชวยสื่อสาร
--สถาปตยกรรมซอฟทแวร และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน
บริบทของคอมพิวเตอร
            - อุปกรณ Input/output
      -Technique การสรางการสนทนาโตตอบ
                -- ประเภทการโตตอบ
           --การนํากราฟกสมาชวยสื่อสาร
สถาปตยกรรมซอฟทแวร และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน
แผนภาพของ HCI
 Use and Context of Computer          การใชงาน และ
 บริบทของคอมพิวเตอรเพื่อใหมีความลงตัวในการใชงาน
 Human Characteristics เปนหัวขอที่ศึกษาทําความ
 เขาใจเกี่ยวกับมนุษย
 Computer System and Interface Architecture
 เปนสวนประกอบพิเศษที่คอมพิวเตอรมีเพื่อการปฏิสัมพันธ
 The Development Process เปนสวนที่เกี่ยวของกับการ
 สรางและประเมินผลสวนตอประสานที่ใชกบมนุษย
                                         ั
หลักการทีทําใหแนใจถึง HCI ทีดี
         ่                    ่
  หลักการทีทําใหแนใจถึง HCI ที่ดีคือ Visibility และ
           ่
  Affordance

  Visibility คือแนวคิดที่ใชเพื่อควบคุมการออกแบบใหสามารถ
  มองเห็นวาเราทําอะไร และระบบตอบสนองเชนไร เหมาะสมหรือไม
  Affordance คือแนวคิดที่ใชเพื่อควบคุมการออกแบบให
  สามารถสื่อสารกับผูใชงานไดอยางชัดเจน โดยไมตองอาศัย
  กระบวนการตีความเพิ่มเติม เชนเดียวกับการเห็นเกาอี้ ก็เขาใจได
  ทันทีวาใชงานเชนไร
ความทาทายทางดาน HCI
 ปจจัยที่ทาทายงานวิจัยทางดาน HCI นั้นมีอยู 2
           
 ปจจัยดังนี้
 ทําอยางไร จึงจะสามารถเก็บเกี่ยว และกาวตามความ
 เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
 ทําอยางไรจึงจะแนใจวาการประยุกตใชวชา HCI กับ
                                       ิ
 การออกแบบในรูปแบบเดิมจะเหมาะสมกวา การนําเอา
 เทคโนโลยีใหมๆมาใชทดแทนรูปแบบเดิม
เอกสารอางอิง
Week 2: The Components of HCI ?
Outlines
 HCI คือการบูรนาการจากหลายสาขาวิชา
 ขอบังคับที่ทําใหเกิด HCI
 ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI
 การออกแบบ HCI
เปาหมายของ HCI
 เปาหมายของ HCI คือการพัฒนา หรือการปรับปรุงระบบ
 คอมพิวเตอรในแงของความปลอดภัย, อรรถประโยชน,
 ประสิทธิภาพประสิทธิผล, การใชงาน โดยตองแนใจวาทุกๆ
 เงื่อนไขที่กลาวมาจะทํางานรวมกันไดสมบูรณ




                  วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                           ั
HCI คือการบูรนาการจากหลายสาขาวิชา
                     Social and
          Cognitive
                    Organizational
         psychology Psychology
 Computer                         Ergonomics
  Science                            and
                                Human factors
    AI              HCI
                                   Engineering
   Linguistics
                                     Design
          Philosophy
                    Sociology Anthropology
Cognitive psychology
 สาขาวิชาจิตวิทยา ในแนวทางของ HCI จะเกียวของกับการทําความเขาใจกับ
                                       ่
 มนุษย, พฤฒิกรรม, และกระบวนการทางจิตของมนุษย
Social and Organizational
psychology
 สาขาวิชาสังคมวิทยา และจิตวิทยาสังคมในแนวทางของ HCI จะเกี่ยวของกับ
 การศึกษาธรรมชาติและการใชเหตุผลในการตัดสินใจของมนุษยในบริบทของสังคม
 ซึ่งสามารถจําแนกออกมาไดเปนสี่หัวขอดังนี้
 การจูงใจในทัศนคติและพฤฒิกรรมของบุคคลหนึ่งตออีกบุคคลหนึ่ง
 ผลกระทบของทัศนคติและพฤฒิกรรมของกลุมจากสมาชิกภายในกลุม
                                                             
