SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 28
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทฤษฎีที่อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 8
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6.3 พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
6.4 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Content
Rate of chemical reac
ปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction)
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (Homogeneous Reaction)
3H2(g) + N2(g) 2NH3(g)
ปฏิกิริยาเนื้อผสม (Heterogeneous Reaction)
Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) +H2(g)
คือ กระบวนการที่สารตั้งต้นเกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้เกิดสาร
ชนิดใหม่ขึ้นมาซึ่งสารใหม่จะมีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม
เช่น AgNO3(aq) + NaCl(aq) AgCl(s) + NaNO3 (aq)
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฏีที่อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.ทฤษฏีการชน (The Collision Theory)
2.ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (The Activated Complex Theory)
หรือทฤษฎีทรานซิชันสเตด (The Transition state theory)
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฏีการชน (The Collision Theory)
“ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ โมเลกุลของสารตั้งต้นจะต้องชนกัน
ในทิศทางที่เหมาะสม และพลังงานหลังการชนต้องมีค่ามากกว่า
พลังงานกระตุ้น (activation energy, Ea)”
การเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับ
ทิศทางการชน
การชน
พลังงานกระตุ้น (Ea)
K + CH3I KI + CH3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาในทฤษฏีการชน
1. อุณหภูมิ (temperature)
2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น (concentration)
- ความถี่ของการชน
ทฤษฏีการชน (The Collision Theory)
- พลังงานของโมเลกุล
- ความถี่ของการชน
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. พื้นที่ผิวสัมผัส surface area
4. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
low surface area high surface area
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาในทฤษฏีการชน
ทฤษฏีการชน (The Collision Theory)
- โอกาสในการชน
- พลังงานกระตุ้น
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาในทฤษฏีการชน
ทฤษฏีการชน (The Collision Theory)
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทิศทางการชน
ความถี่ของการชน
พลังงานกระตุ้น (Ea)
อุณหภูมิ
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
พื้นที่ผิวสัมผัส
ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (The Activated Complex Theory)
หรือทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory)
“การเข้าชนของสารตั้งต้นในลักษณะที่เหมาะสมจะเกิดสารใหม่ เรียกว่า
สารเชิงซ้อนกัมมันต์(activated complex) จากนั้นสารเชิงซ้อนกัมมันต์
จะสลายเป็นผลิตผลต่อไป”
(สภาวะที่มีเสถียรและมีพลังงานสูง )
activatedcomplex
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อโมเลกุลมีพลังงานอย่างน้อยเท่ากับพลังงานกระตุ้น
ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (The Activated Complex Theory)
หรือทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory)
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฏีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ (The Activated Complex Theory)
หรือทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory)
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาดาเนินได้ 2 แบบ ได้แก่
ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือดูดความร้อน (Endothermic Reaction)
ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความร้อน (Exothermic Reaction)
พิจารณาปฏิกิริยา A + B C + D
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
E1 = พลังงานของสารตั้งต้น
E1
E2 = พลังงานของสารเชิงซ้อมกัมมันต์
E3 = พลังงานของสารผลิตภัณฑ์
E2
E3
Ear = E2-E1 (พลังงานกระตุ้นสาหรับการที่ reactant เปลี่ยนไปเป็น activated complex)
Eap = E2-E3
(พลังงานกระตุ้นสาหรับการที่ product เปลี่ยนไปเป็น activated complex )
ΔE
(Ea)
ΔE = พลังงานของปฏิกิริยา ∆E = Eproduct-Ereactant
= E3 - E1
กราฟการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อธิบายกราฟ
พลังงานของปฏิกิริยาไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานก่อกัมมันต์
สารตั้งต้นมีพลังงาน E1 เมื่อชนกันแล้วกลายเป็น activated complex ที่มีพลังงานเท่ากับ E2
หลังจากนั้นจะเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีพลังงานเท่ากับ E3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า E1
ระบบจึงคายพลังงานออกมามีค่าเท่ากับ ∆E
E1
E2
E3
(∆E)
(Ea)
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นมีพลังงานต่ากว่าสารตั้งต้น (คายออกจึง
เหลือพลังงานน้อยกว่าเดิม)
ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความร้อน (Exothermic Reaction)
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
∆E < 0
(∆E ติดลบ)
ปฏิกิริยาดาเนินจาก
Reactant ไปเป็น product
แบบไม่ย้อนกลับ
สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นมีพลังงานมากกว่าสารตั้งต้น (ดูดเข้าไปจึง
มีพลังงานเพิ่มขึ้น)
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือดูดความร้อน (Endothermic Reaction)
∆E > 0
∆E เป็นบวก
เป็นปฏิกิริยาที่
สามารถเกิดย้อนกลับได้
Example1:
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จากกราฟปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายพลังงาน
2. พลังงานของ reactant =……..
3. พลังงานของสารเชิงซ้อนกัมมันต์ =…….
4. พลังงานของ product =……
5. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า (Ear) =…......
6. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ (Eap) = ……..
7. ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อนเท่าใด = ……….
Example2:
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จากกราฟปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายพลังงาน
2. พลังงานของ reactant =……..
3. พลังงานของสารเชิงซ้อนกัมมันต์ =…….
4. พลังงานของ product =……
5. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า (Ear) =…......
6. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ (Eap) = ……..
7. ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อนเท่าใด = ……….
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
∆E < 0 ∆E > 0
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ให้นักเรียนเขียนกราฟระหว่างพลังงานและการดาเนินไปของปฏิกิริยา ของ
A + B C + D
เมื่อ A + B มีพลังงานเท่ากับ 100 kJ, C + D มีพลังงานเท่ากับ 50 kJ
พลังงานกระตุ้นของ A + B C + D เท่ากับ 100 kJ
คาถาม 1). ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน
2). ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อนเท่ากับเท่าใด?
3). พลังงานกระตุ้นของ C + D A + B เท่ากับเท่าใด?
1.ให้นักเรียนเขียนกราฟระหว่างพลังงานและการดาเนินไปของปฏิกิริยา
ของ X + Y Z เมื่อพลังงานกระตุ้น (Ea) ของปฏิกิริยาเท่ากับ
100 kJ ปฏิกิริยานี้คายพลังงานออกมาเท่ากับ 50 kJ
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. พิจารณาสมการต่อไปนี้
A + 2B C + 280 kJ -----(1)
2X + Y + 150 kJ 3Z ------(2)
ถ้าระดับพลังงานของสารตั้งต้นในปฏิกิริยา(1) และ (2) เป็น 510 และ 340 kJ
ตามลาดับ จงหาผลต่างของพลังงานของผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาทั้งสอง
ปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเคมีบางปฏิกิริยา จะเกิดหลายขั้นตอนต่อเนื่องกัน และในระหว่างที่เกิดปฏิกิริยา
แต่ละขั้นตอน จะเกิดสารที่ไม่เสถียร และไม่ใช่สารผลิตภัณฑ์ เรียกว่า สารมัธยันตร์
(Intermediate)
ขั้นควบคุมปฏิกิริยาหรือขั้นกาหนดอัตรา (rate determining step) คือ ขั้นที่
ดาเนินไปช้าที่สุด
เช่น NO(g) + NO(g) N2O2(g) (เร็ว)
N2O2(g) + O2(g) 2NO2(g) (ช้า)
NO(g) + O2(g) 2NO2(g)
ดังนั้น N2O2(g) เป็น intermediate, N2O2(g) + O2(g) 2NO2(g) เป็นขั้นกาหนดอัตรา
พลังงานกับปฏิกิริยาเคมีที่มีหลายขั้นตอน
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงจาก A ไปเป็นสาร B
เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน โดยมี 2 ขั้นตอน
ขั้นตอน 1 A X
(ปฏิกิริยาดูดความร้อน, พลังงานก่อกัมมันต์
เท่ากับ Ea1, เกิดเร็ว, ย้อนกลับได้)
ขั้นตอน2 X B
(ปฏิกิริยาคายความร้อน, พลังงานก่อกัมมันต์
เท่ากับ Ea2 , เกิดช้า, ไม่ย้อนกลับ )
ดังนั้น ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นควบคุมปฏิกิริยาหรือขั้นกาหนดอัตรา
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
ข้อสรุปจากกราฟ
1. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน
2. ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้น 3 ขั้นตอน
3. เรียงลาดับ Ea : Ea3 > Ea1> Ea2 ดังนั้น ขั้นที่ 3
จึงเกิดช้าสุดเป็นขั้นควบคุมปฏิกิริยาหรือขั้น
กาหนดอัตรา ( rate determining step )
4. ขั้นที่ 1 เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ขั้นที่ 2 เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน
ขั้นที่ 3 เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
1. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา...............
2. ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้น.........ขั้นตอน
3. ปฏิกิริยาขั้นกาหนดอัตรา (rate
determining step) ได้แก่ขั้น..........
4. ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ในแต่ละขั้นเป็นอย่างไร
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
3.ปฏิกิริยารวมเป็นปฏิกิริยา?
2. ปฏิกิริยานี้มี.........ขั้นตอน
4. แต่ละขั้นตอนเป็นปฏิกิริยาใด?
5.ขั้นกาหนดอัตราคือปฏิกิริยาขั้นตอนใด?
แบบฝึกหัด
1. I – VII คือ สารใดในปฏิกิริยา
A B
C
D
1.ปฏิกิริยารวมเป็นปฏิกิริยา?
2. ปฏิกิริยานี้มีกี่ขั้นตอน
3. แต่ละขั้นตอนเป็นปฏิกิริยาใด?
4.ขั้นกาหนดอัตราคือขั้นตอนใด?
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัด
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ให้นักเรียนเขียนกราฟระหว่างพลังงานและการดาเนินไปของปฏิกิริยา
ของ A D + E ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่เกิดผ่านขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
ขั้นที่ 1 A B พลังงานก่อกัมมันต์(Ea) = 300 kJ
ขั้นที่ 2 B C พลังงานก่อกัมมันต์(Ea) = 100 kJ
ขั้นที่ 3 C D + E พลังงานก่อกัมมันต์(Ea) = 200 kJ
พลังงานของสารต่างๆ เป็นดังนี้
สาร ระดับพลังงาน(kJ)
A 100
B 200
C 150
D 55
E 55
คาถาม 1. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา..............
2. ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อนเท่ากับ..........
3. ปฏิกิริยาที่เกิดช้าที่สุดคือ...........
4. ปฏิกิริยา ขั้นที่ 1 และ 2 ดูดหรือคายความร้อน
เท่ากับเท่าใด ?

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 

Was ist angesagt? (20)

ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 

Ähnlich wie ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีweerabong
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาoraneehussem
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีweerabong
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์Nnear .
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์Nnear .
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุลMuk52
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์Nnear .
 

Ähnlich wie ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

Rate
RateRate
Rate
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยาบทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี วิสุพร ดีดวงพันธ์
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
สมดุลเคมี สุกัญญา คำนนท์
 
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์สมดุลเคมี ธวัชชัย  รุ่งโรจน์
สมดุลเคมี ธวัชชัย รุ่งโรจน์
 
สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
สมดุลเคมี ชินกร ดีดวงพันธ์
 

Mehr von พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี