SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
         และพลโลกในศตวรรษที่ 21


                                     สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
                 ภาคีสมาชิก สานักธรรมศาสตร์และการเมือง
                                      ราชบัณฑิตยสถาน
1. แนวโน้มสาคัญของสังคมในศตวรรษที่ 21
(Cogan and Derricott :1998, Pitiyanuwat :2007 and
              Pitiyanuwat :2003)
1.1แนวโน้มกระแสหลัก 4 ประการ

1) กระแสโลกาภิวัฒน์ (globalization)
2) กระแสการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
   (information technology and communication)
3) กระแสสังคม/เศรษฐกิจฐานความรู้
   (knowledge based society/economy)
4) กระแสค่านิยมโลก (global values)
1.2 แนวโน้มที่น่าพึงปรารถนาที่ควรส่งเสริมให้เป็นจริง

1) ความจาเริญทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับความรู้มากกว่าทรัพยากรธรรมชาติ
2) เพื่อให้แข่งขันได้บรรษัทจะยอมรับมาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
   สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
3) ความไม่เสมอภาคจะลดลงอย่างมาก
4) กลุ่มชายกรอบอานาจหรือชนกลุ่มน้อยจะเข้าสู่ตาแหน่งแห่งอานาจ
   มากขึ้น
5) เกิดพันธมิตรระดับภูมิภาคมากขึ้น เพื่อบรรลุถึงสันติภาพและ
   ความมั่นคง
1.3 แนวโน้มที่เป็นปัญหาสาคัญต้องหาทางปูองกันไม่ให้เกิดขึ้น

1) เศรษฐกิจระหว่างประเทศและกลุ่มคนในประเทศ จะแตกต่างกันมากขึ้น
2) การทาลายปุาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และ
   คุณภาพของอากาศ ดิน และน้า
3) บุคคล ครอบครัว และชุมชน จะสูญเสียอิทธิพลทางการเมือง เนื่องจาก
   รัฐบาลเพิ่มระดับการกากับและควบคุมมากขึ้น
4) อาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะครอบงาชีวิตสังคมในเมืองมากยิ่งขึ้น
5) ความรู้สึกในการอยู่ร่วมกันและความรับผิดชอบของประชาชนจะลดลงอย่างมาก
แนวโน้ ม ทั้ ง ทางบวกและทางลบเกี่ ย วข้ อ ง
โดยตรงกั บ ความเป็ น พลเมื อ งและพลโลกของ
ประชาชน ทั้ ง บทบาทการส่ ง เสริ ม ให้ แ นวโน้ ม
ทางบวกเกิดขึ้นและการปูองกันไม่ให้แนวโน้มทาง
ลบเป็นจริง
2. สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
    พลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21
2.1 พลโลกในศตวรรษที่ 21 (Cogan and Derricott :1998,
Pitiyanuwat :2007; Trilling and Fadel :2009 and Barber :2010)

1) สามารถที่จะเห็นและเข้าแก้ปัญหา       6) มีจริยธรรมคุณธรรม
   ในฐานะของสมาชิกของสังคมโลก           7) มีความรู้ทั่วไปเพื่อดารงชีวิตและมี
2) สามารถร่วมทางานร่วมกับผู้อื่น           ความรู้เฉพาะในการประกอบ
3) สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ               อาชีพ
   สร้างสรรค์และเป็นระบบ                8) มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
4) เต็มใจที่จะแก้ไขข้อขัดแย้งโดย        9) มีทักษะทางเทคโนโลยี สือ และ
                                                                    ่
   สันติวิธี                               สารสนเทศ
5) เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิตและ       10) มีทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต
   บริโภคพิสัยเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
2.2 พลเมืองไทยในศตวรรษที่ 21
    (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา: 2554)

 1) คนไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน
 2) คนไทยใฝุ รู้ แ ละสามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง รั ก การอ่ า นและ
    แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง
 3) คนไทยใฝุ ดี มี คุ ณ ธรรมพื้ น ฐาน มี จิ ต ส านึ ก และค่ า นิ ย มที่
    พึงประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรม
    ประชาธิปไตย
 4) คนไทยคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ มีทักษะการคิด และปฏิบัติ
   คิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร
พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
    มีคุณสมบัติสาคัญ 6 ประการ คือ
1   • มีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้
2   • เคารพความแตกต่าง
3   • เคารพกติกา กฎหมาย
4   • เคารพสิทธิของผู้อื่น
5   • เคารพหลักความเสมอภาค
6   • รับผิดชอบต่อสังคม
พึงเหลียวหลังพิจารณาคุณลักษณะของผู้รับใช้ชาติของ
 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกอบด้วย
1) มีความสามารถ                   6) มีความซื่อตรงต่อคนทั่วไป
2) มีความเพียร                    7) รู้จักนิสัยคน
3) มีไหวพริบ ปฏิภาณดี             8) ความรู้จักผ่อนผัน
4) มีความรู้เข้าถึงการณ์ รู้จัก   9) ความมีหลักฐาน
   กาลเทศะ                        10)ความจงรักภักดีต่อสถาบัน
5) มีความซื่อตรงต่อหน้าที่           ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
เยาวชนคนไทยจะมีสมรรถนะและคุณลักษณะ
ความเป็นพลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21
              ได้อย่างไร?
3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา
     และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551)

    พลเมืองศึกษา (civic         education) หมายความว่า การ
จัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมือง
ดีของประเทศ มีความภูมิใจในความเป็นพลเมืองของตน มีความสนใจ
ที่จะปกครองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจต่อส่วนรวมและมีส่วนร่วมใน
กิจการบ้านเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย รวมทั้ง
การเรียนรู้เกี่ยวกับรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระบบการเมือง การ
ปกครอง สิ ท ธิ และความรั บ ผิ ดชอบของพลเมือ ง ระบบการบริห าร
จัดการสาธารณะ และระบบตุลาการ
3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา
  และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ)

  สาระการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง (civics) หมายความ
ว่า เนื้อหาวิชาและกิจกรรมที่กาหนดไว้ในหลักสูตร เช่น สังคม
ศึ ก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม กิ จ กรรม ลู ก เสื อ เนตรนารี เพื่ อ
พัฒนา (สั่งสอน อบรม บ่มนิสัย) ให้เป็นพลเมืองดี
3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา
   และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ)
  พลโลกศึกษา (citizationship education; globalitizationship education)
หมายความว่า พลเมืองศึกษาสมัยใหม่ที่เป็นการจัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้เพื่อ
พัฒนา (สั่งสอนอบรมบ่มนิสัย) ผูเรียนให้เป็นพลเมืองดีของประเทศ และเป็นพลโลกที่ดีของ
                              ้
สังคมโลกเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีความภูมิใจในการเป็นพลเมืองของประเทศ
และเป็นสมาชิกที่ดีของโลก มีความสนใจที่จะปกครองตนเอง มีสิทธิ มีเสียง สนใจต่อส่วนรวม
และมีส่วนร่วมในกิจการบ้านเมืองในระดับท้องถินระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก
                                             ่
รวมถึง เป็นกระบวนการจัดการเรียนรูเรื่องสิทธิและหน้าที่พลเมือง รัฐบาลและระบบสถาบัน
                                   ้
ต่างๆ ประวัติศาสตร์และรัฐธรรมนูญ เอกลักษณ์ของชาติ ระบบนิติบญญัตและกฎหมาย สิทธิ
                                                                ั   ิ
มนุษยชนของการเมือง ทางเศรษฐกิจและทางสังคมของพลเมือง หลักการและกระบวนการ
ประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมของพลเมืองในกิจการสาธารณะ และประเด็นเกี่ยวกับพลเมือง
ศึกษาและพลโลกศึกษา วิถีทัศน์สากล และการยอมรับค่านิยมพื้นฐานของสังคมในแต่ละ
ประเทศและสังคมโลก รวมทั้งค่านิยมของพลโลกศึกษา
3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา
  และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ)

  พลเมืองและพลโลกศึกษา (Bloomfield และ ชัยอนันต์ :2544)
เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการพลเมืองและพลโลกที่ดีมีความ
รับผิดชอบ (responsible citizens and global citizens) พลเมือง
และพลโลกศึกษา มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ด้าน คือ 1) ด้านการสั่งสอน
อบรมบ่มนิสัยเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบทางสังคมทางศีลธรรมและ
ทางจริยธรรมคุณธรรม 2) ด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้
สังคม และ 3)ด้านการมีความรู้ทางการเมือง (political literacy)
เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความรู้ทเกี่ยวข้อง
                                  ี่
4. นโยบายและการปฏิบัติเกี่ยวกับพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน
4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน



                                                           ระบบความทันสมัย
   ก่อนทันสมัย
                   เริ่มต้นความทันสมัย   ระบบความทันสมัย       และพัฒนา
 (ก่อน พ.ศ.2413)
                        (2513-2475)         (2475-2520)        การศึกษา
                                                             (2521-ปัจจุบัน)
4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ)

      ยุค                                สาระสาคัญ
                  • เป็นการศึกษาอรูปนัยไม่มีหลักสูตร
    ก่อนทันสมัย   • วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของเด็กชาย
(ก่อน พ.ศ.2413)   • คนดีตามศาสนา และสืบทอดวัฒนธรรม
                  • ใช้วิธีสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย เป็นรายบุคคลโดยมีพระเป็นครู
                  • สังคมยกย่องคนดี
4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ)

        ยุค                                  สาระสาคัญ
                     • เป็นการจัดการศึกษาที่โรงเรียน ตามการเมืองของพระราชา
                     • มีเปูาหมายให้คนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมและมีศีลธรรม
เริ่มต้นความทันสมัย • มีการสอนวิชา “จรรยา”
     (2513-2475)    • เน้นคุณสมบัติผู้ดีชาววัง เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบและ
                      มีวิถีชีวิตตามพระพุทธศาสนา
                     • ยังเน้นการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย เป็นกลุ่มนักเรียน พ่อแม่
                       สนใจอบรมบ่มนิสัยให้ลูกสามารถยกย่องคนดี
4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ)

      ยุค                               สาระสาคัญ
                  • เป็นการจัดการศึกษาโดยฝึกฝนพลเมืองโดยการจัดการศึกษา
                    ตามการเมืองของประชาชน แทนการเมืองของพระราชา
ระบบความทันสมัย   • หลักสูตรเน้นพลเมืองต้องรับผิดชอบต่อประเทศชาติ
  (2475-2520)       ครอบครัวและตนเอง
                  • มีการจัดการศึกษาตามองค์ 4 ทางการศึกษา คือ พุทธิศึกษา
                    จริยศึกษา พลศึกษาและหัตถศึกษา
                  • เปลี่ยนวิชา “จรรยา” เป็นวิชา “หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม”
                    เป็นวิชาบังคับสาหรับทุกคน
4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ)