 ผลกระทบของทัศนคติและโครงสรางของสมาชิกจากกลุม
 ความสัมพันธระหวางโครงสรางกลุมและกิจกรรมระหวางกลุมตางๆ
Ergonomics or Human factors
สาขาวิชาสรีระวิทยา หรือปจจัยของมนุษยในแนวทางของ HCI มีวัตถุประสงคเพื่อ
กําหนดเงื่อนไข และเครื่องมือสําหรับออกแบบใชงานอุปกรณทเี่ กี่ยวของกับมนุษย โดย
จะตองมีความแข็งแรง ปลอดภัย ถูกตองกับหลักการสรีระวิทยา ใชงานแลวไมเกิด
ความลา หรือไมกอใหเกิดความผิดพลาดที่มาจากมนุษยโดยที่สาเหตุมาจากการใชงาน
เครื่องจักร
Linguistics
สาขาวิชาอักษรศาสตร ในแนวทางของ HCI มีความความเกียวของมาจากมุมมอง
                                                            ่
ที่วามนุษยสามารถที่จะเรียนรู โดยการประยุกตใชความรูจากทฤษฏีผานทางภาษา
ดังนั้นภาษาที่ตองใชสื่อสารระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร จึงตองเปนภาษาที่
เหมาะสม เขาใจไดงาย และเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นก็ตองสามารถชี้นําทางเลือก
เพื่อใหเกิดการแกไขไดตอไป
                         
Artificial Intelligence
สาขาวิชาปญญาประดิษฐ ในแนวทางของ HCI มีความเกี่ยวของในแงของการแก
แบบระบบคอมพิวเตอรที่ฉลาด สามารถที่จะเรียนรูพฤฒิกรรมการใชงานของมนุษยได
Philosophy, Sociology and
Anthropology
สาขาวิชาปรัชญา, สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ในแนวทางของ HCI มีการ
แทรกอยูในขั้นตอนยอยของกระบวนการออกแบบ และประเมินผล ซึ่งจะกิน
ความหมายลึกไปถึงปรัชญาในการออกแบบเครืองมือที่ใชเพื่อออกแบบสรางชิ้นงาน
                                         ่
ผลกระทบตอสังคม หรือปจจัยที่เปลี่ยนแปลงมนุษยในระยะยาว
Engineering and Design
สาขาวิชาวิศวกรรม และการออกแบบ ในแนวทางของ HCI มีความสวนในการ
ประยุกตทฤษฏี และหลักการตางๆเพื่อออกแบบและสรางชิ้นงาน โดยจะประเมินในแง
ความปลอดภัย ความคุมคา หรือความมีประโยชน ความเหมาะสมในแงมุมของ
วิศวกรรม
ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI
 เปนที่แนชัดแลววาระบบ HCI สามารถเพิ่มคุณภาพของ
 ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรได แตเพือให
                                                 ่
 เปาหมายสมบูรณมากยิ่งขึนเรายังตองการระบบที่เปดกวางเพือ
                             ้                            ่
 การเพิ่มความรูเกี่ยวกับเปาหมายของมนุษย, ความสามารถ
 และขอจํากัดของมนุษย และยังมีบริบททางสังคม กายภาพ
 ขององคกรดวย ดังนั้นตัวแบบกรอบความคิดควรมีดังนี้



                   วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                            ั
Level 3                         Organization
                                  Goal
                Social
                System

   Level 2
                                        Techincal
                         Work
                                        System

          Level 1

               People           Technology
ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI
 ตัวแบบ HCI ประกอบไปดวยสี่สวนคือ มนุษย, งาน,
 สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี ซึ่งปจจัยทั้งสี่นี้สามารถแปลงรูปใหมี
 ความหมายไดหลากหลายดังนี้
 มนุษย หมายถึงบุคคลหรือกลุมบุคคล
 งาน มีความหมายครอบคลุมทุกกิจกรรมที่ถือเปนงาน
 สิ่งแวดลอม หมายถึงบริบททางกายภาพ, สังคม และองคกร
 เทคโนโลยี หมายถึงสิงตางๆที่ใชในการปฏิสัมพันธกบ
                    ่                               ั
 คอมพิวเตอร
ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI
 ตัวแบบกรอบความคิดนําเสนอในรูปแบบของระดับตางๆที่
 สงผลถึงกัน โดยที่ในระดับแรกเปนปฏิสัมพันธระหวาง
 คอมพิวเตอรกบมนุษยเพื่อใหเกิดงานซึ่งจะแสดงอยูใน
               ั                                   
 สิ่งแวดลอมเปนระดับที่สอง ซึ่งงานนี้สงผลกระทบกับ
 สิ่งแวดลอมในระดับที่สามซึ่งกวางที่สุดคือ ระบบสังคม,
 เปาหมายขององคกร หรือ ระบบเทคนิค ซึ่งเปนผลกระทบ
 แบบวงกวาง กลาวคือ ถาเกิดเทคโนโลยีในการปฏิสัมพันธขึ้น
 ใหม ก็จะสงผลถึงระบบเทคนิคแบบใหมในระดับที่สาม
การออกแบบ HCI
 กระบวนการออกแบบ HCI สามารถใชตัวแบบมาตรฐาน
 แบบนาตกของวิศวกรรมซอฟทแวรได ซึ่งแบงระดับการทํางาน
 เปนสี่ระดับ ดังนี้




                  วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                           ั
การออกแบบ HCI
Requirement
Analysis and
 Definition

           System and
         Software Design


                        Implementation
                        and Unit Testing


                                                           Integration and
                                                           System Testing
                 วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                          ั
การออกแบบ HCI
ระดับที่หนึ่ง แสดงขั้นตอนการวิเคราะหและกําหนดนิยามของ
ความตองการ หรือเปนการระบุลักษณะของปญหานั่นเอง โดย
ขั้นตอนนี้อาจแสดงอยูในรูปแบบของแบบสอบถาม
                       
ระดับที่สอง เปนการออกแบบระบบ และการออกแบบ
ซอฟทแวร ซึ่งเปนขั้นของการวางแผนงาน
ระดับที่สาม เปนขั้นตอนของการจังสรางชิ้นงาน และทดสอบ
การทํางานยอยในแตละสวน
ระดับที่สี่ เปนการรวบรวมระบบยอยและทดสอบเพือดูการ
                                               ่
ทํางานทั้งระบบวามีขอผิดพลาดใดหรือไม
                 วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร
                                                          ั
การออกแบบ HCI
Summary
Assignment Works
 จงไปคนควาขอมูลและสรุปในหัวขอตอไปนี้
1. มนุษยสามารถรับรูและตอบสนองกับสิ่งแวดลอมภายนอกไดในทางใดไดบาง
2. จากขอ 1 ขอจํากัดของชองทางเหลานั้นมีอะไรบาง
เอกสารอางอิง

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsPa'rig Prig
 
HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4Alan Dix
 

Andere mochten auch (6)

Hci week1 stamford edit
Hci week1 stamford editHci week1 stamford edit
Hci week1 stamford edit
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Chapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systemsChapter 3 the structure of management information systems
Chapter 3 the structure of management information systems
 
Thai hci
Thai hciThai hci
Thai hci
 
Interaction Paradigms
Interaction ParadigmsInteraction Paradigms
Interaction Paradigms
 
HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4HCI - Chapter 4
HCI - Chapter 4
 

Ähnlich wie 546345

Original 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesOriginal 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesTaiMe Sakdisri
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_editNicemooon
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือนSurapon Boonlue
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_editNicemooon
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationBoonlert Aroonpiboon
 

Ähnlich wie 546345 (20)

Original 01 hci_principles
Original 01 hci_principlesOriginal 01 hci_principles
Original 01 hci_principles
 
Chap1 updated
Chap1 updatedChap1 updated
Chap1 updated
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
Ict300_3_edit
Ict300_3_editIct300_3_edit
Ict300_3_edit
 
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือนSmart classroom  ความสมาร์ทในความเสมือน
Smart classroom ความสมาร์ทในความเสมือน
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
A basic of UX for beginner
A basic of UX for beginnerA basic of UX for beginner
A basic of UX for beginner
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
Ict300_4_edit
Ict300_4_editIct300_4_edit
Ict300_4_edit
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
Classroom In The Future
Classroom In  The  FutureClassroom In  The  Future
Classroom In The Future
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
 
