SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 23
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การจาแนกสาร
การจาแนกสาร
สสาร (Matter) หมายถึง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวของเรา ซึ่งเราสามารถสัมผัสได้ด้วย
ประสาททั้ง 5 มีมวล มีรูปร่าง มีปริมาตร ต้องการที่อยู่ และมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างสารที่อยู่
รอบๆตัวเราและพบเห็นเป็นประจา เช่น น้า เงิน ทองคา ทองแดง เหล็ก น้ามันเชื้อเพลิง เกลือแกง
น้าปลา หิน ทราย คอนกรีต ปูนซีเมนต์ เป็นต้น
สาร (substance) คือ สสารที่ทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนแล้ว
สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดที่สามารถบ่งบอกว่า
สารแต่ละชนิดที่สามารถบ่งบอกได้ว่าสารชนิดนั้นคืออะไร ซึ่งสมบัติของสารบาง
ชนิดก็สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น สี กลิ่น รส สถานะ เป็ นต้น แต่สมบัติ
ของสารบางชนิดก็ต้องใช้เครื่องมือในการตรวจสอบคุณสมบัติของ
สาร เช่น ความสามารถในการนาไฟฟ้ า ความเป็ นกรด – เบส ความหนาแน่น จุด
เดือด เป็ นต้น
สมบัติของสาร
 สมบัติของสารสามารถจาแนกได้เป็ น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้
 สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties)
 สมบัติทางกายภาพสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าหรือลักษณะภายนอกและการใช้
เครื่องมืออย่างง่าย ๆ ในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ จะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของสาร ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่เป็ นการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านรูปลักษณ์ภายนอกเท่านั้น เช่น การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย การ
เปลี่ยนอุณหภูมิ การสึกกร่อน เป็ นต้น
สมบัติทางเคมี (Chemical Properties)
สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร และการเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ มีการเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้มีการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย ทาให้สารใหม่ที่
เกิดขึ้น มีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น
ในการศึกษาเรื่องสาร จาเป็ นต้องแบ่งสารออกเป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการ
จดจาสาร โดยทั่วไปนิยมใช้สมบัติทางกายภาพด้านใดด้านหนึ่งของสารเป็ นเกณฑ์ในการ
จาแนกสารซึ่งมีหลายเกณฑ์ด้วยกัน เช่น
1.ใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งสารออกได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ
1.1 ของแข็ง ( solid )
1.2 ของเหลว ( liquid )
1.3 ก๊าซ ( gas )
2.ใช้ลักษณะเนื้อสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2กลุ่ม คือ
2.1 สารเนื้อเดียว(Homogeneous Substance )
2.2 สารเนื้อผสม(Heterogeneous Substance )
3.ใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
3.1 สารแขวนลอย
3.2 คอลลอยด์
3.3 สารละลาย
การจาแนกสาร
โดยใช้เกณฑ์ ลักษณะเนื้อสาร
สารเนื้อเดียว ( HOMOGENEOUS SUBSTANCE )
 สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี
ลักษณะของเนื้อสารผสมกลมกลืนกันเป็ นเนื้อเดียว และมีอัตราส่วนของผสมเท่ากัน ถ้านาส่วนใด
ส่วนหนึ่งของสารเนื้อเดียวไปทดสอบจะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ เช่น น้ากลั่นและเกลือแกง เป็ น
สารเนื้อเดียว เมื่อนาเกลือแกงใส่ในน้าแล้วคนให้ละลายจะได้สารละลายน้าเกลือ ซึ่งเป็ นสารเนื้อเดียว
ที่มีอัตราส่วนของน้าและเกลือแกงเหมือนกันทุกส่วน
สารเนื้อเดียวมีได้ทั้ง 3 สถานะ คือ
1.สารเนื้อเดียวสถานะของแข็ง เช่น เหล็ก ทองคา ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม
นาก ฟิวส์ ทองเหลือง หินปูน เกลือแกง น้าตาลทราย เป็นต้น
2.สารเนื้อเดียวสถานะของเหลว เช่น น้ากลั่น น้าเกลือ น้าส้มสายชู น้าอัดลม
น้ามันพืช เอทานอล น้าเชื่อม น้านม เป็นต้น
3.สารเนื้อเดียวสถานะแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ม แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น
สารเนื้อผสม ( HETEROGENEOUS SUBSTANCE )
 สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี
ลักษณะของเนื้อสารคละกัน ไม่ผสมกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกัน สารที่เป็ นส่วนผสมแต่ละชนิดก็ยังคง
แสดงสมบัติของสารเดิม เพราะเป็ นการรวมกันทางกายภาพไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