      ยุค                                    สาระสาคัญ
                   • ในเชิงนโยบายและความตั้งใจต่อปรากฏการณ์
                   • ในหลักสูตรมีการมุ่งทั้งความเป็นพลเมืองดีและเป็นพลโลกที่ดี
                   • วิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรมถูกหลอมรวมไว้ในกลุ่มสร้างเสริม
                     ประสบการณ์ชีวิตในระดับประถมศึกษาและหลอมรวมกับวิชา
 ระบบความทันสมัย
                     สังคมศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
และพัฒนาการศึกษา
                   • ในเชิงปฏิบัติสถานศึกษาเน้นการสอน เนื้อหาสาระของการเป็นพลเมือง
 (2521-ปัจจุบัน)
                     ดี และสาระการเป็นพลโลกที่ดี (มีผลต่อการสอบในการศึกษาต่อใน
                     ระดับอุดมศึกษา) มากกว่าการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยความเป็นพลเมืองดี
                     และการเป็นพลโลกที่ดี
                   • พ่อแม่ต้องทางานไม่มีเวลาสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยลูก สังคมยกย่องคนรวย
                     คนมีอานาจมากกว่าคนดี
โดยสรุป ในเชิงนโยบายนับว่า การจัดการศึกษาของไทยมีความทันสมัย
และพัฒนาในการสร้างพลเมืองดีและพลโลกที่ดี แต่ในการปฏิบัติสถานศึกษาใน
ระบบส่วนใหญ่เน้นการสอน (ด้วยวิธีบรรยาย) เนื้อหาวิชาเกี่ยวกับความเป็น
พลเมืองดีและความเป็นพลโลกที่ดีมากกว่าการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย โดยเฉพาะ
ขาดการจัดประสบการณ์ตรงได้เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการเป็นพลเมืองดีและการ
เป็นพลโลกที่ดี ทาให้ผู้เรียนขาดโอกาสในการพัฒนานิสัยด้านความรับผิดชอบ
ทางสังคม ทางศีลธรรมและจริยธรรม โดยเฉพาะขาดประสบการณ์ในด้านการมี
ส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้สังคม ซึ่งเป็นแก่นสาระและรากฐานสาคัญของ
การเป็ นพลเมืองดีและการเป็นพลโลกที่ดี นอกจากนี้ การจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีบทบาทจากัดในการสร้างพลเมืองดีและพล
โลก ซึ่งแตกต่างจากอดีต ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปแนวโน้มของสังคมในทางลบก็จะ
เกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
5. ผลสัมฤทธิ์ด้านพลเมืองและพลเมืองศึกษา

5.1 นักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (IEA :2010)
    1) ผลสั ม ฤทธิ์ ด้ า นความรู้ เ กี่ ย วกั บ พลเมื อ งศึ ก ษาและ
พลโลกศึกษา
        1.1) นั ก เรี ย นไทยมี ค ะแนนเฉลี่ ย 452 คะแนน ซึ่ ง ต่ ากว่ า
คะแนนเฉลี่ย (500) อย่างมีนัยสาคัญ นักเรียนไทยมีถึงร้อยละ 63 ที่มี
ความรู้อยู่ระดับ 1 หรือต่ากว่า ซึ่งไม่เพียงพอต่อการจะเป็นพลเมืองดี
และพลโลกที่ดีในอนาคต (อย่างน้อยต้องระดับ 2 ขึ้นไป) และมีเพียง
4 ประเทศจาก 38 ประเทศที่ได้คะแนนต่ากว่านักเรียนไทย
5. ผลสัมฤทธิ์ด้านพลเมืองและพลเมืองศึกษา (ต่อ)

           1.2) นักเรียนไทยมีผลสัมฤทธิ์ด้านการรับรู้ความเชื่อ เจตคติ
ความตั้งใจและพฤติกรรมเกี่ยวกับพลเมืองศึกษาและพลโลกศึกษาอยู่
ในระดับสูง
          โดยสรุ ป นัก เรี ยนไทยและนั กเรี ยนอิน โดนี เ ซี ยมีผ ลสั มฤทธิ์
ด้า นการรั บ รู้ ความเชื่ อ เจตคติ ความตั้ง ใจและพฤติก รรมเกี่ ย วกั บ
พลเมืองศึกษาและพลโลกศึกษาอยู่ในระดับสูง แต่มีผลสัมฤทธิ์ด้าน
ความรู้ เ กี่ ยวกับ พลเมื องศึ ก ษาและพลโลกศึ ก ษาอยู่ ในระดับ ต่า ซึ่ ง
ตรงกัน ข้ามกับนักเรียนจากประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวันและ
ฮ่องกง
5.2 ผลการทดสอบวิ ช าสั ง คมศึ ก ษาของนัก เรี ย นชั้ น ป.6 ม.3
    และ ม.6 ปีการศึกษา 2551-2553

                        2551              2552                2553
   ระดับชั้น
  ปีการศึกษา    ค่าเฉลี่ย         ค่าเฉลี่ย           ค่าเฉลี่ย
                             SD                SD                  SD
                  (%)               (%)                 (%)
     ป.6            -         -    33.90 12.00         47.07 16.54
     ม.3         41.09 11.02       39.70       9.97    40.85 17.00
     ม.6         34.72 8.22        36.00 8.84          46.51 8.80
โดยสรุป นักเรียนทุกระดับชั้นมีคะแนน
ผลสัมฤทธิ์เกี่ยวกับความรู้วิชาสังคมศึกษา
โดยเฉลี่ยต่ากว่าร้อยละ 50 ในทุกระดับชั้น
และทั้ง 3 ปีการศึกษา โดยมีค่าเฉลี่ยต่าสุด
เป็นร้อยละ 34 และสูงสุดร้อยละ 47
6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาและการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ
   ความเป็นพลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21
6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของ
    คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สอง (กนป.)
    ด้านพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองดีมี 4 ยุทธศาสตร์
    ดังนี้

1) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองสาหรับเด็กและเยาวชนโดยเร่งให้เกิด
  วัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมือง ปรับและ
  ทบทวนเนื้อหาสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับหน้าที่พลเมืองทีเน้นความรู้
                                                      ่
  ในเรื่องรัฐธรรมนูญและระบบการเมืองการปกครองเท่าที่จาเป็น
  และพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมเชิงปฏิบัติ
  เพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองและความเป็นประชาธิปไตยให้ผู้เรียน
2) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองสาหรับผู้ใหญ่ ครอบครัวและชุมชน โดยมี
    หลักสูตรการศึกษาความเป็นพลเมืองสาหรับผู้ใหญ่ หลักสูตรพลเมืองและ
    ประชาธิปไตยในชุมชน และจัดทาคู่มือเลี้ยงลูกให้เป็นพลเมือง



3) การสร้างพลเมืองในวงกว้างและการสร้างความตระหนักในสังคมโดยใช้สื่อมวลชน
  กระทรวงศึกษาธิการจัดให้มีรายการโทรทัศน์ในเรื่อง “พลเมือง”สาหรับเยาวชน
  และรายการสาหรับผู้ใหญ่ จัดรายการโทรทัศน์สาหรับครูในการเรียนรู้ทักษะและ
  เทคนิคการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง ประสานความร่วมมือกับ
  สมาคมวิชาชีพสื่อสารมวลชนในการสร้างพลเมืองและรณรงค์ให้คนไทยมีความเป็น
  พลเมือง รวมทั้งปลูกจิตสานึกความเป็นพลเมืองให้ฝุายประชาสัมพันธ์และ
  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4) การเชื่อมประสานเครือข่ายภาครัฐและเอกชน หน่วยงานหลักของ
   กระทรวงศึกษาธิการต้องสร้างเครือข่ายการทางาน เพื่อสร้างความเป็น
   พลเมืองร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน
                                                            ่
   และองค์กรภาคเอกชนทีเกี่ยวข้อง
                        ่
6.2 ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
    และพลโลก

 1) กระบวนการเรียนรู้แนวจิตตปัญญาศึกษา ซึ่งเป็นการศึกษาที่
    เน้นและให้คุณทธศาสตร์การจัดการศึกอษาเพื่อความ โดยผ่าน
               6.2ยุ ค่ าในเรื่องการเรียนรู้ ย่างใคร่ค รวญ
               เป็นพลเมืองและพลโลก
    กิ จ กรรมและกระบวนการที่ ห ลากหลายเพื่ อ เปลี่ ย นแปลง
    ความคิดและจิตสานึกใหม่เกี่ยวกับตนเองและสรรพสิ่ง ส่งผลต่อ
    การประพฤติ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ส ติ แ ละปั ญ ญา มี ค วามรั ก ความ
    เมตตาต่อตนเองและสรรพสิ่งทั้งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งและเป็น
    หนึ่งเดียวกับธรรมชาติ (จุมพล :2551)
2) การปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนพลเมื อ งศึ ก ษาและ
   พลโลกศึกษา ในโครงการพลเมือง-พลโลกของวชิราวุธวิทยาลัย
   การเรี ย นการสอนโดยใช้ ค วามดี ค วามงามน าความรู้ ข อง
   โรงเรียนสัตยาสัย จังหวัดลพบุรีและอื่นๆ

3) การผลิตและพัฒนาครูประจาการให้สามารถจัดกระบวนการเรี ยนรู้และ
   การประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา เพื่อให้ครูและนักเรียน
   เกิดความปิ ติและความสุขจากการเรียนรู้ที่แท้จริงร่วมกัน โดยมีนักเรียน
   ได้รับการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบทางสังคม ทาง
   ศีลธรรมและทางคุณธรรมจริยธรรม การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้
   สังคม และการมีความรู้ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความรู้ที่
   เกี่ยวข้องกับความเป็นพลเมืองและพลโลก )
4) การปรับกระบวนทัศน์ในการทดสอบและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และประเมินกลุ่มสาระสังคมศึกษา
    ให้รอบด้าน ทั้งความรับผิดชอบทางสังคม ทางศีลธรรม และทางจริยธรรมคุณธรรมด้านการมี
    ส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้สังคม และด้านความรู้ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง
    ความรู้ทเกี่ยวข้อง โดยปรับการทดสอบและประเมินผลกลุ่มสาระสังคมศึกษา ทั้งระดับ
            ี่
    สถานศึกษาและการทดสอบระดับชาติ


5) รื้อฟื้นภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษาเพื่อความเปูฯพลเมือง และพลโลกโดยสามประสาน
   คื อ “บวร” บ้าน วัด หรือสถาบัน ทางศาสนา รวมทั้ ง สถาบัน ทางาสั ง คมและโรงเยนหรื อ
   สถานศึกษา ซึ่งคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดการศึกษาโดยยุทธศาสตร์นี้ใน
   โครงการสอนภาษาไทยให้นักเรียนไทยในต่างประเทศได้ผลดีมาแล้ว และยังดาเนินการอยู่ใน
   ปัจจุบัน


6) การเป็นตัวแบบที่ดีของผู้นาและผู้ใหญ่เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองและพลโลก
“เด็กในวันนี้ คือผู้ใหญ่ในวันหน้า
 ผู้ใหญ่ในวันหน้าจะเป็นอย่างไร
     ก็ขอให้ดูผู้ใหญ่ในวันนี้เถิด




    ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน: 2477
การประเมินความเป็นพลเมืองด้วยตนเอง

1. คุณปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมคุณธรรมหรือไม่
2. คุณเสียภาษีให้รัฐตามความเป็นจริงหรือไม่
3. คุณพัฒนาสัมมาชีพของคุณให้ดีที่สุดหรือไม่

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยRachunt Boonlha
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 

What's hot (20)

แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา  ส๒๓๑๐๓
โครงสร้างรายวิชาสังคมศึกษา ๖ รหัสวิชา ส๒๓๑๐๓
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 

Viewers also liked

มิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษามิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษาKittayaporn Changpan
 
ความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลกความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลก니 태
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอKittayaporn Changpan
 
เรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกเรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกsirirak Ruangsak
 
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pageการละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
บทอาขยาน2
บทอาขยาน2บทอาขยาน2
บทอาขยาน2Apple Pakanapat
 