Arduino vs STEM from INEX
Arduino vs STEM from INEXArduino vs STEM from INEX
Arduino vs STEM from INEX
 

Mehr von TaiMe Sakdisri (18)

456245345
456245345456245345
456245345
 
4563456
45634564563456
4563456
 
56785774
5678577456785774
56785774
 
Unit07
Unit07Unit07
Unit07
 
6784678467
67846784676784678467
6784678467
 
4678467846
46784678464678467846
4678467846
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
Unit02
Unit02Unit02
Unit02
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Chapter009
Chapter009Chapter009
Chapter009
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter004
Chapter004Chapter004
Chapter004
 
Chapter003
Chapter003Chapter003
Chapter003
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
654569
654569654569
654569
 
6543456
65434566543456
6543456
 

546345

  • 1. The Components of HCI Human-Computer Interaction วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 2. Motivation Quiz 1 จงยกตัวอยางอุปกรณเชื่อมตอประสาน ระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรทรจก ี่ ู ั มาคนละ 10ชนิด วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 3. Continued from Week 1: What is HCI ? Outlines ความเปนมาของ HCI เปาหมายของ HCI แผนภาพของ HCI หลักการที่ทําใหได HCI ที่ดี ความทาทายของ HCI
  • 4. วิชานี้ไดกําเนิดมาในวงการคอมพิวเตอร 10 กวาปหรือ 20 ปตนๆ สมัยกอนจะมีสอนในสาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ระดับสูงๆ ตั้งแตระดับ ปริญญาโทขึ้นไปจนถึงปริญญาเอก.... ปจจุบันมีสาขาเอกใหเลือก ทาง HCI โดยตรง บุคลากรทางดาน HCI ยังเปนที่ตองการของตลาดอุสาหกรรมซอฟตแวรและโม บาย วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 5. เปาหมายของ HCI คือการสรางระบบที่สามารถใชงานได, มีความ ปลอดภัย และสามารถใชงานไดจริง ซึ่งสามารสรุปเปาหมายออกเปน หัวขอดังนี้ มีความปลอดภัย (Safety) มีประโยชน (Utility) มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ (Effectiveness and Efficiency) สามารถใชงานได (Usability) วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 6. System ระบบ มีความหมายที่ครอบคลุมไมไดมีเพียงแคฮารดแวร หรือ ซอฟตแวร แตหมายถึงสภาพแวดลอมทั้งหมดที่ใช หรือถูก กระทบโดยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 7. Effectiveness and Efficiency การปรับปรุงประสิทธิผล และประสิทธิภาพ คือการมุงเนนให ระบบที่พัฒนาขึ้นมีผลการทํางานที่ดีขึ้น มีความสะดวกสบาย ในแตละสวนของระบบ แตอยางไรก็ตามหัวขอนี้เปนเรื่องของ การวัดผล ดังนั้นมันจึงขึ้นอยูกบมุมมองที่พิจารณาดวย วาดี ั ขึ้นในแงใด วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 8. Safety ความปลอดภัย คือการมุงเนนในเรื่องการออกแบบใหระบบที่ พัฒนามีความปลอดภัยทั้งกับบุคคล และองคกรที่ใชงานระบบ วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 9. Utility ความมีประโยชน คือการสรางระบบใหสามารใชงานไดจริงของ ระบบที่ไดพัฒนาขึ้น วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 