เกิดขึ้น เราสามารถใช้ตาเปล่าสังเกตและจาแนกได้ว่าสารเนื้อผสมนั้นประกอบด้วยสารใดบ้าง และ
สามารถแยกสารเหล่านั้นออกจากกันได้โดยวิธีทางกายภาพธรรมดา โดยไม่ทาให้สมบัติเดิม
เปลี่ยนแปลงไป
สารเนื้อผสมมีได้ทั้ง 3 สถานะ เช่น
1. สารเนื้อผสมสถานะของแข็ง เช่น
ทราย คอนกรีต ดิน เป็ นต้น
2. สารเนื้อผสมสถานะของเหลว เช่น น้าคลอง น้า
โคลน น้าจิ้มไก่ เป็ นต้น
3. สารเนื้อผสมสถานะแก๊ส เช่น ฝุ่ นละอองใน
อากาศ เขม่า ควันดาในอากาศ เป็ นต้น
การจาแนกสาร
โดยใช้เกณฑ์ สถานะของสาร
1.ของแข็ง ( solid ) หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างไม่เปลี่ยนแปลง และมีรูปร่าง
เฉพาะตัว เนื่องจากอนุภาคในของแข็งจัดเรียงชิดติดกันและอัดแน่นอย่างมีระเบียบไม่มีการ
เคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก ไม่สามารถทะลุผ่านได้และไม่สามารถบีบหรือทาให้เล็กลง
ได้ เข่น ไม้ หิน เหล็ก ทองคา ดิน ทราย พลาสติก กระดาษ เป็นต้น
 2.ของเหลว ( liquid ) หมายถึงสารที่มีลักษณะไหลได้ มีรูปร่างตามภาชนะ
ที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลวอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง อนุภาคไม่ยึด
ติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่
สามารถทะลุผ่านได้ เช่น น้า แอลกอฮอล์ น้ามันพืช น้ามันเบนซิน เป็นต้น
 3.แก๊ส ( gas ) หมายถึงสารที่ลักษณะฟุ้ งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ
เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อย่าง
รวดเร็วไปได้ในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคน้อย
มาก สามารถทะลุผ่านได้ง่าย และบีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย เช่น อากาศ
แก๊สออกซิเจน แก๊สหุงต้ม เป็ นต้น
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
1.ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง
1.มีรูปร่างตาม
ภาชนะที่ใส่
1.มีรูปร่างกดระจรายเต็มภาชนะที่บรรจุ
2.อยู่กับที่ 2.ไหลได้ 2.ฟุ้ งกระจายอย่างรวดเร็ว
3.ทะลุผ่านได้ยาก 3.ทะลุผ่านได้ 3.ทะลุผ่านได้ง่ายมาก
4.บีบอัดให้เล็กลงไม่ได้
4.บีบอัดให้เล็กลง
ได้
4.บีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย
การจาแนกสาร
โดยใช้เกณฑ์
ขนาดอนุภาคของสาร
1. สารแขวนลอย (Suspension)
เป็นสารที่ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ของของแข็งมีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า
สารคอลลอยด์ สารแขวนลอยจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 10 เซนติเมตร อนุภาค
ของของแข็งลอยกระจายอยู่ในของเหลวซึ่งสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน เมื่อตั้ง
ทิ้งไว้นิ่ง ๆ จะเกิดการตกตะกอน เช่น น้าโคลน น้าคลอง น้าอบไทย เป็นต้น
ตัวอย่างสารแขวนลอย
2. คอลลอยด์(colloid)
หมายถึง สารที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง ถึง เซนติเมตร อนุภาคสามารถกรอง
ผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่สามารถกรองผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ปรากฏการณ์ทินดอลล์
(Tyndalleffect) จอห์น ทินดอลล์ได้ทดลองป็นคนแรก ปรากฏการณ์ทินดอลล์คือ การให้แสงผ่าน
คอลลอยด์ใดๆ แล้วเราสามารถมองเห็นลาแสงในคอลลอยด์นั้นๆได้ เหตุที่เห็นลาแสงเพราะคอลลอยด์มี
ขนาดโตพอที่จะทาให้แสงที่ตกกระทบเกิดการกระเจิงของแสง
อิมัลชัน (emulsion) เกิดจากอนุภาคของของเหลว กระจายอยู่ในตัวกลางที่เป็นของเหลว โดยมี
อิมัลซิไฟเออร์เป็นตัวประสาน เช่น น้าสลัด นมสด
อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)
อิมัลซิไฟเออร์ช่วยให้ไอศกรีมมีเนื้อสัมผัสเรียบเนียน มีโครงสร้างแน่นขึ้น ลดระยะเวลาการตีให้ขึ้นฟู
เป็นสารผสมเนื้อเดียว (homogeneous mixture) เกิดจาก สารอย่าง
น้อย 2 ชนิดขึ้นไปมารวมเป็นเนื้อเดียวกัน
- สารที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทำละลำย
(Solvent)
- สารที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวถูกละลำย
(Solute)
เช่น น้าตาล 5 g + น้า 100 cm3 (น้าเชื่อม )
3. สารละลาย (Solution)
- ถ้าสารที่มารวมตัวกันเป็ นสารละลายมีสถานะต่างกันสารที่มี
สถานะเหมือนกับสารละลายจะเป็ นตัวทาละลาย
- ถ้าสารที่มารวมตัวกันเป็ นสารละลายมีสถานะ
เดียวกัน สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็ นตัวทาละลาย ส่วนสาร
ที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็ นตัวถูกละลาย
การจำแนกสาร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
Supaluk Juntap
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
พัน พัน
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
พัน พัน
 