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์วิพร มาตย์นอก
 
Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Prachoom Rangkasikorn
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบNirut Uthatip
 
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลApple Pakanapat
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblวิพร มาตย์นอก
 

Viewers also liked (20)

มิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษามิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษา
 
ความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลกความเป็นพลเมืองโลก
ความเป็นพลเมืองโลก
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
015
015015
015
 
เรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลกเรียงความเรื่องพลโลก
เรียงความเรื่องพลโลก
 
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4pageการละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
การละเล่นเด็กไทย+553+55t2his p03 f18-4page
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
บทอาขยาน2
บทอาขยาน2บทอาขยาน2
บทอาขยาน2
 
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
การ์ดตบสำเนียงเสียงสัตว์
 
Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1Bbl เอกสารชุดที่1
Bbl เอกสารชุดที่1
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ลฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
ฝึกออกเสียง ร ก่อน ล
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
School change maker
School change maker School change maker
School change maker
 
Roadmap พลิกโฉม 2
Roadmap พลิกโฉม 2Roadmap พลิกโฉม 2
Roadmap พลิกโฉม 2
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bblพลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
พลิกโฉมกระบวนการเรียนรู้ด้วยทฤษฎี Bbl
 

Similar to ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่Focus On
 
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 

Similar to ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5) (20)

School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
นโยบายการปฎิรูปการศึกษายุคใหม่
 
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี
๑.๗ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒ สภาการศึกษา จักราวุธ คำทวี
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 

More from kruthai40

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11kruthai40
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51kruthai40
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗kruthai40
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่kruthai40
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551kruthai40
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณkruthai40
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2kruthai40
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีkruthai40
 

More from kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
 

ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)

  • 1. ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง และพลโลกในศตวรรษที่ 21 สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ภาคีสมาชิก สานักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน
  • 3. 1.1แนวโน้มกระแสหลัก 4 ประการ 1) กระแสโลกาภิวัฒน์ (globalization) 2) กระแสการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology and communication) 3) กระแสสังคม/เศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge based society/economy) 4) กระแสค่านิยมโลก (global values)
  • 4. 1.2 แนวโน้มที่น่าพึงปรารถนาที่ควรส่งเสริมให้เป็นจริง 1) ความจาเริญทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับความรู้มากกว่าทรัพยากรธรรมชาติ 2) เพื่อให้แข่งขันได้บรรษัทจะยอมรับมาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น 3) ความไม่เสมอภาคจะลดลงอย่างมาก 4) กลุ่มชายกรอบอานาจหรือชนกลุ่มน้อยจะเข้าสู่ตาแหน่งแห่งอานาจ มากขึ้น 5) เกิดพันธมิตรระดับภูมิภาคมากขึ้น เพื่อบรรลุถึงสันติภาพและ ความมั่นคง
  • 5. 1.3 แนวโน้มที่เป็นปัญหาสาคัญต้องหาทางปูองกันไม่ให้เกิดขึ้น 1) เศรษฐกิจระหว่างประเทศและกลุ่มคนในประเทศ จะแตกต่างกันมากขึ้น 2) การทาลายปุาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และ คุณภาพของอากาศ ดิน และน้า 3) บุคคล ครอบครัว และชุมชน จะสูญเสียอิทธิพลทางการเมือง เนื่องจาก รัฐบาลเพิ่มระดับการกากับและควบคุมมากขึ้น 4) อาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะครอบงาชีวิตสังคมในเมืองมากยิ่งขึ้น 5) ความรู้สึกในการอยู่ร่วมกันและความรับผิดชอบของประชาชนจะลดลงอย่างมาก
  • 6. แนวโน้ ม ทั้ ง ทางบวกและทางลบเกี่ ย วข้ อ ง โดยตรงกั บ ความเป็ น พลเมื อ งและพลโลกของ ประชาชน ทั้ ง บทบาทการส่ ง เสริ ม ให้ แ นวโน้ ม ทางบวกเกิดขึ้นและการปูองกันไม่ให้แนวโน้มทาง ลบเป็นจริง
  • 7. 2. สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ พลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21
  • 8. 2.1 พลโลกในศตวรรษที่ 21 (Cogan and Derricott :1998, Pitiyanuwat :2007; Trilling and Fadel :2009 and Barber :2010) 1) สามารถที่จะเห็นและเข้าแก้ปัญหา 6) มีจริยธรรมคุณธรรม ในฐานะของสมาชิกของสังคมโลก 7) มีความรู้ทั่วไปเพื่อดารงชีวิตและมี 2) สามารถร่วมทางานร่วมกับผู้อื่น ความรู้เฉพาะในการประกอบ 3) สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ อาชีพ สร้างสรรค์และเป็นระบบ 8) มีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 4) เต็มใจที่จะแก้ไขข้อขัดแย้งโดย 9) มีทักษะทางเทคโนโลยี สือ และ ่ สันติวิธี สารสนเทศ 5) เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีชีวิตและ 10) มีทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต บริโภคพิสัยเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
  • 9. 2.2 พลเมืองไทยในศตวรรษที่ 21 (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา: 2554) 1) คนไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน 2) คนไทยใฝุ รู้ แ ละสามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง รั ก การอ่ า นและ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง 3) คนไทยใฝุ ดี มี คุ ณ ธรรมพื้ น ฐาน มี จิ ต ส านึ ก และค่ า นิ ย มที่ พึงประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรม ประชาธิปไตย 4) คนไทยคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ มีทักษะการคิด และปฏิบัติ คิดแก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร
  • 10. พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย มีคุณสมบัติสาคัญ 6 ประการ คือ 1 • มีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้ 2 • เคารพความแตกต่าง 3 • เคารพกติกา กฎหมาย 4 • เคารพสิทธิของผู้อื่น 5 • เคารพหลักความเสมอภาค 6 • รับผิดชอบต่อสังคม
  • 11. พึงเหลียวหลังพิจารณาคุณลักษณะของผู้รับใช้ชาติของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ประกอบด้วย 1) มีความสามารถ 6) มีความซื่อตรงต่อคนทั่วไป 2) มีความเพียร 7) รู้จักนิสัยคน 3) มีไหวพริบ ปฏิภาณดี 8) ความรู้จักผ่อนผัน 4) มีความรู้เข้าถึงการณ์ รู้จัก 9) ความมีหลักฐาน กาลเทศะ 10)ความจงรักภักดีต่อสถาบัน 5) มีความซื่อตรงต่อหน้าที่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
  • 13. 3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) พลเมืองศึกษา (civic education) หมายความว่า การ จัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมือง ดีของประเทศ มีความภูมิใจในความเป็นพลเมืองของตน มีความสนใจ ที่จะปกครองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจต่อส่วนรวมและมีส่วนร่วมใน กิจการบ้านเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย รวมทั้ง การเรียนรู้เกี่ยวกับรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย ระบบการเมือง การ ปกครอง สิ ท ธิ และความรั บ ผิ ดชอบของพลเมือ ง ระบบการบริห าร จัดการสาธารณะ และระบบตุลาการ
  • 14. 3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ) สาระการเรียนรู้ความเป็นพลเมือง (civics) หมายความ ว่า เนื้อหาวิชาและกิจกรรมที่กาหนดไว้ในหลักสูตร เช่น สังคม ศึ ก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม กิ จ กรรม ลู ก เสื อ เนตรนารี เพื่ อ พัฒนา (สั่งสอน อบรม บ่มนิสัย) ให้เป็นพลเมืองดี
  • 15. 3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ) พลโลกศึกษา (citizationship education; globalitizationship education) หมายความว่า พลเมืองศึกษาสมัยใหม่ที่เป็นการจัดการศึกษาและประสบการณ์เรียนรู้เพื่อ พัฒนา (สั่งสอนอบรมบ่มนิสัย) ผูเรียนให้เป็นพลเมืองดีของประเทศ และเป็นพลโลกที่ดีของ ้ สังคมโลกเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีความภูมิใจในการเป็นพลเมืองของประเทศ และเป็นสมาชิกที่ดีของโลก มีความสนใจที่จะปกครองตนเอง มีสิทธิ มีเสียง สนใจต่อส่วนรวม และมีส่วนร่วมในกิจการบ้านเมืองในระดับท้องถินระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก ่ รวมถึง เป็นกระบวนการจัดการเรียนรูเรื่องสิทธิและหน้าที่พลเมือง รัฐบาลและระบบสถาบัน ้ ต่างๆ ประวัติศาสตร์และรัฐธรรมนูญ เอกลักษณ์ของชาติ ระบบนิติบญญัตและกฎหมาย สิทธิ ั ิ มนุษยชนของการเมือง ทางเศรษฐกิจและทางสังคมของพลเมือง หลักการและกระบวนการ ประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมของพลเมืองในกิจการสาธารณะ และประเด็นเกี่ยวกับพลเมือง ศึกษาและพลโลกศึกษา วิถีทัศน์สากล และการยอมรับค่านิยมพื้นฐานของสังคมในแต่ละ ประเทศและสังคมโลก รวมทั้งค่านิยมของพลโลกศึกษา
  • 16. 3. ความหมายและสาระการเรียนรู้ของพลเมืองศึกษา และพลโลกศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน :2551) (ต่อ) พลเมืองและพลโลกศึกษา (Bloomfield และ ชัยอนันต์ :2544) เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมการพลเมืองและพลโลกที่ดีมีความ รับผิดชอบ (responsible citizens and global citizens) พลเมือง และพลโลกศึกษา มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ด้าน คือ 1) ด้านการสั่งสอน อบรมบ่มนิสัยเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบทางสังคมทางศีลธรรมและ ทางจริยธรรมคุณธรรม 2) ด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้ สังคม และ 3)ด้านการมีความรู้ทางการเมือง (political literacy) เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งความรู้ทเกี่ยวข้อง ี่
  • 17. 4. นโยบายและการปฏิบัติเกี่ยวกับพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน 4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน ระบบความทันสมัย ก่อนทันสมัย เริ่มต้นความทันสมัย ระบบความทันสมัย และพัฒนา (ก่อน พ.ศ.2413) (2513-2475) (2475-2520) การศึกษา (2521-ปัจจุบัน)
  • 18. 4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ) ยุค สาระสาคัญ • เป็นการศึกษาอรูปนัยไม่มีหลักสูตร ก่อนทันสมัย • วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของเด็กชาย (ก่อน พ.ศ.2413) • คนดีตามศาสนา และสืบทอดวัฒนธรรม • ใช้วิธีสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย เป็นรายบุคคลโดยมีพระเป็นครู • สังคมยกย่องคนดี
  • 19. 4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ) ยุค สาระสาคัญ • เป็นการจัดการศึกษาที่โรงเรียน ตามการเมืองของพระราชา • มีเปูาหมายให้คนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมและมีศีลธรรม เริ่มต้นความทันสมัย • มีการสอนวิชา “จรรยา” (2513-2475) • เน้นคุณสมบัติผู้ดีชาววัง เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบและ มีวิถีชีวิตตามพระพุทธศาสนา • ยังเน้นการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย เป็นกลุ่มนักเรียน พ่อแม่ สนใจอบรมบ่มนิสัยให้ลูกสามารถยกย่องคนดี
  • 20. 4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ) ยุค สาระสาคัญ • เป็นการจัดการศึกษาโดยฝึกฝนพลเมืองโดยการจัดการศึกษา ตามการเมืองของประชาชน แทนการเมืองของพระราชา ระบบความทันสมัย • หลักสูตรเน้นพลเมืองต้องรับผิดชอบต่อประเทศชาติ (2475-2520) ครอบครัวและตนเอง • มีการจัดการศึกษาตามองค์ 4 ทางการศึกษา คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษาและหัตถศึกษา • เปลี่ยนวิชา “จรรยา” เป็นวิชา “หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม” เป็นวิชาบังคับสาหรับทุกคน
  • 21. 4.1 พัฒนาการพลเมืองศึกษาในระบบโรงเรียน (ต่อ) ยุค สาระสาคัญ • ในเชิงนโยบายและความตั้งใจต่อปรากฏการณ์ • ในหลักสูตรมีการมุ่งทั้งความเป็นพลเมืองดีและเป็นพลโลกที่ดี • วิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรมถูกหลอมรวมไว้ในกลุ่มสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิตในระดับประถมศึกษาและหลอมรวมกับวิชา ระบบความทันสมัย สังคมศึกษาในระดับมัธยมศึกษา และพัฒนาการศึกษา • ในเชิงปฏิบัติสถานศึกษาเน้นการสอน เนื้อหาสาระของการเป็นพลเมือง (2521-ปัจจุบัน) ดี และสาระการเป็นพลโลกที่ดี (มีผลต่อการสอบในการศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา) มากกว่าการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยความเป็นพลเมืองดี และการเป็นพลโลกที่ดี • พ่อแม่ต้องทางานไม่มีเวลาสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยลูก สังคมยกย่องคนรวย คนมีอานาจมากกว่าคนดี
  • 22. โดยสรุป ในเชิงนโยบายนับว่า การจัดการศึกษาของไทยมีความทันสมัย และพัฒนาในการสร้างพลเมืองดีและพลโลกที่ดี แต่ในการปฏิบัติสถานศึกษาใน ระบบส่วนใหญ่เน้นการสอน (ด้วยวิธีบรรยาย) เนื้อหาวิชาเกี่ยวกับความเป็น พลเมืองดีและความเป็นพลโลกที่ดีมากกว่าการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัย โดยเฉพาะ ขาดการจัดประสบการณ์ตรงได้เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการเป็นพลเมืองดีและการ เป็นพลโลกที่ดี ทาให้ผู้เรียนขาดโอกาสในการพัฒนานิสัยด้านความรับผิดชอบ ทางสังคม ทางศีลธรรมและจริยธรรม โดยเฉพาะขาดประสบการณ์ในด้านการมี ส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้สังคม ซึ่งเป็นแก่นสาระและรากฐานสาคัญของ การเป็ นพลเมืองดีและการเป็นพลโลกที่ดี นอกจากนี้ การจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีบทบาทจากัดในการสร้างพลเมืองดีและพล โลก ซึ่งแตกต่างจากอดีต ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปแนวโน้มของสังคมในทางลบก็จะ เกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
  • 23. 5. ผลสัมฤทธิ์ด้านพลเมืองและพลเมืองศึกษา 5.1 นักเรียนไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (IEA :2010) 1) ผลสั ม ฤทธิ์ ด้ า นความรู้ เ กี่ ย วกั บ พลเมื อ งศึ ก ษาและ พลโลกศึกษา 1.1) นั ก เรี ย นไทยมี ค ะแนนเฉลี่ ย 452 คะแนน ซึ่ ง ต่ ากว่ า คะแนนเฉลี่ย (500) อย่างมีนัยสาคัญ นักเรียนไทยมีถึงร้อยละ 63 ที่มี ความรู้อยู่ระดับ 1 หรือต่ากว่า ซึ่งไม่เพียงพอต่อการจะเป็นพลเมืองดี และพลโลกที่ดีในอนาคต (อย่างน้อยต้องระดับ 2 ขึ้นไป) และมีเพียง 4 ประเทศจาก 38 ประเทศที่ได้คะแนนต่ากว่านักเรียนไทย
  • 24. 5. ผลสัมฤทธิ์ด้านพลเมืองและพลเมืองศึกษา (ต่อ) 1.2) นักเรียนไทยมีผลสัมฤทธิ์ด้านการรับรู้ความเชื่อ เจตคติ ความตั้งใจและพฤติกรรมเกี่ยวกับพลเมืองศึกษาและพลโลกศึกษาอยู่ ในระดับสูง โดยสรุ ป นัก เรี ยนไทยและนั กเรี ยนอิน โดนี เ ซี ยมีผ ลสั มฤทธิ์ ด้า นการรั บ รู้ ความเชื่ อ เจตคติ ความตั้ง ใจและพฤติก รรมเกี่ ย วกั บ พลเมืองศึกษาและพลโลกศึกษาอยู่ในระดับสูง แต่มีผลสัมฤทธิ์ด้าน ความรู้ เ กี่ ยวกับ พลเมื องศึ ก ษาและพลโลกศึ ก ษาอยู่ ในระดับ ต่า ซึ่ ง ตรงกัน ข้ามกับนักเรียนจากประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวันและ ฮ่องกง
  • 25. 5.2 ผลการทดสอบวิ ช าสั ง คมศึ ก ษาของนัก เรี ย นชั้ น ป.6 ม.3 และ ม.6 ปีการศึกษา 2551-2553 2551 2552 2553 ระดับชั้น ปีการศึกษา ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย SD SD SD (%) (%) (%) ป.6 - - 33.90 12.00 47.07 16.54 ม.3 41.09 11.02 39.70 9.97 40.85 17.00 ม.6 34.72 8.22 36.00 8.84 46.51 8.80
  • 26. โดยสรุป นักเรียนทุกระดับชั้นมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์เกี่ยวกับความรู้วิชาสังคมศึกษา โดยเฉลี่ยต่ากว่าร้อยละ 50 ในทุกระดับชั้น และทั้ง 3 ปีการศึกษา โดยมีค่าเฉลี่ยต่าสุด เป็นร้อยละ 34 และสูงสุดร้อยละ 47
  • 27. 6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาและการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ ความเป็นพลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21
  • 28. 6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองของ คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่สอง (กนป.) ด้านพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองดีมี 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองสาหรับเด็กและเยาวชนโดยเร่งให้เกิด วัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษาเกี่ยวกับความเป็นพลเมือง ปรับและ ทบทวนเนื้อหาสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับหน้าที่พลเมืองทีเน้นความรู้ ่ ในเรื่องรัฐธรรมนูญและระบบการเมืองการปกครองเท่าที่จาเป็น และพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมเชิงปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองและความเป็นประชาธิปไตยให้ผู้เรียน
  • 29. 2) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองสาหรับผู้ใหญ่ ครอบครัวและชุมชน โดยมี หลักสูตรการศึกษาความเป็นพลเมืองสาหรับผู้ใหญ่ หลักสูตรพลเมืองและ ประชาธิปไตยในชุมชน และจัดทาคู่มือเลี้ยงลูกให้เป็นพลเมือง 3) การสร้างพลเมืองในวงกว้างและการสร้างความตระหนักในสังคมโดยใช้สื่อมวลชน กระทรวงศึกษาธิการจัดให้มีรายการโทรทัศน์ในเรื่อง “พลเมือง”สาหรับเยาวชน และรายการสาหรับผู้ใหญ่ จัดรายการโทรทัศน์สาหรับครูในการเรียนรู้ทักษะและ เทคนิคการเรียนการสอนเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง ประสานความร่วมมือกับ สมาคมวิชาชีพสื่อสารมวลชนในการสร้างพลเมืองและรณรงค์ให้คนไทยมีความเป็น พลเมือง รวมทั้งปลูกจิตสานึกความเป็นพลเมืองให้ฝุายประชาสัมพันธ์และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • 30. 4) การเชื่อมประสานเครือข่ายภาครัฐและเอกชน หน่วยงานหลักของ กระทรวงศึกษาธิการต้องสร้างเครือข่ายการทางาน เพื่อสร้างความเป็น พลเมืองร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ และองค์กรภาคเอกชนทีเกี่ยวข้อง ่
  • 31. 6.2 ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง และพลโลก 1) กระบวนการเรียนรู้แนวจิตตปัญญาศึกษา ซึ่งเป็นการศึกษาที่ เน้นและให้คุณทธศาสตร์การจัดการศึกอษาเพื่อความ โดยผ่าน 6.2ยุ ค่ าในเรื่องการเรียนรู้ ย่างใคร่ค รวญ เป็นพลเมืองและพลโลก กิ จ กรรมและกระบวนการที่ ห ลากหลายเพื่ อ เปลี่ ย นแปลง ความคิดและจิตสานึกใหม่เกี่ยวกับตนเองและสรรพสิ่ง ส่งผลต่อ การประพฤติ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ส ติ แ ละปั ญ ญา มี ค วามรั ก ความ เมตตาต่อตนเองและสรรพสิ่งทั้งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งและเป็น หนึ่งเดียวกับธรรมชาติ (จุมพล :2551)
  • 32. 2) การปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนพลเมื อ งศึ ก ษาและ พลโลกศึกษา ในโครงการพลเมือง-พลโลกของวชิราวุธวิทยาลัย การเรี ย นการสอนโดยใช้ ค วามดี ค วามงามน าความรู้ ข อง โรงเรียนสัตยาสัย จังหวัดลพบุรีและอื่นๆ 3) การผลิตและพัฒนาครูประจาการให้สามารถจัดกระบวนการเรี ยนรู้และ การประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา เพื่อให้ครูและนักเรียน เกิดความปิ ติและความสุขจากการเรียนรู้ที่แท้จริงร่วมกัน โดยมีนักเรียน ได้รับการสั่งสอนอบรมบ่มนิสัยเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบทางสังคม ทาง ศีลธรรมและทางคุณธรรมจริยธรรม การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้ สังคม และการมีความรู้ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความรู้ที่ เกี่ยวข้องกับความเป็นพลเมืองและพลโลก )
  • 33. 4) การปรับกระบวนทัศน์ในการทดสอบและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และประเมินกลุ่มสาระสังคมศึกษา ให้รอบด้าน ทั้งความรับผิดชอบทางสังคม ทางศีลธรรม และทางจริยธรรมคุณธรรมด้านการมี ส่วนร่วมกับชุมชนและการรับใช้สังคม และด้านความรู้ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง ความรู้ทเกี่ยวข้อง โดยปรับการทดสอบและประเมินผลกลุ่มสาระสังคมศึกษา ทั้งระดับ ี่ สถานศึกษาและการทดสอบระดับชาติ 5) รื้อฟื้นภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษาเพื่อความเปูฯพลเมือง และพลโลกโดยสามประสาน คื อ “บวร” บ้าน วัด หรือสถาบัน ทางศาสนา รวมทั้ ง สถาบัน ทางาสั ง คมและโรงเยนหรื อ สถานศึกษา ซึ่งคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดการศึกษาโดยยุทธศาสตร์นี้ใน โครงการสอนภาษาไทยให้นักเรียนไทยในต่างประเทศได้ผลดีมาแล้ว และยังดาเนินการอยู่ใน ปัจจุบัน 6) การเป็นตัวแบบที่ดีของผู้นาและผู้ใหญ่เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองและพลโลก
  • 34. “เด็กในวันนี้ คือผู้ใหญ่ในวันหน้า ผู้ใหญ่ในวันหน้าจะเป็นอย่างไร ก็ขอให้ดูผู้ใหญ่ในวันนี้เถิด ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน: 2477