10. Usability การใชงานได คือแนวคิดที่เกี่ยวกับการทําระบบใหงายตอการ เรียนรู และงายตอการใชงานระบบคอมพิวเตอรไมกอความ ลําบาก หรือรําคาญกับผูใช วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 11. ขั้นตอนทีจะนําไปสูเปาหมายของ HCI ่ ประกอบไปดวย 3 ขันตอนดังนี้ ้ Understand คือมีความเขาใจในเรื่องจิตวิทยา, กาย วิภาคศาสตร, และปจจัยเกี่ยวกับองคกรทางสังคม Develop คือการใชเทคนิคตางๆในทางคอมพิวเตอรเพือ ่ ใชในการออกแบบ หรือพัฒนาผลงาน Achieve คือการทําปฏิสัมพันธใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปลอดภัยตอทั้งบุคคลและกลุม วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 13. แผนภาพของ HCI องคประกอบของ HCI แบงออกเปนสี่สวน แสดงดังรูป U1: กลุมระบบคอมพิวเตอรที่ใชงานในกลุมสังคมที่ทํางาน รวมกัน U2: กลุมการใชโปรแกรมประยุกต ระบบ และงานที่ตองนํา คอมพิวเตอรเขามาใชงาน U3: กลุมที่ใชงานคอมพิวเตอรแบบเฉพาะบุคคล ตองมีการ ดัดแปลงเพือใหใชเฉพาะงาน หรือเฉพาะบุคคล ่
  • 14. แผนภาพของ HCI H1: กระบวนการรับรู และวิเคราะหของมนุษย H2: ภาษา การสื่อสาร และปฏิสัมพันธ H3: ลักษณะการทํางานทางกายภาพของมนุษย
  • 15. แผนภาพของ HCI C1: อุปกรณนําเขา และแสดงผลเปนตัวเชื่อมมนุษยและ คอมพิวเตอร C2: เทคนิคที่ใชในขั้นตอนการโตตอบระหวางใชงาน C3: เทคนิคที่ทําใหเกิดผลในการออกแบบขนาดใหญ C4: รายละเอียดในสวนสนับสนุนการโตตอบ C5: การโตตอบหลายเทคนิค ที่นําไปสูการออกแบบระบบ สถาปตยกรรม
  • 16. แผนภาพของ HCI D1: การออกแบบสําหรับการโตตอบ D2: เทคนิคและเครื่องมือสําหรับใชพฒนาใหเกิดผล ั D3: เทคนิคการประเมิน D4: ตัวอยางระบบการออกแบบ และกรณีศึกษาที่เหมาะสม
  • 17. การทําความเขาใจเกี่ยวกับมนุษย -การประมวลผลขอมูลของมนุษย -ภาษา, วิธีการสื่อสาร และการโตตอบของมนุษย -มานุษยวิทยา และสรีระวิทยาของมนุษย
  • 18. บริบทของกระบวนการสรางและประเมิน - อุปกรณ Input/output -Technique การสรางการสนทนาโตตอบ -- ประเภทการโตตอบ --การนํากราฟกสมาชวยสื่อสาร --สถาปตยกรรมซอฟทแวร และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน
  • 19. บริบทของคอมพิวเตอร - อุปกรณ Input/output -Technique การสรางการสนทนาโตตอบ -- ประเภทการโตตอบ --การนํากราฟกสมาชวยสื่อสาร สถาปตยกรรมซอฟทแวร และมาตรฐานสําหรับสวนตอประสาน
  • 20. แผนภาพของ HCI Use and Context of Computer การใชงาน และ บริบทของคอมพิวเตอรเพื่อใหมีความลงตัวในการใชงาน Human Characteristics เปนหัวขอที่ศึกษาทําความ เขาใจเกี่ยวกับมนุษย Computer System and Interface Architecture เปนสวนประกอบพิเศษที่คอมพิวเตอรมีเพื่อการปฏิสัมพันธ The Development Process เปนสวนที่เกี่ยวของกับการ สรางและประเมินผลสวนตอประสานที่ใชกบมนุษย ั
  • 21. หลักการทีทําใหแนใจถึง HCI ทีดี ่ ่ หลักการทีทําใหแนใจถึง HCI ที่ดีคือ Visibility และ ่ Affordance Visibility คือแนวคิดที่ใชเพื่อควบคุมการออกแบบใหสามารถ มองเห็นวาเราทําอะไร และระบบตอบสนองเชนไร เหมาะสมหรือไม Affordance คือแนวคิดที่ใชเพื่อควบคุมการออกแบบให สามารถสื่อสารกับผูใชงานไดอยางชัดเจน โดยไมตองอาศัย กระบวนการตีความเพิ่มเติม เชนเดียวกับการเห็นเกาอี้ ก็เขาใจได ทันทีวาใชงานเชนไร
  • 22. ความทาทายทางดาน HCI ปจจัยที่ทาทายงานวิจัยทางดาน HCI นั้นมีอยู 2  ปจจัยดังนี้ ทําอยางไร จึงจะสามารถเก็บเกี่ยว และกาวตามความ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทําอยางไรจึงจะแนใจวาการประยุกตใชวชา HCI กับ ิ การออกแบบในรูปแบบเดิมจะเหมาะสมกวา การนําเอา เทคโนโลยีใหมๆมาใชทดแทนรูปแบบเดิม
  • 24. Week 2: The Components of HCI ? Outlines HCI คือการบูรนาการจากหลายสาขาวิชา ขอบังคับที่ทําใหเกิด HCI ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI การออกแบบ HCI
  • 25. เปาหมายของ HCI เปาหมายของ HCI คือการพัฒนา หรือการปรับปรุงระบบ คอมพิวเตอรในแงของความปลอดภัย, อรรถประโยชน, ประสิทธิภาพประสิทธิผล, การใชงาน โดยตองแนใจวาทุกๆ เงื่อนไขที่กลาวมาจะทํางานรวมกันไดสมบูรณ วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 26. HCI คือการบูรนาการจากหลายสาขาวิชา Social and Cognitive Organizational psychology Psychology Computer Ergonomics Science and Human factors AI HCI Engineering Linguistics Design Philosophy Sociology Anthropology
  • 27. Cognitive psychology สาขาวิชาจิตวิทยา ในแนวทางของ HCI จะเกียวของกับการทําความเขาใจกับ ่ มนุษย, พฤฒิกรรม, และกระบวนการทางจิตของมนุษย
  • 28. Social and Organizational psychology สาขาวิชาสังคมวิทยา และจิตวิทยาสังคมในแนวทางของ HCI จะเกี่ยวของกับ การศึกษาธรรมชาติและการใชเหตุผลในการตัดสินใจของมนุษยในบริบทของสังคม ซึ่งสามารถจําแนกออกมาไดเปนสี่หัวขอดังนี้ การจูงใจในทัศนคติและพฤฒิกรรมของบุคคลหนึ่งตออีกบุคคลหนึ่ง ผลกระทบของทัศนคติและพฤฒิกรรมของกลุมจากสมาชิกภายในกลุม   ผลกระทบของทัศนคติและโครงสรางของสมาชิกจากกลุม ความสัมพันธระหวางโครงสรางกลุมและกิจกรรมระหวางกลุมตางๆ
  • 29. Ergonomics or Human factors สาขาวิชาสรีระวิทยา หรือปจจัยของมนุษยในแนวทางของ HCI มีวัตถุประสงคเพื่อ กําหนดเงื่อนไข และเครื่องมือสําหรับออกแบบใชงานอุปกรณทเี่ กี่ยวของกับมนุษย โดย จะตองมีความแข็งแรง ปลอดภัย ถูกตองกับหลักการสรีระวิทยา ใชงานแลวไมเกิด ความลา หรือไมกอใหเกิดความผิดพลาดที่มาจากมนุษยโดยที่สาเหตุมาจากการใชงาน เครื่องจักร
  • 30. Linguistics สาขาวิชาอักษรศาสตร ในแนวทางของ HCI มีความความเกียวของมาจากมุมมอง ่ ที่วามนุษยสามารถที่จะเรียนรู โดยการประยุกตใชความรูจากทฤษฏีผานทางภาษา ดังนั้นภาษาที่ตองใชสื่อสารระหวางมนุษยและคอมพิวเตอร จึงตองเปนภาษาที่ เหมาะสม เขาใจไดงาย และเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นก็ตองสามารถชี้นําทางเลือก เพื่อใหเกิดการแกไขไดตอไป 
  • 31. Artificial Intelligence สาขาวิชาปญญาประดิษฐ ในแนวทางของ HCI มีความเกี่ยวของในแงของการแก แบบระบบคอมพิวเตอรที่ฉลาด สามารถที่จะเรียนรูพฤฒิกรรมการใชงานของมนุษยได
  • 32. Philosophy, Sociology and Anthropology สาขาวิชาปรัชญา, สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ในแนวทางของ HCI มีการ แทรกอยูในขั้นตอนยอยของกระบวนการออกแบบ และประเมินผล ซึ่งจะกิน ความหมายลึกไปถึงปรัชญาในการออกแบบเครืองมือที่ใชเพื่อออกแบบสรางชิ้นงาน ่ ผลกระทบตอสังคม หรือปจจัยที่เปลี่ยนแปลงมนุษยในระยะยาว
  • 33. Engineering and Design สาขาวิชาวิศวกรรม และการออกแบบ ในแนวทางของ HCI มีความสวนในการ ประยุกตทฤษฏี และหลักการตางๆเพื่อออกแบบและสรางชิ้นงาน โดยจะประเมินในแง ความปลอดภัย ความคุมคา หรือความมีประโยชน ความเหมาะสมในแงมุมของ วิศวกรรม
  • 34. ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI เปนที่แนชัดแลววาระบบ HCI สามารถเพิ่มคุณภาพของ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและคอมพิวเตอรได แตเพือให ่ เปาหมายสมบูรณมากยิ่งขึนเรายังตองการระบบที่เปดกวางเพือ ้ ่ การเพิ่มความรูเกี่ยวกับเปาหมายของมนุษย, ความสามารถ และขอจํากัดของมนุษย และยังมีบริบททางสังคม กายภาพ ขององคกรดวย ดังนั้นตัวแบบกรอบความคิดควรมีดังนี้ วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 35. Level 3 Organization Goal Social System Level 2 Techincal Work System Level 1 People Technology
  • 36. ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI ตัวแบบ HCI ประกอบไปดวยสี่สวนคือ มนุษย, งาน, สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี ซึ่งปจจัยทั้งสี่นี้สามารถแปลงรูปใหมี ความหมายไดหลากหลายดังนี้ มนุษย หมายถึงบุคคลหรือกลุมบุคคล งาน มีความหมายครอบคลุมทุกกิจกรรมที่ถือเปนงาน สิ่งแวดลอม หมายถึงบริบททางกายภาพ, สังคม และองคกร เทคโนโลยี หมายถึงสิงตางๆที่ใชในการปฏิสัมพันธกบ ่ ั คอมพิวเตอร
  • 37. ตัวแบบกรอบความคิดสําหรับ HCI ตัวแบบกรอบความคิดนําเสนอในรูปแบบของระดับตางๆที่ สงผลถึงกัน โดยที่ในระดับแรกเปนปฏิสัมพันธระหวาง คอมพิวเตอรกบมนุษยเพื่อใหเกิดงานซึ่งจะแสดงอยูใน ั  สิ่งแวดลอมเปนระดับที่สอง ซึ่งงานนี้สงผลกระทบกับ สิ่งแวดลอมในระดับที่สามซึ่งกวางที่สุดคือ ระบบสังคม, เปาหมายขององคกร หรือ ระบบเทคนิค ซึ่งเปนผลกระทบ แบบวงกวาง กลาวคือ ถาเกิดเทคโนโลยีในการปฏิสัมพันธขึ้น ใหม ก็จะสงผลถึงระบบเทคนิคแบบใหมในระดับที่สาม
  • 38. การออกแบบ HCI กระบวนการออกแบบ HCI สามารถใชตัวแบบมาตรฐาน แบบนาตกของวิศวกรรมซอฟทแวรได ซึ่งแบงระดับการทํางาน เปนสี่ระดับ ดังนี้ วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 39. การออกแบบ HCI Requirement Analysis and Definition System and Software Design Implementation and Unit Testing Integration and System Testing วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 40. การออกแบบ HCI ระดับที่หนึ่ง แสดงขั้นตอนการวิเคราะหและกําหนดนิยามของ ความตองการ หรือเปนการระบุลักษณะของปญหานั่นเอง โดย ขั้นตอนนี้อาจแสดงอยูในรูปแบบของแบบสอบถาม  ระดับที่สอง เปนการออกแบบระบบ และการออกแบบ ซอฟทแวร ซึ่งเปนขั้นของการวางแผนงาน ระดับที่สาม เปนขั้นตอนของการจังสรางชิ้นงาน และทดสอบ การทํางานยอยในแตละสวน ระดับที่สี่ เปนการรวบรวมระบบยอยและทดสอบเพือดูการ ่ ทํางานทั้งระบบวามีขอผิดพลาดใดหรือไม วิชา INT2104 การปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกบคอมพิวเตอร ั
  • 43. Assignment Works จงไปคนควาขอมูลและสรุปในหัวขอตอไปนี้ 1. มนุษยสามารถรับรูและตอบสนองกับสิ่งแวดลอมภายนอกไดในทางใดไดบาง 2. จากขอ 1 ขอจํากัดของชองทางเหลานั้นมีอะไรบาง