Was ist angesagt? (20)

8 2
8 28 2
8 2
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
AnalChem : Concentration
AnalChem : ConcentrationAnalChem : Concentration
AnalChem : Concentration
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 

Ähnlich wie การจำแนกสาร (10)

ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
Matter
MatterMatter
Matter
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัว01การจำแนกสารรอบตัว
01การจำแนกสารรอบตัว
 
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
 
San
SanSan
San
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
 
สาร
สารสาร
สาร
 

Mehr von พัน พัน

Mehr von พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การจำแนกสาร

  • 2. การจาแนกสาร สสาร (Matter) หมายถึง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวของเรา ซึ่งเราสามารถสัมผัสได้ด้วย ประสาททั้ง 5 มีมวล มีรูปร่าง มีปริมาตร ต้องการที่อยู่ และมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างสารที่อยู่ รอบๆตัวเราและพบเห็นเป็นประจา เช่น น้า เงิน ทองคา ทองแดง เหล็ก น้ามันเชื้อเพลิง เกลือแกง น้าปลา หิน ทราย คอนกรีต ปูนซีเมนต์ เป็นต้น สาร (substance) คือ สสารที่ทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนแล้ว
  • 3. สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดที่สามารถบ่งบอกว่า สารแต่ละชนิดที่สามารถบ่งบอกได้ว่าสารชนิดนั้นคืออะไร ซึ่งสมบัติของสารบาง ชนิดก็สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น สี กลิ่น รส สถานะ เป็ นต้น แต่สมบัติ ของสารบางชนิดก็ต้องใช้เครื่องมือในการตรวจสอบคุณสมบัติของ สาร เช่น ความสามารถในการนาไฟฟ้ า ความเป็ นกรด – เบส ความหนาแน่น จุด เดือด เป็ นต้น
  • 4. สมบัติของสาร  สมบัติของสารสามารถจาแนกได้เป็ น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้  สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties)  สมบัติทางกายภาพสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าหรือลักษณะภายนอกและการใช้ เครื่องมืออย่างง่าย ๆ ในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ จะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของสาร ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่เป็ นการเปลี่ยนแปลง ทางด้านรูปลักษณ์ภายนอกเท่านั้น เช่น การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย การ เปลี่ยนอุณหภูมิ การสึกกร่อน เป็ นต้น
  • 5. สมบัติทางเคมี (Chemical Properties) สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสาร และการเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้มีการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย ทาให้สารใหม่ที่ เกิดขึ้น มีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นต้น
  • 6. ในการศึกษาเรื่องสาร จาเป็ นต้องแบ่งสารออกเป็ นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการ จดจาสาร โดยทั่วไปนิยมใช้สมบัติทางกายภาพด้านใดด้านหนึ่งของสารเป็ นเกณฑ์ในการ จาแนกสารซึ่งมีหลายเกณฑ์ด้วยกัน เช่น 1.ใช้สถานะเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งสารออกได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ 1.1 ของแข็ง ( solid ) 1.2 ของเหลว ( liquid ) 1.3 ก๊าซ ( gas )
  • 7. 2.ใช้ลักษณะเนื้อสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 2กลุ่ม คือ 2.1 สารเนื้อเดียว(Homogeneous Substance ) 2.2 สารเนื้อผสม(Heterogeneous Substance ) 3.ใช้ขนาดอนุภาคของสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 3.1 สารแขวนลอย 3.2 คอลลอยด์ 3.3 สารละลาย
  • 9. สารเนื้อเดียว ( HOMOGENEOUS SUBSTANCE )  สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี ลักษณะของเนื้อสารผสมกลมกลืนกันเป็ นเนื้อเดียว และมีอัตราส่วนของผสมเท่ากัน ถ้านาส่วนใด ส่วนหนึ่งของสารเนื้อเดียวไปทดสอบจะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ เช่น น้ากลั่นและเกลือแกง เป็ น สารเนื้อเดียว เมื่อนาเกลือแกงใส่ในน้าแล้วคนให้ละลายจะได้สารละลายน้าเกลือ ซึ่งเป็ นสารเนื้อเดียว ที่มีอัตราส่วนของน้าและเกลือแกงเหมือนกันทุกส่วน
  • 10. สารเนื้อเดียวมีได้ทั้ง 3 สถานะ คือ 1.สารเนื้อเดียวสถานะของแข็ง เช่น เหล็ก ทองคา ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม นาก ฟิวส์ ทองเหลือง หินปูน เกลือแกง น้าตาลทราย เป็นต้น 2.สารเนื้อเดียวสถานะของเหลว เช่น น้ากลั่น น้าเกลือ น้าส้มสายชู น้าอัดลม น้ามันพืช เอทานอล น้าเชื่อม น้านม เป็นต้น 3.สารเนื้อเดียวสถานะแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ม แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น
  • 11. สารเนื้อผสม ( HETEROGENEOUS SUBSTANCE )  สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี ลักษณะของเนื้อสารคละกัน ไม่ผสมกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกัน สารที่เป็ นส่วนผสมแต่ละชนิดก็ยังคง แสดงสมบัติของสารเดิม เพราะเป็ นการรวมกันทางกายภาพไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เกิดขึ้น เราสามารถใช้ตาเปล่าสังเกตและจาแนกได้ว่าสารเนื้อผสมนั้นประกอบด้วยสารใดบ้าง และ สามารถแยกสารเหล่านั้นออกจากกันได้โดยวิธีทางกายภาพธรรมดา โดยไม่ทาให้สมบัติเดิม เปลี่ยนแปลงไป
  • 12. สารเนื้อผสมมีได้ทั้ง 3 สถานะ เช่น 1. สารเนื้อผสมสถานะของแข็ง เช่น ทราย คอนกรีต ดิน เป็ นต้น 2. สารเนื้อผสมสถานะของเหลว เช่น น้าคลอง น้า โคลน น้าจิ้มไก่ เป็ นต้น 3. สารเนื้อผสมสถานะแก๊ส เช่น ฝุ่ นละอองใน อากาศ เขม่า ควันดาในอากาศ เป็ นต้น
  • 14. 1.ของแข็ง ( solid ) หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างไม่เปลี่ยนแปลง และมีรูปร่าง เฉพาะตัว เนื่องจากอนุภาคในของแข็งจัดเรียงชิดติดกันและอัดแน่นอย่างมีระเบียบไม่มีการ เคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก ไม่สามารถทะลุผ่านได้และไม่สามารถบีบหรือทาให้เล็กลง ได้ เข่น ไม้ หิน เหล็ก ทองคา ดิน ทราย พลาสติก กระดาษ เป็นต้น
  • 15.  2.ของเหลว ( liquid ) หมายถึงสารที่มีลักษณะไหลได้ มีรูปร่างตามภาชนะ ที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลวอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง อนุภาคไม่ยึด ติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่ สามารถทะลุผ่านได้ เช่น น้า แอลกอฮอล์ น้ามันพืช น้ามันเบนซิน เป็นต้น
  • 16.  3.แก๊ส ( gas ) หมายถึงสารที่ลักษณะฟุ้ งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อย่าง รวดเร็วไปได้ในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคน้อย มาก สามารถทะลุผ่านได้ง่าย และบีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย เช่น อากาศ แก๊สออกซิเจน แก๊สหุงต้ม เป็ นต้น
  • 17. ของแข็ง ของเหลว แก๊ส 1.ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง 1.มีรูปร่างตาม ภาชนะที่ใส่ 1.มีรูปร่างกดระจรายเต็มภาชนะที่บรรจุ 2.อยู่กับที่ 2.ไหลได้ 2.ฟุ้ งกระจายอย่างรวดเร็ว 3.ทะลุผ่านได้ยาก 3.ทะลุผ่านได้ 3.ทะลุผ่านได้ง่ายมาก 4.บีบอัดให้เล็กลงไม่ได้ 4.บีบอัดให้เล็กลง ได้ 4.บีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย
  • 19. 1. สารแขวนลอย (Suspension) เป็นสารที่ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ของของแข็งมีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า สารคอลลอยด์ สารแขวนลอยจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 10 เซนติเมตร อนุภาค ของของแข็งลอยกระจายอยู่ในของเหลวซึ่งสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน เมื่อตั้ง ทิ้งไว้นิ่ง ๆ จะเกิดการตกตะกอน เช่น น้าโคลน น้าคลอง น้าอบไทย เป็นต้น ตัวอย่างสารแขวนลอย
  • 20. 2. คอลลอยด์(colloid) หมายถึง สารที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง ถึง เซนติเมตร อนุภาคสามารถกรอง ผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่สามารถกรองผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ปรากฏการณ์ทินดอลล์ (Tyndalleffect) จอห์น ทินดอลล์ได้ทดลองป็นคนแรก ปรากฏการณ์ทินดอลล์คือ การให้แสงผ่าน คอลลอยด์ใดๆ แล้วเราสามารถมองเห็นลาแสงในคอลลอยด์นั้นๆได้ เหตุที่เห็นลาแสงเพราะคอลลอยด์มี ขนาดโตพอที่จะทาให้แสงที่ตกกระทบเกิดการกระเจิงของแสง อิมัลชัน (emulsion) เกิดจากอนุภาคของของเหลว กระจายอยู่ในตัวกลางที่เป็นของเหลว โดยมี อิมัลซิไฟเออร์เป็นตัวประสาน เช่น น้าสลัด นมสด อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) อิมัลซิไฟเออร์ช่วยให้ไอศกรีมมีเนื้อสัมผัสเรียบเนียน มีโครงสร้างแน่นขึ้น ลดระยะเวลาการตีให้ขึ้นฟู
  • 21. เป็นสารผสมเนื้อเดียว (homogeneous mixture) เกิดจาก สารอย่าง น้อย 2 ชนิดขึ้นไปมารวมเป็นเนื้อเดียวกัน - สารที่มีปริมาณมากกว่า เรียกว่า ตัวทำละลำย (Solvent) - สารที่มีปริมาณน้อยกว่า เรียกว่า ตัวถูกละลำย (Solute) เช่น น้าตาล 5 g + น้า 100 cm3 (น้าเชื่อม ) 3. สารละลาย (Solution)
  • 22. - ถ้าสารที่มารวมตัวกันเป็ นสารละลายมีสถานะต่างกันสารที่มี สถานะเหมือนกับสารละลายจะเป็ นตัวทาละลาย - ถ้าสารที่มารวมตัวกันเป็ นสารละลายมีสถานะ เดียวกัน สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็ นตัวทาละลาย ส่วนสาร ที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็ นตัวถูกละลาย