SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 51
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ผิดพลาด! ตัวเลขไม่สามารถถูกแสดงในรูปแบบที่ระบุ

                โครงงานภาษาไทย

          เรื่อง รวบรวมลักษณนามหมวด ก

                    จัดทาโดย

             ชื่อนายสิทธิศักดิ์ ทาปศรี

       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๑ เลขที่ ๔

                  คุณครูที่ปรึกษา

                คุณครูสุชิรา ชุมนุม

                โรงเรียนอาเวมารีอา

อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โทร ๐-๔๕๒๔-๓๗๑๒
   รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาภาษาไทย
            ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๑

                                    บทที่ ๑ บทนำ
ควำมเป็ นมำ
                                                                            ่
คำลักษณนำม เป็ นคำที่บอกลักษณะและชนิด หรื อประเภทของคำนำมนั้น เพื่อจะให้รู้วำคำนำม
                                     ่
นั้นมีลกษณะเป็ นอย่ำงไร มักจะเขียนอยูหลังจำนวนนับ หรื อคำนำมนั้นๆ เช่น
       ั

                       ่
เรื อ ๑ ลำ ลอยละล่องอยูในคลองหน้ำบ้ำน

คุณพ่อมีแว่นตำ ๔ อัน

บ้ำนหลังนั้นไม่มีคนอยู่

โดยมีตวอย่ำง คำลักษณนำมควรรู ้ที่พอจะรวบรวมได้มำลงไว้โดยแยกตำมหมวดหมู่ดงนี้
      ั                                                                ั



๑. ลักษณนำมบอกชนิด

พระองค์ ผที่นบถืออย่ำงสู ง เช่น พระพุทธเจ้ำ พระรำชำ เทวดำที่เป็ นใหญ่ เจ้ำนำยชั้นสู ง
         ู้ ั

องค์ เจ้ำนำย เทวดำ (คงจะตำแหน่งน้อยกว่ำเทวดำด้ำนบนนิดนึง) สิ่ งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้ำ
พระรำชำ หรื อเจ้ำนำย คำรำชำศัพท์ที่เกี่ยวกับอวัยวะภำยใน หรื อเครื่ องใช้สอย

รู ปภิกษุ สำมเณร นักพรตต่ำงๆ ชีปะขำว ชี

ตนยักษ์ ภูตผีปีศำจ นักสิ ทธิ์ เช่น ฤำษี วิทยำธร

คนมนุษย์สำมัญทัวไป
               ่

ตัวสัตว์เดียรัจฉำน สิ่ งของบำงอย่ำง เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ ม้ำนัง ตะปู ว่ำว ตุ๊กตำ
                                                           ่

ใบภำชนะทั้ งปวง ลูกไม้ ใบไม้
๒
เรื่องเรื่ องรำว ข้อควำม คดีต่ำงๆ

สิ่ ง,อันสิ่ งของ หรื อกิจกำรที่เป็ นสำมัญทัวไป
                                            ่

เลำปี่ ขลุ่ย

เชือกช้ำงบ้ำน (ช้ำงป่ ำจะเรี ยกเป็ นตัว หรื อ ถ้ำเยอะๆ จะเรี ยกเป็ นโขลง ค่ะ)

เรือนนำฬิกำ

เล่มสุ มด หนังสื อ เกวียน เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ ว ศัสตรำ (อำวุธ) ต่ำงๆ

เต้ ำแคน (เครื่ องดนตรี )



๒. ลักษณนำมบอกหมวดหมู่

กองทัพ ทหำร คนทำงำนรวมกัน ของที่รวมกันไว้ อิฐ ทรำย

                                ่
พวก,เหล่ำคน สัตว์ สิ่ งของที่อยูรวมกัน และมีลกษณะอย่ำงเดียวกัน
                                             ั

หมวดคน สัตว์ สิ่ งของ ที่แยกรวมกันไว้

หมู่คน สัตว์ สิ่ งของ ที่อยูรวมกันเป็ นกลุ่มๆ
                            ่

ฝูงสัตว์พวกเดียวกันที่ไปด้วยกันเป็ นพวกๆ หรื อคนมำกๆ ก็ใช้

           ่
คณะคนที่อยูในสำนักหนึ่ง หรื อในที่ทำกำรอย่ำงหนึ่ง หรื อในปกครองรวมกัน

นิกำยนักบวชศำสนำเดียวกันที่แยกออกเป็ นพวกๆ

สำรับ,ชุดคน หรื อสิ่ งของที่มีครบตำมอัตรำ

โรงผูคนที่เล่นมหรสพที่มีโรงเล่น เช่น ละคร โขน หนัง
     ้
๓
วงคนชุดหนึ่งที่ลอมวงกัน เช่น เตะตะกร้อ เล่นดนตรี เล่นเพลง สักวำ
                ้

ตับของที่ทำให้ติดกันเรี ยงกันเป็ นพืด เช่น พลู จำก ปลำย่ำง



๓ ลักษณนำมที่บอกสัณฐำน

วงของที่มีรูปเป็ นวง เช่น แหวน กำไล

หลังของที่มีรูปเป้ นหลังคำ เช่น เรื อน บ้ำน ตึก มุง กูบ ประทุน เก๋ ง บุษบก
                                                  ้

แผ่ นของที่มีรูปแบนๆ เช่น กระดำษ กระดำน กระเบื้อง อิฐ

ผืนของที่มีรูปแบนกว้ำงใหญ่ เช่น ผ้ำ เสื่ อ พรม

แถบของที่แบน บำง แคบ แต่ยำว เช่น ผ้ำแคบๆ แต่ยำว (คงจะประมำณ ผ้ำแถบ น่ะค่ะ)

บำนของที่เป็ นแผ่นมีกรอบ เช่น ประตู หน้ำต่ำง กระจกเงำ กรอบรู ป

ลูกของที่มีรูปทรงกลมๆ หรื อค่อนข้ำงกลม เช่น ลูกไม้ ลูกหิน หรื อ ไต้ที่ใช้จุดไฟ ก็ใช้ได้

แท่ งของทึบหนำมีรูปยำวๆ เช่น เหล็ก ตะกัว ดินสอ
                                       ่

ก้อนของที่มีรูปเป็ นก้อน เช่น ก้อนหิน ก้อนดิน อิฐแตกๆ ขนมปัง (ที่ไม่เป็ นแผ่น)

คันของที่มีส่วนสำหรับถือและลำก รู ปยำวๆ เช่น ฉัตร กระสุ น รถ ร่ ม ธนู หน้ำไม้ ช้อนส้อม ซอ
เบ็ด (ที่มีคน) แร้ว ไถ
            ั

ต้ นของที่เป็ นลำต้นเป็ นต้นไม้ เช่น ต้นไม้ เสำ ซุง

ลำของกลมยำวมีปล้องคัน เช่น ไม้ไผ่ อ้อย และเรื อ
                    ่

ดวงของที่เป็ นรอยกลมๆ เช่น รอยด่ำง ตรำต่ำงๆ ของที่มีแสง ตะวัน(ดวงอำทิตย์ เดือน (ดวง
จันทร์) ดำว ไฟ และจิตวิญญำณ
๔
กระบอกของกลมยำวแต่กลวง เช่น ปล้องไม้ไผ่ ข้ำวหลำม พลุ ปื น

เส้ นของที่เป็ นเส้นเล็กยำว เช่น เชือก ด้ำย ลวด

ปำกเครื่ องดักสัตว์ท่ีมีรูปเป็ นปำกกว้ำง เช่น แห อวน สวิง โพงพำง

ปื้ นของที่แบนกว้ำงเป็ นพืดยำว เช่น ตอกที่กว้ำง เลื่อย

ซี่ของเส้นยำว ตั้งเรี ยนกันเป็ นแถว เช่น ซี่กรง ซี่ฟัน



๔. ลักษณนำมบอกจำนวนและมำตรำ

คู่ของที่มีชุดละ ๒ สิ่ ง เช่น รองเท้ำ ถุงเท้ำ ช้อนกับส้อม เชิงเทียน แจกัน

โหลของที่รวมกัน ๑๒ สิ่ ง

กุลผำห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน
   ี ้

ชื่อมำตรำต่ ำงๆ เช่น ของที่ใช้วด ตวง ชัง เวลำ และเงิน เช่น โยชน์ - เส้นทำง / ชัง เฟื้ อง สลึง
                               ั       ่                                       ่
ตำลึงบำท หรื อชื่อสกุลเงินต่ำงๆ ทัวโลก
                                  ่

ชื่อภำชนะต่ ำงๆ เช่น ตุ่ม ไห



๕. ลักษณนำมบอกอำกำร

จีบของที่จีบ เช่น พลู

มวนของที่มวน เช่น บุหรี่

มัดของที่มด เช่น ฟื น
          ั

ม้ วนของที่มวนไว้ เช่น ยำสู บ ยำจืด กระดำษ (ที่มวนไว้)
            ้                                   ้
๕
กำ,ฟ่ อนของที่ทำเป็ นกำ ฟ่ อน เช่น หญ้ำ ผัก

กลุ่มของที่กำเป็ นกลุ่ม เช่น ด้ำย ไหมพรม


ในปัจจุบน คำลักษณนำมอำจจะมีเพิ่มขึ้นมำอีกหลำยคำ เนื่องจำกมีวทยำกำรและศัพท์ใหม่ๆ เกิด
        ั                                                   ิ
ขึ้นมำอีกมำกมำย ส่ วนมำกจะเป็ นลักษณนำมที่ซ้ ำชื่อ เช่น โครงกำร ๓ โครงกำร, แผนพัฒนำ
แผนที่ ๒

นอกจำกนี้คำลักษณนำมบำงคำ ผูใช้บำงคนก็มกจะใช้คำพูดที่ติดปำกอยู่ เช่น เรี ยกพระภิกษุ เป็ น
                           ้          ั
องค์ เรี ยกช้ำง เป็ น ตัว เรี ยกสิ่ งของต่ำงๆ เป็ น อัน ชิ้น กันเสี ยเป็ นส่ วนมำก
๖

วัตถุประสงค์
๑ เพื่อเป็ นกำรนำเสนอคำที่มีลกษณนำมในหมวด ก ซึ่งมีท้ งคำที่มกรู ้จกกันเป็ นอย่ำงดีและมักไม่
                             ั                       ั      ั ั
คุนหูคุนตำ
  ้ ้

๒ เพื่อเป็ นกำรอนุรักษ์วฒนธรรมทำงภำษำไทยด้วยกำรส่ งเสริ มให้รู้ถึงลักษณนำมที่ถกต้องของ
                        ั                                                     ู
คำที่มกใช้ผดกัน
      ั ิ

๓ เพื่อเป็ นกำรนำเสนอลักษณนำมและคำที่มีลกษณะนำมนั้นคู่กน โดยเปรี ยบให้เห็นภำพชัดเจน
                                        ั              ั
ในรู ปแบบตำรำง โดยลักษณนำมนั้นถูกต้องตำมที่รำชบัณฑิตยสถำนได้กำหนดไว้

๔ เพื่อแสดงควำมหลำกหลำยของลักษณนำมในภำษำไทย เป็ นกำรบ่งบอกถึงภำษำไทยเรำนั้นมี
ควำมสละสลวยและหลำกหลำยอีกด้วย

๕ เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณนำมที่ถูกต้องตำมรำชบัณฑิตยสถำนได้กำหนดไว้

๖ เพื่อให้คนไทยเห็นคุณค่ำของภำษำไทยและรักภำษำไทย ช่วยกันธำรงไว้

๗ เพื่อให้เห็นถึงลักษณะนำมหนึ่งคำมีคำระบุลกษณนำมได้หลำยคำ
                                          ั

๘ เพื่อให้เห็นว่ำลักษณนำมสำมำรถใช้คำเดียวกันซ้ ำกันได้
๗

ขอบเขตกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
๑ รวบรวมคำลักษณนำมเฉพำะใน “หมวด ก”

๒ ลักษณะนำมทุกคำเป็ นลักษณนำมที่รำชบัณฑิตยสถำน ได้พิจำรณำกำหนดขึ้น

๓ ตัวอย่ำงประโยคกำรใช้ลกษณนำมทัวไปที่ควรรู ้
                       ั       ่
๘

บทที่ ๒ เอกสำรทีเ่ กียวข้ องกับกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
                     ่
    ข้อมูลนี้นำมำจำก หนังสื อลักษณนำม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พิมพ์ครั้งที่ ๖ เป็ นหนังสื อที่
ประมวลลักษณนำมของคำนำมต่ำง ๆ ซึ่งคณะกรรมกำรกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรใช้
ภำษำไทย แห่งรำชบัณฑิตยสถำน ได้พิจำรณำกำหนดขึ้น เพื่อต้องกำรให้ผใช้ภำษำไทยทุกคนใช้
                                                               ู้
ลักษณนำมได้ถูกต้อง

๑. กำรเรี ยงลำดับคำ

     กำรเรี ยงลำดับคำ เรี ยงตำมลำดับคำแบบพจนำนุกรม คำที่มีควำมหมำยเหมือนกันจะเก็บไว้
ด้วยกันโดยใช้เครื่ องหมำยจุลภำคคันและเรี ยงสลับกันไปในตำแหน่งของหมวดอักษรนั้น ๆ โดย
                                 ่
แสดงลักษณนำมไว้ที่คอลัมน์ดำนขวำ เช่น
                          ้



กงกระสุ น                  - คัน

กงเกวียน, กงล้อ            - กง, วง



๒. คำนำมที่มีหลำยควำมหมำย



    ๒.๑ กำรกำหนดลักษณนำมของคำนำมที่มีหลำยควำมหมำย ถ้ำทุกควำมหมำยมีลกษณนำม
                                                                   ั
เหมือนกันจะไม่ให้คำนิยำมควำมหมำยไว้ แต่ถำมีลกษณนำมแตกต่ำงกันจะให้คำนิยำมสั้น ๆ ไว้
                                        ้ ั
ในเครื่ องหมำยวงเล็บหลังคำนำมนั้น ๆ เพื่อบอกให้ทรำบว่ำ เฉพำะควำมหมำยที่กำหนดไว้ใน
เครื่ องหมำยวงเล็บเท่ำนั้นที่มีลกษณนำมตำมที่กำหนด เช่น
                                ั
๙
ดำรำ                                          - ดวง

.....................................................................

ตอม่อ (เสำบ้ำน)                                 - ต้น

ตอม่อ (ฐำนรองรับสะพำน)                            - ตอม่อ



        ๒.๒ คำนำมที่มีควำมหมำยคล้ำยกันหรื อใกล้เคียงกัน แต่ใช้ลกษณนำมคำเดียวกันจะเก็บไว้
                                                               ั
ด้วยกันโดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เช่น
                                 ่



ศำล; ศำลเจ้ำ; ศำลเทพำรักษ์ - ศำล



        ๒.๓ คำนำมที่มีหลำยควำมหมำย แต่ใช้ลกษณนำมเหมือนกัน จะให้คำนิยำมสั้น ๆ ไว้ใน
                                          ั
เครื่ องหมำยวงเล็บหลังคำนำมนั้น ๆ โดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เช่น
                                                            ่



ชนัก (เครื่ องแทงสัตว์; เครื่ องผูกคอช้ำง)                              - เล่ม



๓. คำนำมที่มีลกษณนำมได้หลำยอย่ำง
              ั

 คำนำมบำงคำอำจมีลกษณนำมได้หลำยอย่ำง ในกำรกำหนดลักษณนำมแบ่งออกเป็ น ๓ แบบ คือ
                 ั
๑๐
                                    ั
        ๓.๑ กำหนดลักษณนำมที่นิยมใช้กนมำกไว้หน้ำสุ ดและลักษณนำมอื่น ๆ เรี ยงตำมกันไป
โดยใช้เครื่ องหมำยจุลภำคคัน เช่น
                          ่



ไข่                                      - ใบ, ฟอง, ลูก

.....................................................................

โคม (ชนิดต่ำง ๆ)                           - ดวง, ใบ, ลูก



        ๓.๒ กำหนดลักษณนำมแตกต่ำงกันตำมสภำพที่เป็ นอยู่ โดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เพื่อ
                                                                                 ่
          ่                                                      ็
บอกให้รู้วำลักษณ-นำมนั้น ๆ แม้จะเป็ นลักษณนำมของสิ่ งเดียวกันแต่กมีควำมแตกต่ำงกันตำม
สภำพ เช่น



ซิ่น, ผ้ำซิ่น                              - ผืน; ตัว, ถุง



                                            ั                ่
หมำยควำมว่ำ ซิ่น หรื อ ผ้ำซิ่น ถ้ำยังไม่ได้ตดเย็บลักษณนำมใช้วำ ผืน แต่ถำตัดเย็บแล้วใช้ลกษณ
                                                                       ้               ั
นำมว่ำ ตัว หรื อ ถุง



ปิ่ นโต                                  - ใบ, ลูก; เถำ, สำย



หมำยควำมว่ำ ปิ่ นโตแต่ละใบ ใช้ลกษณนำมว่ำ ใบ หรื อลูก แต่ถำนำมำเรี ยงซ้อนกันแล้วมีเครื่ อง
                               ั                         ้
ยึดรวมเข้ำด้วยกัน ใช้ลกษณนำมว่ำ เถำ หรื อ สำย
                      ั
๑๑
บำงครั้งอำจให้คำอธิบำยสั้น ๆ ไว้หลังลักษณนำมนั้น ๆ โดยใส่ คำอธิบำยไว้ในเครื่ องหมำย
วงเล็บ เช่น



ระนำด (เครื่ องปี่ พำทย์ชนิดหนึ่ง)      - ลูก (ลูกระนำด);ผืน (ลูกระนำดที่ร้อยเข้ำ

                                     เป็ นชุด); รำง



       ๓.๓ กำหนดลักษณนำมตำมขนำด ควำมกว้ำง ควำมยำว ปริ มำณ น้ ำหนัก หรื อรู ปแบบที่ใช้
            ่
งำน โดยระบุวำ “เรี ยกตำมลักษณะ” หรื อ “เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์” แล้วให้
                                                                       ั
ยกตัวอย่ำงลักษณนำม เช่น



ทอฟฟี่                  - เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์
                                                          ั

                         เช่น เม็ด อัน ห่อ แท่ง



หรื อกำหนดทั้งลักษณนำมทัวไปและลักษณะบรรจุภณฑ์ เช่น
                        ่                 ั



ด้ำย                   - เส้น; เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์ เช่น
                                                               ั

                        กลุ่ม เข็ด ไจ หลอด



ผม                    - เส้น; เรี ยกตำมลักษณะ เช่น กระจุก ปอย
๑๒
ฉลองพระเนตร                          - องค์

ฉลองพระบำท, รองพระบำท                                - ข้ำง, องค์; คู่



ในกรณี ที่คำนำมนั้นเป็ นทั้งคำรำชำศัพท์และคำนำมที่ใช้ได้ทวไป จะกำหนดลักษณนำมไว้ท้ ง ๒
                                                         ั่                       ั
อย่ำง เช่น



พระขรรค์                             - องค์; เล่ม (ถ้ำใช้ทวไป)
                                                          ั่



๔. คำนำมที่เป็ นคำรวม



        คำนำมที่เป็ นคำรวม เช่น ขนม ผลไม้ ดอกไม้ จะกำหนดลักษณนำมรวมไว้โดยไม่แยก
ออกเป็ นชนิดย่อยตำมนำมของสิ่ งเหล่ำนั้น แต่ถำลักษณนำมของชนิดย่อยมีเพิ่มขึ้นหรื อแตกต่ำง
                                            ้
ไปจำกที่กำหนดไว้ในลักษณนำมรวม ก็จะตั้งคำนำมของชนิดย่อยและกำหนดลักษณนำมที่
เพิ่มขึ้นหรื อแตกต่ำงออกไปจำกลักษณนำมรวมไว้ที่ลำดับคำนั้น ๆ เช่น



ขนม                               - เรี ยกตำมลักษณะ เช่น ชิ้น อัน แผ่น ตัว;

                                    เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ เช่น ถ้วย ชำม

ขนมครก                            - ฝำ; คู่

ขนมจีน                            - จับ, หัว

.....................................................................
๑๓
ไข่นกกระสำ (ขนม) - ลูก

.....................................................................

ซำลำเปำ                            - ใบ, ลูก



๕. คำนำมที่เป็ นคำรำชำศัพท์



       คำรำชำศัพท์ที่เก็บไว้ส่วนใหญ่เป็ นคำรำชำศัพท์ที่ไม่ได้เกิดจำกกำรเติมคำว่ำ “พระ” หน้ำ
คำนำม และมักจะใช้เฉพำะที่เกี่ยวข้องกับพระมหำกษัตริ ยเ์ ท่ำนั้น ส่ วนคำรำชำศัพท์ที่เกิดจำกกำร
เติมคำว่ำ “พระ” หน้ำคำนำมทัว ๆ ไป มีเก็บไว้เป็ นส่ วนน้อย ทั้งนี้เพรำะเห็นว่ำ คำนำมที่เป็ นคำ
                           ่
รำชำศัพท์ ส่ วนใหญ่จะมีลกษณนำมเป็ น“องค์” ยกเว้นที่กำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่น เช่น
                        ั



ฉลองพระเนตร                                       - องค์

ฉลองพระบำท, รองพระบำท                                - ข้ำง, องค์; คู่



ในกรณี ที่คำนำมนั้นเป็ นทั้งคำรำชำศัพท์และคำนำมที่ใช้ได้ทวไป จะกำหนดลักษณนำมไว้ท้ ง ๒
                                                         ั่                       ั
อย่ำง เช่น



พระขรรค์                                         - องค์; เล่ม (ถ้ำใช้ทวไป)
                                                                      ั่
๑๔

ลักษณะนำมทัวไปที่ควรรู้
           ่
๑. ลักษณะนำมบอกชนิด

พระองค์ ผที่นบถืออย่ำงสู ง เช่น พระพุทธเจ้ำ พระรำชำ เทวดำที่เป็ นใหญ่ เจ้ำนำยชั้นสู ง
         ู้ ั

องค์ เจ้ำนำย เทวดำ (คงจะตำแหน่งน้อยกว่ำเทวดำด้ำนบนนิดนึง) สิ่ งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้ำ
พระรำชำ หรื อเจ้ำนำย คำรำชำศัพท์ที่เกี่ยวกับอวัยวะภำยใน หรื อเครื่ องใช้สอย

รู ปภิกษุ สำมเณร นักพรตต่ำงๆ ชีปะขำว ชี

ตนยักษ์ ภูตผีปีศำจ นักสิ ทธิ์ เช่น ฤำษี วิทยำธร

คนมนุษย์สำมัญทัวไป
               ่

ตัวสัตว์เดียรัจฉำน สิ่ งของบำงอย่ำง เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ ม้ำนัง ตะปู ว่ำว ตุ๊กตำ
                                                           ่

ใบภำชนะทั้ งปวง ลูกไม้ ใบไม้

เรื่องเรื่ องรำว ข้อควำม คดีต่ำงๆ

สิ่ ง,อันสิ่ งของ หรื อกิจกำรที่เป็ นสำมัญทัวไป
                                            ่

เลำปี่ ขลุ่ย

เชือกช้ำงบ้ำน (ช้ำงป่ ำจะเรี ยกเป็ นตัว หรื อ ถ้ำเยอะๆ จะเรี ยกเป็ นโขลง ค่ะ)

เรือนนำฬิกำ

เล่มสุ มด หนังสื อ เกวียน เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ ว ศัสตรำ (อำวุธ) ต่ำงๆ

เต้ ำแคน (เครื่ องดนตรี )
๑๕
๒. ลักษณะนำมบอกหมวดหมู่

กองทัพ ทหำร คนทำงำนรวมกัน ของที่รวมกันไว้ อิฐ ทรำย

                                ่
พวก,เหล่ำคน สัตว์ สิ่ งของที่อยูรวมกัน และมีลกษณะอย่ำงเดียวกัน
                                             ั

หมวดคน สัตว์ สิ่ งของ ที่แยกรวมกันไว้

หมู่คน สัตว์ สิ่ งของ ที่อยูรวมกันเป็ นกลุ่มๆ
                            ่

ฝูงสัตว์พวกเดียวกันที่ไปด้วยกันเป็ นพวกๆ หรื อคนมำกๆ ก็ใช้

           ่
คณะคนที่อยูในสำนักหนึ่ง หรื อในที่ทำกำรอย่ำงหนึ่ง หรื อในปกครองรวมกัน

นิกำยนักบวชศำสนำเดียวกันที่แยกออกเป็ นพวกๆ

สำรับ,ชุดคน หรื อสิ่ งของที่มีครบตำมอัตรำ

โรงผูคนที่เล่นมหรสพที่มีโรงเล่น เช่น ละคร โขน หนัง
     ้

วงคนชุดหนึ่งที่ลอมวงกัน เช่น เตะตะกร้อ เล่นดนตรี เล่นเพลง สักวำ
                ้

ตับของที่ทำให้ติดกันเรี ยงกันเป็ นพืด เช่น พลู จำก ปลำย่ำง



๓ ลักษณะนำมที่บอกสัณฐำน

วงของที่มีรูปเป็ นวง เช่น แหวน กำไล

หลังของที่มีรูปเป้ นหลังคำ เช่น เรื อน บ้ำน ตึก มุง กูบ ประทุน เก๋ ง บุษบก
                                                  ้

แผ่ นของที่มีรูปแบนๆ เช่น กระดำษ กระดำน กระเบื้อง อิฐ

ผืนของที่มีรูปแบนกว้ำงใหญ่ เช่น ผ้ำ เสื่ อ พรม
๑๖
แถบของที่แบน บำง แคบ แต่ยำว เช่น ผ้ำแคบๆ แต่ยำว (คงจะประมำณ ผ้ำแถบ น่ะค่ะ)

บำนของที่เป็ นแผ่นมีกรอบ เช่น ประตู หน้ำต่ำง กระจกเงำ กรอบรู ป

ลูกของที่มีรูปทรงกลมๆ หรื อค่อนข้ำงกลม เช่น ลูกไม้ ลูกหิน หรื อ ไต้ที่ใช้จุดไฟ ก็ใช้ได้

แท่ งของทึบหนำมีรูปยำวๆ เช่น เหล็ก ตะกัว ดินสอ
                                       ่

ก้อนของที่มีรูปเป็ นก้อน เช่น ก้อนหิน ก้อนดิน อิฐแตกๆ ขนมปัง (ที่ไม่เป็ นแผ่น)

คันของที่มีส่วนสำหรับถือและลำก รู ปยำวๆ เช่น ฉัตร กระสุ น รถ ร่ ม ธนู หน้ำไม้ ช้อนส้อม ซอ
เบ็ด (ที่มีคน) แร้ว ไถ
            ั

ต้ นของที่เป็ นลำต้นเป็ นต้นไม้ เช่น ต้นไม้ เสำ ซุง

ลำของกลมยำวมีปล้องคัน เช่น ไม้ไผ่ อ้อย และเรื อ
                    ่

ดวงของที่เป็ นรอยกลมๆ เช่น รอยด่ำง ตรำต่ำงๆ ของที่มีแสง ตะวัน(ดวงอำทิตย์ เดือน (ดวง
จันทร์) ดำว ไฟ และจิตวิญญำณ

กระบอกของกลมยำวแต่กลวง เช่น ปล้องไม้ไผ่ ข้ำวหลำม พลุ ปื น

เส้ นของที่เป็ นเส้นเล็กยำว เช่น เชือก ด้ำย ลวด

ปำกเครื่ องดักสัตว์ที่มีรูปเป็ นปำกกว้ำง เช่น แห อวน สวิง โพงพำง

ปื้ นของที่แบนกว้ำงเป็ นพืดยำว เช่น ตอกที่กว้ำง เลื่อย

ซี่ของเส้นยำว ตั้งเรี ยนกันเป็ นแถว เช่น ซี่กรง ซี่ฟัน
๑๗
๔. ลักษณะนำมบอกจำนวนและมำตรำ

คู่ของที่มีชุดละ ๒ สิ่ ง เช่น รองเท้ำ ถุงเท้ำ ช้อนกับส้อม เชิงเทียน แจกัน

โหลของที่รวมกัน ๑๒ สิ่ ง

กุลผำห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน
   ี ้

ชื่อมำตรำต่ ำงๆ เช่น ของที่ใช้วด ตวง ชัง เวลำ และเงิน เช่น โยชน์ - เส้นทำง / ชัง เฟื้ อง สลึง
                               ั       ่                                       ่
ตำลึงบำท หรื อชื่อสกุลเงินต่ำงๆ ทัวโลก
                                  ่

ชื่อภำชนะต่ ำงๆ เช่น ตุ่ม ไห



๕. ลักษณะนำมบอกอำกำร

จีบของที่จีบ เช่น พลู

มวนของที่มวน เช่น บุหรี่

มัดของที่มด เช่น ฟื น
          ั

ม้ วนของที่มวนไว้ เช่น ยำสู บ ยำจืด กระดำษ (ที่มวนไว้)
            ้                                   ้

กำ,ฟ่ อนของที่ทำเป็ นกำ ฟ่ อน เช่น หญ้ำ ผัก

กลุ่มของที่กำเป็ นกลุ่ม เช่น ด้ำย ไหมพรม
๑๘

                       บทที่ ๓ กำรดำเนินกำร
ขั้นตอนกำรดำเนิน
๑. ผูศึกษำนำเสนอหัวข้อโครงงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตใน
     ้
กำรทำโครงงำน

๒. ผูศึกษำวำงแผนวิเครำะห์ตำมหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงำน
     ้

๓. ผูศกษำค้นคว้ำจำกหนังสื อต่ำงๆดังนี้หนังสื อเรี ยน หนังสื อพิมพ์และสื่ อต่ำงๆและจำก
     ้ึ
อินเตอร์เน็ต

๔. ศึกษำและเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นขั้นตอนของกำรเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงำน
เพื่อมำวิเครำะห์และสรุ ปเนื้อหำที่สำคัญที่จะนำมำจัดทำโครงงำน

๕. นำเสนอผลงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำเพื่อรำยงำนผลกำรดำเนินงำน

๖. จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษำและรำยงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำ
๑๙

วิธีกำรดำเนินงำน
๑ วิเครำะห์หำหัวข้อที่จะทำในโครงงำน อย่ำงกว้ำงขวำงครอบคลุมเนื้อหำที่จะทำ

๒ เจำะลึกประเด็นหำหัวข้อที่จะทำหนึ่งหัวข้อ

๓ เขียนวัตถุประสงค์และหัวข้อนำเสนอครู ประจำวิชำ

๔ ครู ประจำวิชำตรวจสอบเพื่อแก้ไข

๕ หำข้อมูลในหัวข้อที่จะทำซึ่งในที่น้ ีคือกำรเขียนอ้ำงอิงในบทควำมทำงวิชำกำรทั้งจำกหนังสื อ
หลักภำษำชั้นมัธยมศึกษำ ปี ที่ ๖ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๕ และสื่ อทำงอินเทอร์เน็ต อำทิเช่น
เว็บไซต์ทรู ปลูกปัญญำ เว็บไซต์หลักของกระทรวงศึกษำธิกำร ทั้งนี้ขอมูลทั้งหมดที่ได้จำกสื่ อ
                                                               ้
อินเทอร์เน็ต จึงมีควำมทันสมัยมำกกว่ำจำกหนังสื อเรี ยน

๖ เรี ยบเรี ยงข้อมูลต่ำงๆให้ตรงกับหัวข้อต่ำงๆในโครงงำนในแต่ละบท

 ได้แก่ บทที่ ๑ บทนำ – ควำมเป็ นมำ

                     -วัตถุประสงค์
                     -ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ
                     -นิยำมคำเฉพำะ


บทที่ ๒ เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำค้นคว้ำ
บทที่ ๓ กำรดำเนินงำน – ขั้นตอนกำรดำเนินงำน
                       -วิธีกำรดำเนินงำน
บทที่ ๔ ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ ( เนื้อหำ )
บทที่ ๕ ปัญหำ อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
๗ นำเสนอข้อมูลที่ได้เรี ยบเรี ยงเอำไว้แล้วแก่ครู ประจำวิชำเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง
๘ จัดทำรู ปแบบของเอกสำรโครงงำนให้สำเร็จรู ป
๒๐

               บทที่ ๔ ผลกำรศึกษำค้ นคว้ ำ

ก๊ก                                                ก๊ก

กง (ไร่ ที่ถางป่ าเป็ นหย่ อม ๆ ตามเนือที่และกัน
                                      ้        ้
                                                   กง
เป็ นขอบเขตไว้ เพื่อปลูกพืชล้ มลุก)

กงกระสุ น (เครื่ องยิงมีคัน ใช้ สายโก่ งยิงด้ วย
                                                   คัน
ลูกดินปั้ น)

กงเกวียน, กงล้อ                                    กง, วง

กงข้ำง, กงค้ำง                                     ตัว, อัน

กงจักร                                             กง, วง

กงฉำก                                              อัน

กงธนู                                              คัน

กงพัด (กงพัดเครื่ องระหัด, กงพัดเครื่ องสี
                                                   อัน
ฝั ด, กงพัดสี ลม)

กงพัด (ไม้ เหลี่ยมสอดในรู ซึ่งเจาะที่โคนเสา
                                                   ตัว
เรื อน)
๒๑

กงพัด (สาหรั บพัดด้ าย)                  อัน

กงเรื อ                                  กง, อัน

กงแร้ว                                   คัน

กงล้อ, กงเกวียน                          กง, วง

กงวำน                                    ตัว, อัน

กฎหมำย                                   ฉบับ

กติกำ                                    ข้อ

กบ (ชนิดต่ าง ๆ สาหรั บไสไม้ )           ตัว

กบ (เหลาดินสอ)                           ตัว, อัน

กบำล, กระบำล (ดินเหนียวผสมแกลบ ใช้ ปิด
                                         แผ่น
ปากจอกของพิมพ์ หล่ อพระ)

กรง                                      กรง, ลูก, ใบ

กรงขัง                                   กรง

กรณฑ์ (เครื่ องหมายคณิ ตศาสตร์ )         ตัว
๒๒

กรณฑ์, กรัณฑ์, กรัณฑก, (หม้ อนา)
                              ้               ใบ

กรด (สารเคมี)                                 ตัว

กรบ (เครื่ องแทงปลา)                          อัน

กรม (หน่ วยงาน)                               กรม

กรมธรรม์                                      ฉบับ

กรรไกร, กรรไตร, ตะไกร                         เล่ม

กรรชิง, กระฉิ่ง, กระชิง                       คัน

กรรเชียง, กระเชียง                            เล่ม; คู่

กรรเชียงปู, กระเชียงปู                        ข้ำง, อัน; คู่

กรรไตร, กรรไกร, ตะไกร                         เล่ม

กรรบิด                                        องค์

กรรภิรมย์, กรรม์ภิรมย์, กันพิรุณ, กันภิรมย์   องค์

กรวด                                          ก้อน, เม็ด

กรวด, จรวด (ดอกไม้ เพลิง)                     ดอก, ตัว
๒๓

กรวย                                           กรวย, อัน

กรวยคู่สวด                                     ที่

กรวยอุปัชฌำย์                                  ที่

กร้อ, ตะกร้อ (ใช้ วิดนาเรื อ)
                      ้                        ใบ

กรอบ (การพิมพ์ )                               กรอบ

กรอบเช็ดหน้ำ, เช็ดหน้ำ, วงกบ                   วง

กรอบพระ                                        กรอบ, อัน

กรอบรู ป                                       กรอบ, อัน

กรอบหน้ำ, กะบังหน้ำ                            กรอบ, อัน

กระคน, ประโคน, รัดประคน, รัตคน (เครื่ อง
                                               สำย, เส้น
ผูกสัปคับโยงมาล่ ามรอบอกช้ า งทาด้ วยเชื อก)

กระจก                                          แผ่น

กระจกเงำ                                       บำน

กระจัง (ลาย)                                   ตัว; แถว, แผ่น
๒๔

กระจับ (ขวำก)                                       อัน

กระจับ (เครื่ องแขวนเหนือเปลเด็ก)                   ตัว; พวง

กระจับ (เครื่ องสวมข้ อตีนม้ า)                     วง; คู่

กระจับ (นักมวย)                                     อัน

กระจับ (ฝั กของไม้ นาชนิดหนึ่ง)
                    ้                               ตัว, ฝัก

กระจับ (สาหรั บยันคางศพโกศ)                         อัน

กระจับปิ้ ง, จะปิ้ ง, จับปิ้ ง, ตะปิ้ ง, ตับปิ้ ง   แผ่น, อัน

กระจับปี่ (เครื่ องดนตรี )                          คัน

กระจ่ำ, จวัก, จ่ำ, ตวัก                             เล่ม, อัน

กระจำด                                              ใบ, ลูก

กระจำน (แผ่ นตะกัวทาเป็ นรู ปปลาตัว
                 ่
                                                    แผ่น
เล็ก ๆ ติดเหนือเบ็ด)

กระจุบ, กระจุ๊บ                                     อัน

กระจู,้ จู,้ อีจู ้                                 ใบ, ลูก
๒๕

กระแจะ (ปลอกเหล็กสาหรั บตกขาช้ างหรื อ
                                            วง; คู่
ล่ ามช้ างดุ)

กระแจะ (ผงเครื่ องหอมต่ าง ๆ ที่ประสมกัน)   ก้อน, เม็ด

กระโจม                                      หลัง

กระโจมปื น                                  กระโจม

กระโจมไฟ, ประภำคำร, เรื อนตะเกียง           หลัง

กระฉิ่ง, กรรชิง, กระชิง                     คัน

กระชอน                                      อัน

กระชัง (เครื่ องขังปลา)                     ใบ, ลูก

กระชัง (บังสาดที่ ปิดเปิ ดได้ )             แผ่น

กระชำย                                      แง่ง; หัว

กระชิง, กรรชิง, กระฉิ่ง                     คัน

กระชุ, กระชุก (ภาชนะสาหรั บบรรจุของเช่ น
                                            ใบ, ลูก
นุ่นหรื อถ่ าน)
๒๖

กระชุก, สำมชุก (ภาชนะสาหรั บสอดลงใน
                                               ใบ, ลูก
เกวียน)

กระเชอ                                         ใบ, ลูก

กระเช้ำ                                        ใบ, ลูก

กระเช้ำสวรรค์, ชิงช้ำสวรรค์                    เครื่ อง

กระเชียง, กรรเชียง                             เล่ม; คู่

กระเชียงปู, กรรเชียงปู                         ข้ำง, อัน; คู่

กระแชง (เครื่ องจักสานที่ มีลกษณะเป็ นแผ่ น)
                             ั                 ผืน

กระด้ง                                         ใบ, ลูก

กระดวง, กรำดวง                                 อัน

กระดอง                                         กระดอง, ฝำ

กระดอง
                                               คัน
หำย, ขอฉำย, คันฉำย, ดอง, ดองฉำย, ดองหำย

กระดำน, ไม้กระดำน                              แผ่น
๒๗

กระดำนชนวน                     แผ่น

กระดำนดำ                       แผ่น

กระดำนถีบ                      แผ่น

กระดำนพิง                      แผ่น

กระดำนไฟ                       แผ่น; แคร่ (ถ้ ามีลกษณะเป็ นแคร่ )
                                                  ั

กระดำนลื่น, ไม้ลื่น            ชุด

กระดำนเลียบ                    แผ่น

กระดำนหก (เครื่ องดักสัตว์ )   แผ่น

กระดำนหก, ไม้กระดก             ชุด

                               เรี ยกตำมลักษณะหรื อ
กระดำษ (ชนิดต่ าง ๆ)           จำนวน เช่น แผ่น
                               ม้วน พับ ปึ ก ห่อ รี ม

กระดิ่ง                        ใบ, ลูก

กระดึง, โปง                    ใบ, ลูก
๒๘

กระดุม, ดุม, ลูกกระดุม, ลูกดุม    เม็ด; สำรับ

กระดูก                            เรี ยกตำมลักษณะเช่น ท่อน ชิ้น ซี่

กระดูกกะโหลก (เป็ นชิ ้น ๆ)       ชิ้น

กระดูกขมับ                        ชิ้น

กระดูกข้อเท้ำ                     ชิ้น

กระดูกข้อมือ                      ชิ้น

กระดูกขำ                          ท่อน

กระดูกแขน                         ท่อน

กระดูกงู (โครงสร้ างของลาเรื อ)   ท่อน, อัน

กระดูกเชิงกรำน, เชิงกรำน          ชิ้น

กระดูกซี่โครง, ซี่โครง            ซี่

กระดูกนิ้วเท้ำ                    ชิ้น

กระดูกนิ้วมือ                     ชิ้น

กระดูกฝ่ ำเท้ำ                    ชิ้น
๒๙

กระดูกฝ่ ำมือ                                ชิ้น

กระดูกสะบัก                                  ชิ้น

กระดูกสะบ้ำ                                  ชิ้น

กระดูกสันหลัง                                ชิ้น; ชุด (รวมกันทั้งหมด)

กระดูกหน้ำอก                                 ชิ้น

กระดูกไหปลำร้ำ                               ชิ้น, ท่อน

กระเดื่อง (เครื่ องจักรมีนาฬิกาเป็ นต้ น)    ชิ้น

กระได, บันได                                 อัน; แห่ง

กระไดแก้ว, บันไดแก้ว                         ตัว

กระไดลิง, บันไดลิง                           อัน, สำย

กระต๊อบ                                      หลัง

กระต่ำย (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว)      ตัว

กระต่ำยจีน (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว)   แผ่น, อัน

กระต่ำยมือ (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว)   ตัว
๓๐

กระติก                                  ใบ, ลูก

กระติบข้ำว                              ใบ, ลูก

กระถำง                                  ใบ, ลูก

กระโถน (ชนิดต่ าง ๆ)                    ใบ, ลูก

กระทง                                   ใบ, ลูก

กระทง (กฎหมาย)                          กระทง

กระทง (ผ้ าท่ อนหนึ่ง ๆ ของจีวร)        กระทง

กระทง, กระทงนำ (ตอนหนึ่ง ๆของนา)        กระทง

กระทงเพชร (ไม้ ติดขวางรองแคร่ เกวียน)   กระทง

กระทงเรื อ                              กระทง

กระทรวง                                 กระทรวง

กระท่อม                                 หลัง

กระทะ                                   ใบ, ลูก

กระทำย                                  ใบ, ลูก
๓๑

กระทู ้ (ซอไม้ ไผ่ ที่เอามาปั กเป็ นเสารั้ ว)      ต้น

กระทู ้ (หัวข้ อหรื อข้ อความที่ตั้งให้ อธิ บาย)   กระทู ้

กระเทียม                                           กลีบ; หัว; จุก;หมวด

กระแทะ, ระแทะ, รันแทะ                              เล่ม

กระบวย                                             อัน

กระบอก                                             กระบอก

กระบอกตำ                                           ข้ำง

กระบอกน้ ำ (ภาชนะใส่ นาดื่มรู ปคล้ าย
                      ้
                                                   ใบ
กระบอก)

กระบอกพลุ                                          กระบอก

กระบอกเพลำ                                         กระบอก

กระบอกสู บ                                         กระบอก

กระบอง, ตะบอง                                      อัน, เล่ม

กระบองเพชร, ตะบองเพชร                              เล่ม
๓๒

กระบะ                                           ใบ, ลูก

กระบำย                                          ใบ, ลูก

กระบำล, กบำล (ดินเหนียวผสมแกลบ ใช้ ปิด
                                                แผ่น
ปากจอกของพิมพ์ หล่ อพระ)

กระบิ                                           กระบิ

กระบิ้ง, ตะบิ้ง, บิ้ง (นาที่เป็ นกระทงเล็ก ๆ)   กระบิ้ง, ตะบิ้ง, บิ้ง

กระบี่                                          เล่ม

กระบุง                                          ใบ, ลูก

กระเบื้อง                                       แผ่น

กระป๋ อง                                        ใบ, ลูก

กระปุก                                          ใบ, ลูก

กระเป๋ ำ                                        ใบ, ลูก

กระเป๋ ำ (ติดอยู่กบตัวเสื ้อหรื อกางเกง)
                  ั                             กระเป๋ ำ

กระโปก (เครื่ องยึดเพลาเกวียน)                  ลูก
๓๓

กระโปรง                                        ตัว

กระโปรง (ภาชนะ)                                ใบ, ลูก

กระโปรงรถ                                      แผ่น, ฝำ

กระพรวน, พรวน, ลูกกระพรวน, ลูกพรวน             ลูก

กระพอง, กำพอง (ตัวไม้ อันบนที่เป็ นราว
                                               ตัว, อัน
ลูกกรงเรื อนหรื อเกวียน)

กระพ้อม, พ้อม                                  ใบ, ลูก

กระเพำะ                                        กระเพำะ

กระวิน (ห่ วงที่เกี่ยวกันสาหรั บโยงสัปคับ
                                               ห่วง
ช้ าง, ห่ วงติดกับบังเหี ยนเหล็กผ่ าปากม้ า)

กระสวน                                         แบบ

กระสวย                                         อัน

กระสอบ                                         ใบ, ลูก

กระสื อ                                        ตัว, ตน
๓๔

กระสุ น, กระสุ นปื น, ลูกกระสุ น   ลูก, นัด, เม็ด

กระหัง, กระหำง                     ตัว, ตน

กระแหล่ง                           ใบ, ลูก

กระออม, กะละออม, กะออม,            ใบ, ลูก

กรัณฑ์, กรณฑ์, กรัณฑก,             ใบ (หม้ อนา)
                                             ้

กรับ                               คู่

กรับพวง                            พวง

กรำด (เครื่ องขูดไคลม้ า)          อัน

กรำด (เครื่ องมือจับสัตว์ นา)
                           ้       อัน

กรำด (ไม้ กวาด)                    ด้ำม, อัน

กรำดวง, กระดวง                     อัน

กรำบเรื อ                          กรำบ

กรำฟ                               เรี ยกตำมลักษณะ เช่น แผ่น รู ป ชุด

กริ่ ง                             อัน
๓๕

กริ ช                                เล่ม

กรี (ส่ วนของหัวกุ้ง)                อัน

กรุ                                  กรุ

กลด                                  คัน

กลด, กลศ (ภาชนะใส่ นาเทพมนตร์ )
                    ้                ใบ, ลูก

กลอง (ชนิดต่ าง ๆ)                   ใบ, ลูก

กล่อง                                กล่อง, ใบ, ลูก

กล้อง (ประเภทต่ าง ๆ)                กล้อง

กล้องถ่ำยรู ป                        กล้อง

กล่องไม้ขีดไฟ                        กล่อง

กล้องยำสู บ                          กล้อง

กล่องเสี ยง                          กล่อง

กลอน (คาประพันธ์ )                   คำ; บท

กลอน (เครื่ องสลักประตูหน้ าต่ าง)   ตัว
๓๖

กลอน (ไม้ ขดประตูหน้ าต่ าง)
           ั                                     อัน

กลอน (ไม้ ที่พาดบนแปสาหรั บวางเครื่ องมุง
                                                 ตัว, อัน
หลังคา)

กลอย                                             หัว

กะทอ (ภาชนะ)                                     ใบ, ลูก

กะบัง, กะบังรังเฝื อก (เครื่ องมือจับสัตว์ นา)
                                            ้    กะบัง

กะบังลม                                          แผ่น

กะบังหน้ำ, กรอบหน้ำ                              กรอบ, อัน

กะแปะ, อีแปะ (เงินปลีกโบราณ)                     อัน

กะพล้อ, กะพ้อ (กระบอกตักนา)
                         ้                       กระบอก

กะละปังหำ, กัลปั งหำ                             กิ่ง, ต้น

กะละมัง                                          ใบ, ลูก

กะละออม, กระออม, กะออม, กัลออม                   ใบ, ลูก

กะลัน, ลัน                                       ลูก
๓๗

กะลำ                                          ซีก, ใบ

กะโล่ (ภาชนะ)                                 ใบ, ลูก

กะวะ (เครื่ องมือจับสัตว์ นาคล้ ายสวิง)
                           ้                  ปำก

กะโหลก (สาหรั บตักนา)
                   ้                          ใบ, ลูก

กะโหลกศีรษะ, หัวกะโหลก                        กะโหลก, หัว

กะออม, กระออม, กะละออม, กัลออม                ใบ, ลูก

กะแอ (เครื่ องบังแดด)                         คัน

กังสดำล                                       ใบ, แผ่น

กังหัน, จังหัน                                ตัว

กังหัน (ดอกไม้ ไฟ)                            ต้น

กัญญำ (เครื่ องบังแดดรู ปหลังคาโค้ ง)         หลัง

กันชน                                         อัน

กันชีพ                                        สำย

กันพิรุณ, กันภิรมย์, กรรภิรมย์, กรรม์ภิรมย์   องค์
๓๘

กันสำด, บังสำด                           ด้ำน, อัน

กั้นหยัน
       ่                                 เล่ม

กับ (เครื่ องดักสัตว์ )                  อัน

กับข้ำว                                  อย่ำง, สิ่ ง; เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ

กับระเบิด                                เครื่ อง, ชุด, อัน

กัลปพฤกษ์                                ต้น; ลูก; ชิ้น

กัลปังหำ, กะละปังหำ                      กิ่ง, ต้น

กัลออม, กระออม, กะละออม, กะออม           ใบ, ลูก

กำก, ภำพกำก (ภาพเขียนที่เป็ นตัวประกอบ
                                         ตัว, ภำพ
ในเรื่ อง)

กำกะเยีย                                 ชุด, สำรับ

กำงเกง                                   ตัว

ก้ำงปลำ                                  ก้ำง, อัน

กำจับหลัก                                อัน
๓๙

ก้ำนตอง (ไม้ ขนาบข้ างเรื อรู ปกลม ๆ คล้ าย
                                              อัน
ทางกล้ วย)

กำน้ ำ                                        ใบ, ลูก

กำบ (เปลือกหุ้มชั้นนอกของผลหรื อดอกและ
                                              กำบ
ของต้ นไม้ )

กำบพรหมศร                                     ตัว

กำบพรหมสิ งห์                                 ตัว

กำบู (กระเบืองมุงหลังคา)
            ้                                 แผ่น

กำพย์                                         บท

ก้ำม                                          ก้ำม

กำร์ตูน                                       ตัว; เรื่ อง

กำแล็กซี                                      กำแล็กซี

กำเวียน                                       ชุด

กำสำวพัสตร์                                   ผืน
๔๐

กำ (ส่ วนของล้ อรถหรื อล้ อเกวียน)            ซี่

กำปั่น (หี บ)                                 ลูก, ใบ

กำพวด, ลินปี่ (ส่ วนประกอบของปี่ ซึ่ งทาให้
         ้
เกิดเสี ยงเวลาเป่ า)                          อัน



กำพอง, กระพอง (ตัวไม้ อันบนที่เป็ นราว
ลูกกรงเรื อนหรื อเกวียน)                      ตัว, อัน

กำพู (ไม้ กลึงสาหรั บเป็ นที่รวมซี่ ฉัตร)     อัน

กำไล (ชนิดต่ าง ๆ)                            ขอน, วง

กินนร                                         ตน, ตัว

กินรี                                         ตน, ตัว

กิ๊บ                                          อัน

กี่ (เครื่ องทอผ้ า)                          เครื่ อง, หลัง

กี่ (เครื่ องเย็บสมุด)                        อัน
๔๑

กี่ (ที่ตั้งพระกลดหรื อพระแสง)                 อัน

กี๋ (ฐานสาหรั บรองสิ่ งของหรื อรองนั่ง)        ตัว

กี๋ (ภาชนะสาหรั บรองเครื่ องชา)                ใบ

กีตำร์                                         ตัว

กีบ (เล็บเท้ าสัตว์ )                          กีบ

กี๋รำบ, กี๋หย่ง (ฐานสาหรั บรองแจกันหรื อ
                                               ตัว, อัน
กระถางต้ นไม้ )

กุญแจ (เครื่ องมือ)                            อัน, ตัว; ชุด

กุญแจ, ประแจ                                   ดอก, ลูก; แม่, ตัว (แม่ กญแจ); ชุด
                                                                        ุ

กุญแจประจำหลัก, กุญแจเสี ยง (เครื่ องหมายที่
                                               ตัว
ใช้ ในการบันทึกเสี ยงดนตรี )

กุญแจมือ                                       คู่

กุญแจลูกบิด                                    ชุด

กุญแจเสี ยง, กุญแจประจำหลัก (เครื่ องหมายที่
                                               ตัว
ใช้ ในการบันทึกเสี ยงดนตรี )
๔๒

กุฎี, กุฏิ (เรื อนหรื อตึกสาหรั บพระภิกษุ
                                                หลัง
สามเณรอยู่)

กุฏิ (ที่บรรจุศพ)
                                                หลัง



กุฏิ (เรื อนเล็ก ๆ ที่อยู่ในกรงทาให้ นกขุนทอง
อยู่)                                           หลัง

กุนเชียง                                        ข้ำง; คู่

กุบ (ทองรี ดเป็ นแผ่ นตัดเป็ นชิ ้นเล็ก ๆ)      ตัว

กุบ (หมวก)                                      ใบ, ลูก

กุบ, ฝักกุบ (ซองหนังใช้ ในการตีทองคาเปลว) กุบ; ฝัก

กูบ                                             หลัง

เก๋ ง (เครื่ องบังมีฝาและหลังคาแบน)             หลัง

เก๋ ง (เรื อนตึกมีรูปหลังคาแบบศาลเจ้ าจีน)      หลัง

เกย                                             เกย
๔๓

เกรำะ (เครื่ องสวมใส่ สาหรั บป้ องกันอาวุธ)      ตัว; ชุด, สำรับ

เกรำะ (เครื่ องสัญญาณ)                           อัน

เกริ นบันไดนำค (เครื่ องกว้ านเพื่อยกพระโกศ
                                                 ชุด, สำรับ
หรื อพระบรมโกศ)

เกริ น (ส่ วนชานที่ต่อออกมา ๒ ข้ างบุษบก)        อัน

เกรี ยง                                          อัน

เกล็ด                                            เกล็ด

เกลียว (เชื อก)                                  เกลียว

เกลียว (ด้ ายหรื อไหมที่ฟั่นเป็ นเกลียวสาหรั บ
                                                 เส้น; เรี ยกตำมหน่วยวัดควำมยำว
ติดม่ านหรื อหมอน)

เกลือป่ น                                        เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ เช่น ถุง

                                                 เม็ด; เรี ยกตำมลักษณะบรรจุ
เกลือเม็ด
                                                 ภัณฑ์ เช่น ถุง

เกวียน                                           เล่ม

เกำทัณฑ์                                         คัน
๔๔

เก้ำอี้ (ชนิดต่ าง ๆ)     ตัว

เกำะ                      เกำะ

เกีย, เกียร์              ชุด

เกี้ยมอี๋                 ตัว

เกี้ยว (คานหามมีหลังคา)   หลัง

เกี๊ยว                    ตัว

เกี้ยวประทีป              ซุม
                            ้

เกี๊ยะ                    ข้ำง; คู่

เกือก                     ข้ำง; คู่

เกือกม้ำ                  อัน

แก่ง                      แก่ง

แก๊ง                      แก๊ง

แกงได                     ตัว

แกงแนง                    อัน
๔๕

แกน                                        แกน

แก้ม (คน, สัตว์ , มะม่ วง)                 แก้ม

แกระ (เครื่ องมือสาหรั บตัดรวงข้ าว)       อัน

แกละ (ผม)                                  แกละ

แก้ว (ใส่ นา)
           ้                               ใบ

โกก, คอม, ตะโกก, ตะโหงก (ไม้ รูปโค้ งที่
                                           อัน
พาดคอวัวหรื อควายสาหรั บลากเลื่อน)

โกดัง                                      หลัง, โรง

โกรกกรำก (กระบอกไม้ ไผ่ สาหรั บทอดดวด) กระบอก

โกรกกรำก (เครื่ องมือสาหรั บเจาะไม้ )      ตัว, อัน

โกร่ ง (เกราะยาว)                          อัน

โกร่ ง (เครื่ องบดยา)                      ใบ

โกลน (ไม้ ท่อนกลม)                         ท่อน

โกลน (เครื่ องอานม้ า)                     ข้ำง; คู่
๔๖

โกศ (ที่ใส่ ศพนั่ง)      โกศ, ลูก

โกศ (สาหรั บบรรจุอัฐิ)   ใบ, ลูก
๔๗

            บทที่ ๕ ปัญหำ อุปสรรค ข้ อเสนอแนะ
ปัญหำ อุปสรรค
๑ ปัญหำที่เกิดจำกกำรสื บค้นข้อมูลของอินเทอร์เน็ตเป็ นกำรยำกที่จะหำข้อมูลที่ถกต้อง และ
                                                                            ู
ทันสมัยเพรำะต้องมีกำรตรวจสอบแหล่งที่มำที่นำเสนอบนเว็ปไซต์น้ นๆ
                                                            ั

๒ ปัญหำที่เกิดจำกควำมจำกัดของข้อมูล ซึ่งข้อมูลจำกหัวข้อที่หำ คือ กำรเขียนอ้ำงอิงใน
บทควำมทำงวิชำกำร

๓ ต้องใช้ขอมูลจำกหนังสื อเป็ นส่ วนประกอบมำกจึงต้องค้นหำที่หองสมุดซึ่งตัวผูคนหำเองไม่มี
          ้                                                 ้              ้้
เวลำเท่ำที่ตองกำร
            ้



ข้ อเสนอแนะ
๑ ควรมีกำรเพิมเนื้อหำตำมเว็ปไซต์ของกระทรวงศึกษำธิกำรให้เพิมมำกขึ้น เพื่อเป็ นกำรส่ งเสริ ม
             ่                                           ่
ให้มีขอมูลควำมรู ้ทำงวิชำกำรเพิมมมำกขึ้นและสะดวกต่อกำรค้นหำ เรี ยนรู ้ ทั้งต่อตัวผูคนหำเอง
      ้                        ่                                                   ้้
และผูอื่น
     ้

๒ ควรมีกำรจัดทำเป็ นกลุ่ม เพื่อให้ได้ขอมูลที่สมบูรณ์ยงขึ้นในกำรทำโครงงำนภำษำไทยนี้
                                      ้              ิ่

๓ ควรมีกำรจัดเผยแพร่ ผลงำนตำมนิทรรศกำรวันพิเศษต่ำงๆ
๔๘

                                 บรรณำนุกรม

          รำชบัณฑิตยสถำน,หนังสื อลักษณนำม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน,พิมพ์ครั้งที่ ๖,
กรุ งเทพ, ๒๕๔๔ ,(ม.ป.พ.),๘๔๓



          ฝ่ ำยตำรำวิชำกำร,ลักษณนำมฉบับนักเรียนนักศึกษำ,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ ,
แพนด้ำเลิร์นนิ่งบุ๊ค , ๑๙๒



          ประกำยพรึ ก จักรพันธุ์ ,ม.ล. , จับคู่รู้ ลกษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ ,
                                                    ั
สำนักพิมพ์พำส แอท คิดส์ ,๓๒



          เอกรัตน์ อุดมพร, ลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ ,พ.ศ.พัฒนำ,๓๔๘



          กุดจี่ , ชุดเสริมทักษะทำงภำษำเรื่องคำลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๔ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ ,
สำนักพิมพ์เบสฟอร์คิดส์ ,๒๔



           ฝ่ ำยวิชำกำรปิ กัสโซ, ทดสอบลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๒ ,
สำนักพิมพ์ปีกัสโซ, ๓๒
๔๙
          สุ ทธิชย ปทุมล่องทอง, ลักษณนำมฉบับปรับปรุง,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๑ ,
                 ั
สำนักพิมพ์บุ๊คแบงก์, ๑๐๘



          จริ ยำ วำณิ ชวิริยะ , คู่มอลักษณนำมไทย,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๔๙ ,วิทยพัฒน์,
                                    ื
๒๙๖



           ฝ่ ำยวิชำกำรสำนักพิมพ์ครี เอทบุ๊คส์ , รวมลักษณนำมทีควรรู้ ,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ,
                                                              ่
๒๕๔๙ , ครี เอทบุ๊ดส์ , ๒๘๐



             ฝ่ ำยตำรำวิชำกำร , คำลักษณนำม ,พิมพ์ครั้งที่ ๓ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๑ ,สำนักพิมพ์พี
แอลบี, ๑๙๒



             บัณฑิตยสภำ,http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?SystemModuleKey

=265&SystemMenuID=1&SystemMenuIDS=,๒๕๕๐, กรุ งเทพ



              วลัยภรณ์ , http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-
5/no22/luksananam.html ,๒๕๔๕



             ครู ตอง , http://u-maejao.exteen.com/20050828/entry, ๒๕๔๘
๕๐
         ครู วรรณดี,http://www.sahavicha.com/?name=media&file=readmedia&id=3109,
๒๕๕๔,โรงเรี ยนบ้ำนพุขำม สพท.เพชรบูรณ์ เขต 3



         ณี รนุช,http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phichit/neeranuch_i

/sec01p011.html,๒๕๔๗ ,โรงเรี ยนวัดหนองปล้อง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำพิจิตร เขต 1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงyasotornrit
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
น้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลงน้ำขึ้นน้ำลง
น้ำขึ้นน้ำลง
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 

Andere mochten auch

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
Ospc for openstack forum sep 2011 v2
Ospc for openstack forum sep 2011 v2Ospc for openstack forum sep 2011 v2
Ospc for openstack forum sep 2011 v2OpenCity Community
 
The Metric System Day 1.2011
The Metric System Day 1.2011The Metric System Day 1.2011
The Metric System Day 1.2011jmori1
 
Classification of Matter Overview
Classification of Matter OverviewClassification of Matter Overview
Classification of Matter Overviewjmori1
 
Opening remarks-dave-profozichv2
Opening remarks-dave-profozichv2Opening remarks-dave-profozichv2
Opening remarks-dave-profozichv2OracleIDM
 

Andere mochten auch (20)

Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
Ayuda 1 plan matematicas oct 12
Ayuda 1 plan matematicas oct 12Ayuda 1 plan matematicas oct 12
Ayuda 1 plan matematicas oct 12
 
City marketing den haag
City marketing den haag City marketing den haag
City marketing den haag
 
Ospc for openstack forum sep 2011 v2
Ospc for openstack forum sep 2011 v2Ospc for openstack forum sep 2011 v2
Ospc for openstack forum sep 2011 v2
 
The Metric System Day 1.2011
The Metric System Day 1.2011The Metric System Day 1.2011
The Metric System Day 1.2011
 
Classification of Matter Overview
Classification of Matter OverviewClassification of Matter Overview
Classification of Matter Overview
 
fritzie_bruha
fritzie_bruhafritzie_bruha
fritzie_bruha
 
Do you want to be a relief veterianian
Do you want to be a relief veterianianDo you want to be a relief veterianian
Do you want to be a relief veterianian
 
Opening remarks-dave-profozichv2
Opening remarks-dave-profozichv2Opening remarks-dave-profozichv2
Opening remarks-dave-profozichv2
 

Ähnlich wie รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)perunruk
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 

Ähnlich wie รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2 (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)คำในภาษาไทย (1)
คำในภาษาไทย (1)
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2

  • 1. ผิดพลาด! ตัวเลขไม่สามารถถูกแสดงในรูปแบบที่ระบุ โครงงานภาษาไทย เรื่อง รวบรวมลักษณนามหมวด ก จัดทาโดย ชื่อนายสิทธิศักดิ์ ทาปศรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๑ เลขที่ ๔ คุณครูที่ปรึกษา คุณครูสุชิรา ชุมนุม โรงเรียนอาเวมารีอา อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โทร ๐-๔๕๒๔-๓๗๑๒ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 2. บทที่ ๑ บทนำ ควำมเป็ นมำ ่ คำลักษณนำม เป็ นคำที่บอกลักษณะและชนิด หรื อประเภทของคำนำมนั้น เพื่อจะให้รู้วำคำนำม ่ นั้นมีลกษณะเป็ นอย่ำงไร มักจะเขียนอยูหลังจำนวนนับ หรื อคำนำมนั้นๆ เช่น ั ่ เรื อ ๑ ลำ ลอยละล่องอยูในคลองหน้ำบ้ำน คุณพ่อมีแว่นตำ ๔ อัน บ้ำนหลังนั้นไม่มีคนอยู่ โดยมีตวอย่ำง คำลักษณนำมควรรู ้ที่พอจะรวบรวมได้มำลงไว้โดยแยกตำมหมวดหมู่ดงนี้ ั ั ๑. ลักษณนำมบอกชนิด พระองค์ ผที่นบถืออย่ำงสู ง เช่น พระพุทธเจ้ำ พระรำชำ เทวดำที่เป็ นใหญ่ เจ้ำนำยชั้นสู ง ู้ ั องค์ เจ้ำนำย เทวดำ (คงจะตำแหน่งน้อยกว่ำเทวดำด้ำนบนนิดนึง) สิ่ งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้ำ พระรำชำ หรื อเจ้ำนำย คำรำชำศัพท์ที่เกี่ยวกับอวัยวะภำยใน หรื อเครื่ องใช้สอย รู ปภิกษุ สำมเณร นักพรตต่ำงๆ ชีปะขำว ชี ตนยักษ์ ภูตผีปีศำจ นักสิ ทธิ์ เช่น ฤำษี วิทยำธร คนมนุษย์สำมัญทัวไป ่ ตัวสัตว์เดียรัจฉำน สิ่ งของบำงอย่ำง เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ ม้ำนัง ตะปู ว่ำว ตุ๊กตำ ่ ใบภำชนะทั้ งปวง ลูกไม้ ใบไม้
  • 3. ๒ เรื่องเรื่ องรำว ข้อควำม คดีต่ำงๆ สิ่ ง,อันสิ่ งของ หรื อกิจกำรที่เป็ นสำมัญทัวไป ่ เลำปี่ ขลุ่ย เชือกช้ำงบ้ำน (ช้ำงป่ ำจะเรี ยกเป็ นตัว หรื อ ถ้ำเยอะๆ จะเรี ยกเป็ นโขลง ค่ะ) เรือนนำฬิกำ เล่มสุ มด หนังสื อ เกวียน เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ ว ศัสตรำ (อำวุธ) ต่ำงๆ เต้ ำแคน (เครื่ องดนตรี ) ๒. ลักษณนำมบอกหมวดหมู่ กองทัพ ทหำร คนทำงำนรวมกัน ของที่รวมกันไว้ อิฐ ทรำย ่ พวก,เหล่ำคน สัตว์ สิ่ งของที่อยูรวมกัน และมีลกษณะอย่ำงเดียวกัน ั หมวดคน สัตว์ สิ่ งของ ที่แยกรวมกันไว้ หมู่คน สัตว์ สิ่ งของ ที่อยูรวมกันเป็ นกลุ่มๆ ่ ฝูงสัตว์พวกเดียวกันที่ไปด้วยกันเป็ นพวกๆ หรื อคนมำกๆ ก็ใช้ ่ คณะคนที่อยูในสำนักหนึ่ง หรื อในที่ทำกำรอย่ำงหนึ่ง หรื อในปกครองรวมกัน นิกำยนักบวชศำสนำเดียวกันที่แยกออกเป็ นพวกๆ สำรับ,ชุดคน หรื อสิ่ งของที่มีครบตำมอัตรำ โรงผูคนที่เล่นมหรสพที่มีโรงเล่น เช่น ละคร โขน หนัง ้
  • 4. ๓ วงคนชุดหนึ่งที่ลอมวงกัน เช่น เตะตะกร้อ เล่นดนตรี เล่นเพลง สักวำ ้ ตับของที่ทำให้ติดกันเรี ยงกันเป็ นพืด เช่น พลู จำก ปลำย่ำง ๓ ลักษณนำมที่บอกสัณฐำน วงของที่มีรูปเป็ นวง เช่น แหวน กำไล หลังของที่มีรูปเป้ นหลังคำ เช่น เรื อน บ้ำน ตึก มุง กูบ ประทุน เก๋ ง บุษบก ้ แผ่ นของที่มีรูปแบนๆ เช่น กระดำษ กระดำน กระเบื้อง อิฐ ผืนของที่มีรูปแบนกว้ำงใหญ่ เช่น ผ้ำ เสื่ อ พรม แถบของที่แบน บำง แคบ แต่ยำว เช่น ผ้ำแคบๆ แต่ยำว (คงจะประมำณ ผ้ำแถบ น่ะค่ะ) บำนของที่เป็ นแผ่นมีกรอบ เช่น ประตู หน้ำต่ำง กระจกเงำ กรอบรู ป ลูกของที่มีรูปทรงกลมๆ หรื อค่อนข้ำงกลม เช่น ลูกไม้ ลูกหิน หรื อ ไต้ที่ใช้จุดไฟ ก็ใช้ได้ แท่ งของทึบหนำมีรูปยำวๆ เช่น เหล็ก ตะกัว ดินสอ ่ ก้อนของที่มีรูปเป็ นก้อน เช่น ก้อนหิน ก้อนดิน อิฐแตกๆ ขนมปัง (ที่ไม่เป็ นแผ่น) คันของที่มีส่วนสำหรับถือและลำก รู ปยำวๆ เช่น ฉัตร กระสุ น รถ ร่ ม ธนู หน้ำไม้ ช้อนส้อม ซอ เบ็ด (ที่มีคน) แร้ว ไถ ั ต้ นของที่เป็ นลำต้นเป็ นต้นไม้ เช่น ต้นไม้ เสำ ซุง ลำของกลมยำวมีปล้องคัน เช่น ไม้ไผ่ อ้อย และเรื อ ่ ดวงของที่เป็ นรอยกลมๆ เช่น รอยด่ำง ตรำต่ำงๆ ของที่มีแสง ตะวัน(ดวงอำทิตย์ เดือน (ดวง จันทร์) ดำว ไฟ และจิตวิญญำณ
  • 5. ๔ กระบอกของกลมยำวแต่กลวง เช่น ปล้องไม้ไผ่ ข้ำวหลำม พลุ ปื น เส้ นของที่เป็ นเส้นเล็กยำว เช่น เชือก ด้ำย ลวด ปำกเครื่ องดักสัตว์ท่ีมีรูปเป็ นปำกกว้ำง เช่น แห อวน สวิง โพงพำง ปื้ นของที่แบนกว้ำงเป็ นพืดยำว เช่น ตอกที่กว้ำง เลื่อย ซี่ของเส้นยำว ตั้งเรี ยนกันเป็ นแถว เช่น ซี่กรง ซี่ฟัน ๔. ลักษณนำมบอกจำนวนและมำตรำ คู่ของที่มีชุดละ ๒ สิ่ ง เช่น รองเท้ำ ถุงเท้ำ ช้อนกับส้อม เชิงเทียน แจกัน โหลของที่รวมกัน ๑๒ สิ่ ง กุลผำห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน ี ้ ชื่อมำตรำต่ ำงๆ เช่น ของที่ใช้วด ตวง ชัง เวลำ และเงิน เช่น โยชน์ - เส้นทำง / ชัง เฟื้ อง สลึง ั ่ ่ ตำลึงบำท หรื อชื่อสกุลเงินต่ำงๆ ทัวโลก ่ ชื่อภำชนะต่ ำงๆ เช่น ตุ่ม ไห ๕. ลักษณนำมบอกอำกำร จีบของที่จีบ เช่น พลู มวนของที่มวน เช่น บุหรี่ มัดของที่มด เช่น ฟื น ั ม้ วนของที่มวนไว้ เช่น ยำสู บ ยำจืด กระดำษ (ที่มวนไว้) ้ ้
  • 6. ๕ กำ,ฟ่ อนของที่ทำเป็ นกำ ฟ่ อน เช่น หญ้ำ ผัก กลุ่มของที่กำเป็ นกลุ่ม เช่น ด้ำย ไหมพรม ในปัจจุบน คำลักษณนำมอำจจะมีเพิ่มขึ้นมำอีกหลำยคำ เนื่องจำกมีวทยำกำรและศัพท์ใหม่ๆ เกิด ั ิ ขึ้นมำอีกมำกมำย ส่ วนมำกจะเป็ นลักษณนำมที่ซ้ ำชื่อ เช่น โครงกำร ๓ โครงกำร, แผนพัฒนำ แผนที่ ๒ นอกจำกนี้คำลักษณนำมบำงคำ ผูใช้บำงคนก็มกจะใช้คำพูดที่ติดปำกอยู่ เช่น เรี ยกพระภิกษุ เป็ น ้ ั องค์ เรี ยกช้ำง เป็ น ตัว เรี ยกสิ่ งของต่ำงๆ เป็ น อัน ชิ้น กันเสี ยเป็ นส่ วนมำก
  • 7. ๖ วัตถุประสงค์ ๑ เพื่อเป็ นกำรนำเสนอคำที่มีลกษณนำมในหมวด ก ซึ่งมีท้ งคำที่มกรู ้จกกันเป็ นอย่ำงดีและมักไม่ ั ั ั ั คุนหูคุนตำ ้ ้ ๒ เพื่อเป็ นกำรอนุรักษ์วฒนธรรมทำงภำษำไทยด้วยกำรส่ งเสริ มให้รู้ถึงลักษณนำมที่ถกต้องของ ั ู คำที่มกใช้ผดกัน ั ิ ๓ เพื่อเป็ นกำรนำเสนอลักษณนำมและคำที่มีลกษณะนำมนั้นคู่กน โดยเปรี ยบให้เห็นภำพชัดเจน ั ั ในรู ปแบบตำรำง โดยลักษณนำมนั้นถูกต้องตำมที่รำชบัณฑิตยสถำนได้กำหนดไว้ ๔ เพื่อแสดงควำมหลำกหลำยของลักษณนำมในภำษำไทย เป็ นกำรบ่งบอกถึงภำษำไทยเรำนั้นมี ควำมสละสลวยและหลำกหลำยอีกด้วย ๕ เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณนำมที่ถูกต้องตำมรำชบัณฑิตยสถำนได้กำหนดไว้ ๖ เพื่อให้คนไทยเห็นคุณค่ำของภำษำไทยและรักภำษำไทย ช่วยกันธำรงไว้ ๗ เพื่อให้เห็นถึงลักษณะนำมหนึ่งคำมีคำระบุลกษณนำมได้หลำยคำ ั ๘ เพื่อให้เห็นว่ำลักษณนำมสำมำรถใช้คำเดียวกันซ้ ำกันได้
  • 8. ๗ ขอบเขตกำรศึกษำค้ นคว้ ำ ๑ รวบรวมคำลักษณนำมเฉพำะใน “หมวด ก” ๒ ลักษณะนำมทุกคำเป็ นลักษณนำมที่รำชบัณฑิตยสถำน ได้พิจำรณำกำหนดขึ้น ๓ ตัวอย่ำงประโยคกำรใช้ลกษณนำมทัวไปที่ควรรู ้ ั ่
  • 9. ๘ บทที่ ๒ เอกสำรทีเ่ กียวข้ องกับกำรศึกษำค้ นคว้ ำ ่ ข้อมูลนี้นำมำจำก หนังสื อลักษณนำม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พิมพ์ครั้งที่ ๖ เป็ นหนังสื อที่ ประมวลลักษณนำมของคำนำมต่ำง ๆ ซึ่งคณะกรรมกำรกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรใช้ ภำษำไทย แห่งรำชบัณฑิตยสถำน ได้พิจำรณำกำหนดขึ้น เพื่อต้องกำรให้ผใช้ภำษำไทยทุกคนใช้ ู้ ลักษณนำมได้ถูกต้อง ๑. กำรเรี ยงลำดับคำ กำรเรี ยงลำดับคำ เรี ยงตำมลำดับคำแบบพจนำนุกรม คำที่มีควำมหมำยเหมือนกันจะเก็บไว้ ด้วยกันโดยใช้เครื่ องหมำยจุลภำคคันและเรี ยงสลับกันไปในตำแหน่งของหมวดอักษรนั้น ๆ โดย ่ แสดงลักษณนำมไว้ที่คอลัมน์ดำนขวำ เช่น ้ กงกระสุ น - คัน กงเกวียน, กงล้อ - กง, วง ๒. คำนำมที่มีหลำยควำมหมำย ๒.๑ กำรกำหนดลักษณนำมของคำนำมที่มีหลำยควำมหมำย ถ้ำทุกควำมหมำยมีลกษณนำม ั เหมือนกันจะไม่ให้คำนิยำมควำมหมำยไว้ แต่ถำมีลกษณนำมแตกต่ำงกันจะให้คำนิยำมสั้น ๆ ไว้ ้ ั ในเครื่ องหมำยวงเล็บหลังคำนำมนั้น ๆ เพื่อบอกให้ทรำบว่ำ เฉพำะควำมหมำยที่กำหนดไว้ใน เครื่ องหมำยวงเล็บเท่ำนั้นที่มีลกษณนำมตำมที่กำหนด เช่น ั
  • 10. ๙ ดำรำ - ดวง ..................................................................... ตอม่อ (เสำบ้ำน) - ต้น ตอม่อ (ฐำนรองรับสะพำน) - ตอม่อ ๒.๒ คำนำมที่มีควำมหมำยคล้ำยกันหรื อใกล้เคียงกัน แต่ใช้ลกษณนำมคำเดียวกันจะเก็บไว้ ั ด้วยกันโดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เช่น ่ ศำล; ศำลเจ้ำ; ศำลเทพำรักษ์ - ศำล ๒.๓ คำนำมที่มีหลำยควำมหมำย แต่ใช้ลกษณนำมเหมือนกัน จะให้คำนิยำมสั้น ๆ ไว้ใน ั เครื่ องหมำยวงเล็บหลังคำนำมนั้น ๆ โดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เช่น ่ ชนัก (เครื่ องแทงสัตว์; เครื่ องผูกคอช้ำง) - เล่ม ๓. คำนำมที่มีลกษณนำมได้หลำยอย่ำง ั คำนำมบำงคำอำจมีลกษณนำมได้หลำยอย่ำง ในกำรกำหนดลักษณนำมแบ่งออกเป็ น ๓ แบบ คือ ั
  • 11. ๑๐ ั ๓.๑ กำหนดลักษณนำมที่นิยมใช้กนมำกไว้หน้ำสุ ดและลักษณนำมอื่น ๆ เรี ยงตำมกันไป โดยใช้เครื่ องหมำยจุลภำคคัน เช่น ่ ไข่ - ใบ, ฟอง, ลูก ..................................................................... โคม (ชนิดต่ำง ๆ) - ดวง, ใบ, ลูก ๓.๒ กำหนดลักษณนำมแตกต่ำงกันตำมสภำพที่เป็ นอยู่ โดยใช้เครื่ องหมำยอัฒภำคคัน เพื่อ ่ ่ ็ บอกให้รู้วำลักษณ-นำมนั้น ๆ แม้จะเป็ นลักษณนำมของสิ่ งเดียวกันแต่กมีควำมแตกต่ำงกันตำม สภำพ เช่น ซิ่น, ผ้ำซิ่น - ผืน; ตัว, ถุง ั ่ หมำยควำมว่ำ ซิ่น หรื อ ผ้ำซิ่น ถ้ำยังไม่ได้ตดเย็บลักษณนำมใช้วำ ผืน แต่ถำตัดเย็บแล้วใช้ลกษณ ้ ั นำมว่ำ ตัว หรื อ ถุง ปิ่ นโต - ใบ, ลูก; เถำ, สำย หมำยควำมว่ำ ปิ่ นโตแต่ละใบ ใช้ลกษณนำมว่ำ ใบ หรื อลูก แต่ถำนำมำเรี ยงซ้อนกันแล้วมีเครื่ อง ั ้ ยึดรวมเข้ำด้วยกัน ใช้ลกษณนำมว่ำ เถำ หรื อ สำย ั
  • 12. ๑๑ บำงครั้งอำจให้คำอธิบำยสั้น ๆ ไว้หลังลักษณนำมนั้น ๆ โดยใส่ คำอธิบำยไว้ในเครื่ องหมำย วงเล็บ เช่น ระนำด (เครื่ องปี่ พำทย์ชนิดหนึ่ง) - ลูก (ลูกระนำด);ผืน (ลูกระนำดที่ร้อยเข้ำ เป็ นชุด); รำง ๓.๓ กำหนดลักษณนำมตำมขนำด ควำมกว้ำง ควำมยำว ปริ มำณ น้ ำหนัก หรื อรู ปแบบที่ใช้ ่ งำน โดยระบุวำ “เรี ยกตำมลักษณะ” หรื อ “เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์” แล้วให้ ั ยกตัวอย่ำงลักษณนำม เช่น ทอฟฟี่ - เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์ ั เช่น เม็ด อัน ห่อ แท่ง หรื อกำหนดทั้งลักษณนำมทัวไปและลักษณะบรรจุภณฑ์ เช่น ่ ั ด้ำย - เส้น; เรี ยกตำมลักษณะหรื อลักษณะบรรจุภณฑ์ เช่น ั กลุ่ม เข็ด ไจ หลอด ผม - เส้น; เรี ยกตำมลักษณะ เช่น กระจุก ปอย
  • 13. ๑๒ ฉลองพระเนตร - องค์ ฉลองพระบำท, รองพระบำท - ข้ำง, องค์; คู่ ในกรณี ที่คำนำมนั้นเป็ นทั้งคำรำชำศัพท์และคำนำมที่ใช้ได้ทวไป จะกำหนดลักษณนำมไว้ท้ ง ๒ ั่ ั อย่ำง เช่น พระขรรค์ - องค์; เล่ม (ถ้ำใช้ทวไป) ั่ ๔. คำนำมที่เป็ นคำรวม คำนำมที่เป็ นคำรวม เช่น ขนม ผลไม้ ดอกไม้ จะกำหนดลักษณนำมรวมไว้โดยไม่แยก ออกเป็ นชนิดย่อยตำมนำมของสิ่ งเหล่ำนั้น แต่ถำลักษณนำมของชนิดย่อยมีเพิ่มขึ้นหรื อแตกต่ำง ้ ไปจำกที่กำหนดไว้ในลักษณนำมรวม ก็จะตั้งคำนำมของชนิดย่อยและกำหนดลักษณนำมที่ เพิ่มขึ้นหรื อแตกต่ำงออกไปจำกลักษณนำมรวมไว้ที่ลำดับคำนั้น ๆ เช่น ขนม - เรี ยกตำมลักษณะ เช่น ชิ้น อัน แผ่น ตัว; เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ เช่น ถ้วย ชำม ขนมครก - ฝำ; คู่ ขนมจีน - จับ, หัว .....................................................................
  • 14. ๑๓ ไข่นกกระสำ (ขนม) - ลูก ..................................................................... ซำลำเปำ - ใบ, ลูก ๕. คำนำมที่เป็ นคำรำชำศัพท์ คำรำชำศัพท์ที่เก็บไว้ส่วนใหญ่เป็ นคำรำชำศัพท์ที่ไม่ได้เกิดจำกกำรเติมคำว่ำ “พระ” หน้ำ คำนำม และมักจะใช้เฉพำะที่เกี่ยวข้องกับพระมหำกษัตริ ยเ์ ท่ำนั้น ส่ วนคำรำชำศัพท์ที่เกิดจำกกำร เติมคำว่ำ “พระ” หน้ำคำนำมทัว ๆ ไป มีเก็บไว้เป็ นส่ วนน้อย ทั้งนี้เพรำะเห็นว่ำ คำนำมที่เป็ นคำ ่ รำชำศัพท์ ส่ วนใหญ่จะมีลกษณนำมเป็ น“องค์” ยกเว้นที่กำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่น เช่น ั ฉลองพระเนตร - องค์ ฉลองพระบำท, รองพระบำท - ข้ำง, องค์; คู่ ในกรณี ที่คำนำมนั้นเป็ นทั้งคำรำชำศัพท์และคำนำมที่ใช้ได้ทวไป จะกำหนดลักษณนำมไว้ท้ ง ๒ ั่ ั อย่ำง เช่น พระขรรค์ - องค์; เล่ม (ถ้ำใช้ทวไป) ั่
  • 15. ๑๔ ลักษณะนำมทัวไปที่ควรรู้ ่ ๑. ลักษณะนำมบอกชนิด พระองค์ ผที่นบถืออย่ำงสู ง เช่น พระพุทธเจ้ำ พระรำชำ เทวดำที่เป็ นใหญ่ เจ้ำนำยชั้นสู ง ู้ ั องค์ เจ้ำนำย เทวดำ (คงจะตำแหน่งน้อยกว่ำเทวดำด้ำนบนนิดนึง) สิ่ งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้ำ พระรำชำ หรื อเจ้ำนำย คำรำชำศัพท์ที่เกี่ยวกับอวัยวะภำยใน หรื อเครื่ องใช้สอย รู ปภิกษุ สำมเณร นักพรตต่ำงๆ ชีปะขำว ชี ตนยักษ์ ภูตผีปีศำจ นักสิ ทธิ์ เช่น ฤำษี วิทยำธร คนมนุษย์สำมัญทัวไป ่ ตัวสัตว์เดียรัจฉำน สิ่ งของบำงอย่ำง เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ ม้ำนัง ตะปู ว่ำว ตุ๊กตำ ่ ใบภำชนะทั้ งปวง ลูกไม้ ใบไม้ เรื่องเรื่ องรำว ข้อควำม คดีต่ำงๆ สิ่ ง,อันสิ่ งของ หรื อกิจกำรที่เป็ นสำมัญทัวไป ่ เลำปี่ ขลุ่ย เชือกช้ำงบ้ำน (ช้ำงป่ ำจะเรี ยกเป็ นตัว หรื อ ถ้ำเยอะๆ จะเรี ยกเป็ นโขลง ค่ะ) เรือนนำฬิกำ เล่มสุ มด หนังสื อ เกวียน เทียน เข็ม กรรไกร สิ่ ว ศัสตรำ (อำวุธ) ต่ำงๆ เต้ ำแคน (เครื่ องดนตรี )
  • 16. ๑๕ ๒. ลักษณะนำมบอกหมวดหมู่ กองทัพ ทหำร คนทำงำนรวมกัน ของที่รวมกันไว้ อิฐ ทรำย ่ พวก,เหล่ำคน สัตว์ สิ่ งของที่อยูรวมกัน และมีลกษณะอย่ำงเดียวกัน ั หมวดคน สัตว์ สิ่ งของ ที่แยกรวมกันไว้ หมู่คน สัตว์ สิ่ งของ ที่อยูรวมกันเป็ นกลุ่มๆ ่ ฝูงสัตว์พวกเดียวกันที่ไปด้วยกันเป็ นพวกๆ หรื อคนมำกๆ ก็ใช้ ่ คณะคนที่อยูในสำนักหนึ่ง หรื อในที่ทำกำรอย่ำงหนึ่ง หรื อในปกครองรวมกัน นิกำยนักบวชศำสนำเดียวกันที่แยกออกเป็ นพวกๆ สำรับ,ชุดคน หรื อสิ่ งของที่มีครบตำมอัตรำ โรงผูคนที่เล่นมหรสพที่มีโรงเล่น เช่น ละคร โขน หนัง ้ วงคนชุดหนึ่งที่ลอมวงกัน เช่น เตะตะกร้อ เล่นดนตรี เล่นเพลง สักวำ ้ ตับของที่ทำให้ติดกันเรี ยงกันเป็ นพืด เช่น พลู จำก ปลำย่ำง ๓ ลักษณะนำมที่บอกสัณฐำน วงของที่มีรูปเป็ นวง เช่น แหวน กำไล หลังของที่มีรูปเป้ นหลังคำ เช่น เรื อน บ้ำน ตึก มุง กูบ ประทุน เก๋ ง บุษบก ้ แผ่ นของที่มีรูปแบนๆ เช่น กระดำษ กระดำน กระเบื้อง อิฐ ผืนของที่มีรูปแบนกว้ำงใหญ่ เช่น ผ้ำ เสื่ อ พรม
  • 17. ๑๖ แถบของที่แบน บำง แคบ แต่ยำว เช่น ผ้ำแคบๆ แต่ยำว (คงจะประมำณ ผ้ำแถบ น่ะค่ะ) บำนของที่เป็ นแผ่นมีกรอบ เช่น ประตู หน้ำต่ำง กระจกเงำ กรอบรู ป ลูกของที่มีรูปทรงกลมๆ หรื อค่อนข้ำงกลม เช่น ลูกไม้ ลูกหิน หรื อ ไต้ที่ใช้จุดไฟ ก็ใช้ได้ แท่ งของทึบหนำมีรูปยำวๆ เช่น เหล็ก ตะกัว ดินสอ ่ ก้อนของที่มีรูปเป็ นก้อน เช่น ก้อนหิน ก้อนดิน อิฐแตกๆ ขนมปัง (ที่ไม่เป็ นแผ่น) คันของที่มีส่วนสำหรับถือและลำก รู ปยำวๆ เช่น ฉัตร กระสุ น รถ ร่ ม ธนู หน้ำไม้ ช้อนส้อม ซอ เบ็ด (ที่มีคน) แร้ว ไถ ั ต้ นของที่เป็ นลำต้นเป็ นต้นไม้ เช่น ต้นไม้ เสำ ซุง ลำของกลมยำวมีปล้องคัน เช่น ไม้ไผ่ อ้อย และเรื อ ่ ดวงของที่เป็ นรอยกลมๆ เช่น รอยด่ำง ตรำต่ำงๆ ของที่มีแสง ตะวัน(ดวงอำทิตย์ เดือน (ดวง จันทร์) ดำว ไฟ และจิตวิญญำณ กระบอกของกลมยำวแต่กลวง เช่น ปล้องไม้ไผ่ ข้ำวหลำม พลุ ปื น เส้ นของที่เป็ นเส้นเล็กยำว เช่น เชือก ด้ำย ลวด ปำกเครื่ องดักสัตว์ที่มีรูปเป็ นปำกกว้ำง เช่น แห อวน สวิง โพงพำง ปื้ นของที่แบนกว้ำงเป็ นพืดยำว เช่น ตอกที่กว้ำง เลื่อย ซี่ของเส้นยำว ตั้งเรี ยนกันเป็ นแถว เช่น ซี่กรง ซี่ฟัน
  • 18. ๑๗ ๔. ลักษณะนำมบอกจำนวนและมำตรำ คู่ของที่มีชุดละ ๒ สิ่ ง เช่น รองเท้ำ ถุงเท้ำ ช้อนกับส้อม เชิงเทียน แจกัน โหลของที่รวมกัน ๑๒ สิ่ ง กุลผำห่อหนึ่งที่รวมกัน ๒๐ ผืน ี ้ ชื่อมำตรำต่ ำงๆ เช่น ของที่ใช้วด ตวง ชัง เวลำ และเงิน เช่น โยชน์ - เส้นทำง / ชัง เฟื้ อง สลึง ั ่ ่ ตำลึงบำท หรื อชื่อสกุลเงินต่ำงๆ ทัวโลก ่ ชื่อภำชนะต่ ำงๆ เช่น ตุ่ม ไห ๕. ลักษณะนำมบอกอำกำร จีบของที่จีบ เช่น พลู มวนของที่มวน เช่น บุหรี่ มัดของที่มด เช่น ฟื น ั ม้ วนของที่มวนไว้ เช่น ยำสู บ ยำจืด กระดำษ (ที่มวนไว้) ้ ้ กำ,ฟ่ อนของที่ทำเป็ นกำ ฟ่ อน เช่น หญ้ำ ผัก กลุ่มของที่กำเป็ นกลุ่ม เช่น ด้ำย ไหมพรม
  • 19. ๑๘ บทที่ ๓ กำรดำเนินกำร ขั้นตอนกำรดำเนิน ๑. ผูศึกษำนำเสนอหัวข้อโครงงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำเพื่อขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตใน ้ กำรทำโครงงำน ๒. ผูศึกษำวำงแผนวิเครำะห์ตำมหัวข้อวัตถุประสงค์ของโครงงำน ้ ๓. ผูศกษำค้นคว้ำจำกหนังสื อต่ำงๆดังนี้หนังสื อเรี ยน หนังสื อพิมพ์และสื่ อต่ำงๆและจำก ้ึ อินเตอร์เน็ต ๔. ศึกษำและเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นขั้นตอนของกำรเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงำน เพื่อมำวิเครำะห์และสรุ ปเนื้อหำที่สำคัญที่จะนำมำจัดทำโครงงำน ๕. นำเสนอผลงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำเพื่อรำยงำนผลกำรดำเนินงำน ๖. จัดทำคู่มือเพื่อใช้สำหรับศึกษำและรำยงำนต่ออำจำรย์ที่ปรึ กษำ
  • 20. ๑๙ วิธีกำรดำเนินงำน ๑ วิเครำะห์หำหัวข้อที่จะทำในโครงงำน อย่ำงกว้ำงขวำงครอบคลุมเนื้อหำที่จะทำ ๒ เจำะลึกประเด็นหำหัวข้อที่จะทำหนึ่งหัวข้อ ๓ เขียนวัตถุประสงค์และหัวข้อนำเสนอครู ประจำวิชำ ๔ ครู ประจำวิชำตรวจสอบเพื่อแก้ไข ๕ หำข้อมูลในหัวข้อที่จะทำซึ่งในที่น้ ีคือกำรเขียนอ้ำงอิงในบทควำมทำงวิชำกำรทั้งจำกหนังสื อ หลักภำษำชั้นมัธยมศึกษำ ปี ที่ ๖ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๕ และสื่ อทำงอินเทอร์เน็ต อำทิเช่น เว็บไซต์ทรู ปลูกปัญญำ เว็บไซต์หลักของกระทรวงศึกษำธิกำร ทั้งนี้ขอมูลทั้งหมดที่ได้จำกสื่ อ ้ อินเทอร์เน็ต จึงมีควำมทันสมัยมำกกว่ำจำกหนังสื อเรี ยน ๖ เรี ยบเรี ยงข้อมูลต่ำงๆให้ตรงกับหัวข้อต่ำงๆในโครงงำนในแต่ละบท ได้แก่ บทที่ ๑ บทนำ – ควำมเป็ นมำ -วัตถุประสงค์ -ขอบเขตกำรศึกษำค้นคว้ำ -นิยำมคำเฉพำะ บทที่ ๒ เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับกำรศึกษำค้นคว้ำ บทที่ ๓ กำรดำเนินงำน – ขั้นตอนกำรดำเนินงำน -วิธีกำรดำเนินงำน บทที่ ๔ ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ ( เนื้อหำ ) บทที่ ๕ ปัญหำ อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ๗ นำเสนอข้อมูลที่ได้เรี ยบเรี ยงเอำไว้แล้วแก่ครู ประจำวิชำเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้อง ๘ จัดทำรู ปแบบของเอกสำรโครงงำนให้สำเร็จรู ป
  • 21. ๒๐ บทที่ ๔ ผลกำรศึกษำค้ นคว้ ำ ก๊ก ก๊ก กง (ไร่ ที่ถางป่ าเป็ นหย่ อม ๆ ตามเนือที่และกัน ้ ้ กง เป็ นขอบเขตไว้ เพื่อปลูกพืชล้ มลุก) กงกระสุ น (เครื่ องยิงมีคัน ใช้ สายโก่ งยิงด้ วย คัน ลูกดินปั้ น) กงเกวียน, กงล้อ กง, วง กงข้ำง, กงค้ำง ตัว, อัน กงจักร กง, วง กงฉำก อัน กงธนู คัน กงพัด (กงพัดเครื่ องระหัด, กงพัดเครื่ องสี อัน ฝั ด, กงพัดสี ลม) กงพัด (ไม้ เหลี่ยมสอดในรู ซึ่งเจาะที่โคนเสา ตัว เรื อน)
  • 22. ๒๑ กงพัด (สาหรั บพัดด้ าย) อัน กงเรื อ กง, อัน กงแร้ว คัน กงล้อ, กงเกวียน กง, วง กงวำน ตัว, อัน กฎหมำย ฉบับ กติกำ ข้อ กบ (ชนิดต่ าง ๆ สาหรั บไสไม้ ) ตัว กบ (เหลาดินสอ) ตัว, อัน กบำล, กระบำล (ดินเหนียวผสมแกลบ ใช้ ปิด แผ่น ปากจอกของพิมพ์ หล่ อพระ) กรง กรง, ลูก, ใบ กรงขัง กรง กรณฑ์ (เครื่ องหมายคณิ ตศาสตร์ ) ตัว
  • 23. ๒๒ กรณฑ์, กรัณฑ์, กรัณฑก, (หม้ อนา) ้ ใบ กรด (สารเคมี) ตัว กรบ (เครื่ องแทงปลา) อัน กรม (หน่ วยงาน) กรม กรมธรรม์ ฉบับ กรรไกร, กรรไตร, ตะไกร เล่ม กรรชิง, กระฉิ่ง, กระชิง คัน กรรเชียง, กระเชียง เล่ม; คู่ กรรเชียงปู, กระเชียงปู ข้ำง, อัน; คู่ กรรไตร, กรรไกร, ตะไกร เล่ม กรรบิด องค์ กรรภิรมย์, กรรม์ภิรมย์, กันพิรุณ, กันภิรมย์ องค์ กรวด ก้อน, เม็ด กรวด, จรวด (ดอกไม้ เพลิง) ดอก, ตัว
  • 24. ๒๓ กรวย กรวย, อัน กรวยคู่สวด ที่ กรวยอุปัชฌำย์ ที่ กร้อ, ตะกร้อ (ใช้ วิดนาเรื อ) ้ ใบ กรอบ (การพิมพ์ ) กรอบ กรอบเช็ดหน้ำ, เช็ดหน้ำ, วงกบ วง กรอบพระ กรอบ, อัน กรอบรู ป กรอบ, อัน กรอบหน้ำ, กะบังหน้ำ กรอบ, อัน กระคน, ประโคน, รัดประคน, รัตคน (เครื่ อง สำย, เส้น ผูกสัปคับโยงมาล่ ามรอบอกช้ า งทาด้ วยเชื อก) กระจก แผ่น กระจกเงำ บำน กระจัง (ลาย) ตัว; แถว, แผ่น
  • 25. ๒๔ กระจับ (ขวำก) อัน กระจับ (เครื่ องแขวนเหนือเปลเด็ก) ตัว; พวง กระจับ (เครื่ องสวมข้ อตีนม้ า) วง; คู่ กระจับ (นักมวย) อัน กระจับ (ฝั กของไม้ นาชนิดหนึ่ง) ้ ตัว, ฝัก กระจับ (สาหรั บยันคางศพโกศ) อัน กระจับปิ้ ง, จะปิ้ ง, จับปิ้ ง, ตะปิ้ ง, ตับปิ้ ง แผ่น, อัน กระจับปี่ (เครื่ องดนตรี ) คัน กระจ่ำ, จวัก, จ่ำ, ตวัก เล่ม, อัน กระจำด ใบ, ลูก กระจำน (แผ่ นตะกัวทาเป็ นรู ปปลาตัว ่ แผ่น เล็ก ๆ ติดเหนือเบ็ด) กระจุบ, กระจุ๊บ อัน กระจู,้ จู,้ อีจู ้ ใบ, ลูก
  • 26. ๒๕ กระแจะ (ปลอกเหล็กสาหรั บตกขาช้ างหรื อ วง; คู่ ล่ ามช้ างดุ) กระแจะ (ผงเครื่ องหอมต่ าง ๆ ที่ประสมกัน) ก้อน, เม็ด กระโจม หลัง กระโจมปื น กระโจม กระโจมไฟ, ประภำคำร, เรื อนตะเกียง หลัง กระฉิ่ง, กรรชิง, กระชิง คัน กระชอน อัน กระชัง (เครื่ องขังปลา) ใบ, ลูก กระชัง (บังสาดที่ ปิดเปิ ดได้ ) แผ่น กระชำย แง่ง; หัว กระชิง, กรรชิง, กระฉิ่ง คัน กระชุ, กระชุก (ภาชนะสาหรั บบรรจุของเช่ น ใบ, ลูก นุ่นหรื อถ่ าน)
  • 27. ๒๖ กระชุก, สำมชุก (ภาชนะสาหรั บสอดลงใน ใบ, ลูก เกวียน) กระเชอ ใบ, ลูก กระเช้ำ ใบ, ลูก กระเช้ำสวรรค์, ชิงช้ำสวรรค์ เครื่ อง กระเชียง, กรรเชียง เล่ม; คู่ กระเชียงปู, กรรเชียงปู ข้ำง, อัน; คู่ กระแชง (เครื่ องจักสานที่ มีลกษณะเป็ นแผ่ น) ั ผืน กระด้ง ใบ, ลูก กระดวง, กรำดวง อัน กระดอง กระดอง, ฝำ กระดอง คัน หำย, ขอฉำย, คันฉำย, ดอง, ดองฉำย, ดองหำย กระดำน, ไม้กระดำน แผ่น
  • 28. ๒๗ กระดำนชนวน แผ่น กระดำนดำ แผ่น กระดำนถีบ แผ่น กระดำนพิง แผ่น กระดำนไฟ แผ่น; แคร่ (ถ้ ามีลกษณะเป็ นแคร่ ) ั กระดำนลื่น, ไม้ลื่น ชุด กระดำนเลียบ แผ่น กระดำนหก (เครื่ องดักสัตว์ ) แผ่น กระดำนหก, ไม้กระดก ชุด เรี ยกตำมลักษณะหรื อ กระดำษ (ชนิดต่ าง ๆ) จำนวน เช่น แผ่น ม้วน พับ ปึ ก ห่อ รี ม กระดิ่ง ใบ, ลูก กระดึง, โปง ใบ, ลูก
  • 29. ๒๘ กระดุม, ดุม, ลูกกระดุม, ลูกดุม เม็ด; สำรับ กระดูก เรี ยกตำมลักษณะเช่น ท่อน ชิ้น ซี่ กระดูกกะโหลก (เป็ นชิ ้น ๆ) ชิ้น กระดูกขมับ ชิ้น กระดูกข้อเท้ำ ชิ้น กระดูกข้อมือ ชิ้น กระดูกขำ ท่อน กระดูกแขน ท่อน กระดูกงู (โครงสร้ างของลาเรื อ) ท่อน, อัน กระดูกเชิงกรำน, เชิงกรำน ชิ้น กระดูกซี่โครง, ซี่โครง ซี่ กระดูกนิ้วเท้ำ ชิ้น กระดูกนิ้วมือ ชิ้น กระดูกฝ่ ำเท้ำ ชิ้น
  • 30. ๒๙ กระดูกฝ่ ำมือ ชิ้น กระดูกสะบัก ชิ้น กระดูกสะบ้ำ ชิ้น กระดูกสันหลัง ชิ้น; ชุด (รวมกันทั้งหมด) กระดูกหน้ำอก ชิ้น กระดูกไหปลำร้ำ ชิ้น, ท่อน กระเดื่อง (เครื่ องจักรมีนาฬิกาเป็ นต้ น) ชิ้น กระได, บันได อัน; แห่ง กระไดแก้ว, บันไดแก้ว ตัว กระไดลิง, บันไดลิง อัน, สำย กระต๊อบ หลัง กระต่ำย (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว) ตัว กระต่ำยจีน (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว) แผ่น, อัน กระต่ำยมือ (เครื่ องมือสาหรั บขูดมะพร้ าว) ตัว
  • 31. ๓๐ กระติก ใบ, ลูก กระติบข้ำว ใบ, ลูก กระถำง ใบ, ลูก กระโถน (ชนิดต่ าง ๆ) ใบ, ลูก กระทง ใบ, ลูก กระทง (กฎหมาย) กระทง กระทง (ผ้ าท่ อนหนึ่ง ๆ ของจีวร) กระทง กระทง, กระทงนำ (ตอนหนึ่ง ๆของนา) กระทง กระทงเพชร (ไม้ ติดขวางรองแคร่ เกวียน) กระทง กระทงเรื อ กระทง กระทรวง กระทรวง กระท่อม หลัง กระทะ ใบ, ลูก กระทำย ใบ, ลูก
  • 32. ๓๑ กระทู ้ (ซอไม้ ไผ่ ที่เอามาปั กเป็ นเสารั้ ว) ต้น กระทู ้ (หัวข้ อหรื อข้ อความที่ตั้งให้ อธิ บาย) กระทู ้ กระเทียม กลีบ; หัว; จุก;หมวด กระแทะ, ระแทะ, รันแทะ เล่ม กระบวย อัน กระบอก กระบอก กระบอกตำ ข้ำง กระบอกน้ ำ (ภาชนะใส่ นาดื่มรู ปคล้ าย ้ ใบ กระบอก) กระบอกพลุ กระบอก กระบอกเพลำ กระบอก กระบอกสู บ กระบอก กระบอง, ตะบอง อัน, เล่ม กระบองเพชร, ตะบองเพชร เล่ม
  • 33. ๓๒ กระบะ ใบ, ลูก กระบำย ใบ, ลูก กระบำล, กบำล (ดินเหนียวผสมแกลบ ใช้ ปิด แผ่น ปากจอกของพิมพ์ หล่ อพระ) กระบิ กระบิ กระบิ้ง, ตะบิ้ง, บิ้ง (นาที่เป็ นกระทงเล็ก ๆ) กระบิ้ง, ตะบิ้ง, บิ้ง กระบี่ เล่ม กระบุง ใบ, ลูก กระเบื้อง แผ่น กระป๋ อง ใบ, ลูก กระปุก ใบ, ลูก กระเป๋ ำ ใบ, ลูก กระเป๋ ำ (ติดอยู่กบตัวเสื ้อหรื อกางเกง) ั กระเป๋ ำ กระโปก (เครื่ องยึดเพลาเกวียน) ลูก
  • 34. ๓๓ กระโปรง ตัว กระโปรง (ภาชนะ) ใบ, ลูก กระโปรงรถ แผ่น, ฝำ กระพรวน, พรวน, ลูกกระพรวน, ลูกพรวน ลูก กระพอง, กำพอง (ตัวไม้ อันบนที่เป็ นราว ตัว, อัน ลูกกรงเรื อนหรื อเกวียน) กระพ้อม, พ้อม ใบ, ลูก กระเพำะ กระเพำะ กระวิน (ห่ วงที่เกี่ยวกันสาหรั บโยงสัปคับ ห่วง ช้ าง, ห่ วงติดกับบังเหี ยนเหล็กผ่ าปากม้ า) กระสวน แบบ กระสวย อัน กระสอบ ใบ, ลูก กระสื อ ตัว, ตน
  • 35. ๓๔ กระสุ น, กระสุ นปื น, ลูกกระสุ น ลูก, นัด, เม็ด กระหัง, กระหำง ตัว, ตน กระแหล่ง ใบ, ลูก กระออม, กะละออม, กะออม, ใบ, ลูก กรัณฑ์, กรณฑ์, กรัณฑก, ใบ (หม้ อนา) ้ กรับ คู่ กรับพวง พวง กรำด (เครื่ องขูดไคลม้ า) อัน กรำด (เครื่ องมือจับสัตว์ นา) ้ อัน กรำด (ไม้ กวาด) ด้ำม, อัน กรำดวง, กระดวง อัน กรำบเรื อ กรำบ กรำฟ เรี ยกตำมลักษณะ เช่น แผ่น รู ป ชุด กริ่ ง อัน
  • 36. ๓๕ กริ ช เล่ม กรี (ส่ วนของหัวกุ้ง) อัน กรุ กรุ กลด คัน กลด, กลศ (ภาชนะใส่ นาเทพมนตร์ ) ้ ใบ, ลูก กลอง (ชนิดต่ าง ๆ) ใบ, ลูก กล่อง กล่อง, ใบ, ลูก กล้อง (ประเภทต่ าง ๆ) กล้อง กล้องถ่ำยรู ป กล้อง กล่องไม้ขีดไฟ กล่อง กล้องยำสู บ กล้อง กล่องเสี ยง กล่อง กลอน (คาประพันธ์ ) คำ; บท กลอน (เครื่ องสลักประตูหน้ าต่ าง) ตัว
  • 37. ๓๖ กลอน (ไม้ ขดประตูหน้ าต่ าง) ั อัน กลอน (ไม้ ที่พาดบนแปสาหรั บวางเครื่ องมุง ตัว, อัน หลังคา) กลอย หัว กะทอ (ภาชนะ) ใบ, ลูก กะบัง, กะบังรังเฝื อก (เครื่ องมือจับสัตว์ นา) ้ กะบัง กะบังลม แผ่น กะบังหน้ำ, กรอบหน้ำ กรอบ, อัน กะแปะ, อีแปะ (เงินปลีกโบราณ) อัน กะพล้อ, กะพ้อ (กระบอกตักนา) ้ กระบอก กะละปังหำ, กัลปั งหำ กิ่ง, ต้น กะละมัง ใบ, ลูก กะละออม, กระออม, กะออม, กัลออม ใบ, ลูก กะลัน, ลัน ลูก
  • 38. ๓๗ กะลำ ซีก, ใบ กะโล่ (ภาชนะ) ใบ, ลูก กะวะ (เครื่ องมือจับสัตว์ นาคล้ ายสวิง) ้ ปำก กะโหลก (สาหรั บตักนา) ้ ใบ, ลูก กะโหลกศีรษะ, หัวกะโหลก กะโหลก, หัว กะออม, กระออม, กะละออม, กัลออม ใบ, ลูก กะแอ (เครื่ องบังแดด) คัน กังสดำล ใบ, แผ่น กังหัน, จังหัน ตัว กังหัน (ดอกไม้ ไฟ) ต้น กัญญำ (เครื่ องบังแดดรู ปหลังคาโค้ ง) หลัง กันชน อัน กันชีพ สำย กันพิรุณ, กันภิรมย์, กรรภิรมย์, กรรม์ภิรมย์ องค์
  • 39. ๓๘ กันสำด, บังสำด ด้ำน, อัน กั้นหยัน ่ เล่ม กับ (เครื่ องดักสัตว์ ) อัน กับข้ำว อย่ำง, สิ่ ง; เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ กับระเบิด เครื่ อง, ชุด, อัน กัลปพฤกษ์ ต้น; ลูก; ชิ้น กัลปังหำ, กะละปังหำ กิ่ง, ต้น กัลออม, กระออม, กะละออม, กะออม ใบ, ลูก กำก, ภำพกำก (ภาพเขียนที่เป็ นตัวประกอบ ตัว, ภำพ ในเรื่ อง) กำกะเยีย ชุด, สำรับ กำงเกง ตัว ก้ำงปลำ ก้ำง, อัน กำจับหลัก อัน
  • 40. ๓๙ ก้ำนตอง (ไม้ ขนาบข้ างเรื อรู ปกลม ๆ คล้ าย อัน ทางกล้ วย) กำน้ ำ ใบ, ลูก กำบ (เปลือกหุ้มชั้นนอกของผลหรื อดอกและ กำบ ของต้ นไม้ ) กำบพรหมศร ตัว กำบพรหมสิ งห์ ตัว กำบู (กระเบืองมุงหลังคา) ้ แผ่น กำพย์ บท ก้ำม ก้ำม กำร์ตูน ตัว; เรื่ อง กำแล็กซี กำแล็กซี กำเวียน ชุด กำสำวพัสตร์ ผืน
  • 41. ๔๐ กำ (ส่ วนของล้ อรถหรื อล้ อเกวียน) ซี่ กำปั่น (หี บ) ลูก, ใบ กำพวด, ลินปี่ (ส่ วนประกอบของปี่ ซึ่ งทาให้ ้ เกิดเสี ยงเวลาเป่ า) อัน กำพอง, กระพอง (ตัวไม้ อันบนที่เป็ นราว ลูกกรงเรื อนหรื อเกวียน) ตัว, อัน กำพู (ไม้ กลึงสาหรั บเป็ นที่รวมซี่ ฉัตร) อัน กำไล (ชนิดต่ าง ๆ) ขอน, วง กินนร ตน, ตัว กินรี ตน, ตัว กิ๊บ อัน กี่ (เครื่ องทอผ้ า) เครื่ อง, หลัง กี่ (เครื่ องเย็บสมุด) อัน
  • 42. ๔๑ กี่ (ที่ตั้งพระกลดหรื อพระแสง) อัน กี๋ (ฐานสาหรั บรองสิ่ งของหรื อรองนั่ง) ตัว กี๋ (ภาชนะสาหรั บรองเครื่ องชา) ใบ กีตำร์ ตัว กีบ (เล็บเท้ าสัตว์ ) กีบ กี๋รำบ, กี๋หย่ง (ฐานสาหรั บรองแจกันหรื อ ตัว, อัน กระถางต้ นไม้ ) กุญแจ (เครื่ องมือ) อัน, ตัว; ชุด กุญแจ, ประแจ ดอก, ลูก; แม่, ตัว (แม่ กญแจ); ชุด ุ กุญแจประจำหลัก, กุญแจเสี ยง (เครื่ องหมายที่ ตัว ใช้ ในการบันทึกเสี ยงดนตรี ) กุญแจมือ คู่ กุญแจลูกบิด ชุด กุญแจเสี ยง, กุญแจประจำหลัก (เครื่ องหมายที่ ตัว ใช้ ในการบันทึกเสี ยงดนตรี )
  • 43. ๔๒ กุฎี, กุฏิ (เรื อนหรื อตึกสาหรั บพระภิกษุ หลัง สามเณรอยู่) กุฏิ (ที่บรรจุศพ) หลัง กุฏิ (เรื อนเล็ก ๆ ที่อยู่ในกรงทาให้ นกขุนทอง อยู่) หลัง กุนเชียง ข้ำง; คู่ กุบ (ทองรี ดเป็ นแผ่ นตัดเป็ นชิ ้นเล็ก ๆ) ตัว กุบ (หมวก) ใบ, ลูก กุบ, ฝักกุบ (ซองหนังใช้ ในการตีทองคาเปลว) กุบ; ฝัก กูบ หลัง เก๋ ง (เครื่ องบังมีฝาและหลังคาแบน) หลัง เก๋ ง (เรื อนตึกมีรูปหลังคาแบบศาลเจ้ าจีน) หลัง เกย เกย
  • 44. ๔๓ เกรำะ (เครื่ องสวมใส่ สาหรั บป้ องกันอาวุธ) ตัว; ชุด, สำรับ เกรำะ (เครื่ องสัญญาณ) อัน เกริ นบันไดนำค (เครื่ องกว้ านเพื่อยกพระโกศ ชุด, สำรับ หรื อพระบรมโกศ) เกริ น (ส่ วนชานที่ต่อออกมา ๒ ข้ างบุษบก) อัน เกรี ยง อัน เกล็ด เกล็ด เกลียว (เชื อก) เกลียว เกลียว (ด้ ายหรื อไหมที่ฟั่นเป็ นเกลียวสาหรั บ เส้น; เรี ยกตำมหน่วยวัดควำมยำว ติดม่ านหรื อหมอน) เกลือป่ น เรี ยกตำมภำชนะที่บรรจุ เช่น ถุง เม็ด; เรี ยกตำมลักษณะบรรจุ เกลือเม็ด ภัณฑ์ เช่น ถุง เกวียน เล่ม เกำทัณฑ์ คัน
  • 45. ๔๔ เก้ำอี้ (ชนิดต่ าง ๆ) ตัว เกำะ เกำะ เกีย, เกียร์ ชุด เกี้ยมอี๋ ตัว เกี้ยว (คานหามมีหลังคา) หลัง เกี๊ยว ตัว เกี้ยวประทีป ซุม ้ เกี๊ยะ ข้ำง; คู่ เกือก ข้ำง; คู่ เกือกม้ำ อัน แก่ง แก่ง แก๊ง แก๊ง แกงได ตัว แกงแนง อัน
  • 46. ๔๕ แกน แกน แก้ม (คน, สัตว์ , มะม่ วง) แก้ม แกระ (เครื่ องมือสาหรั บตัดรวงข้ าว) อัน แกละ (ผม) แกละ แก้ว (ใส่ นา) ้ ใบ โกก, คอม, ตะโกก, ตะโหงก (ไม้ รูปโค้ งที่ อัน พาดคอวัวหรื อควายสาหรั บลากเลื่อน) โกดัง หลัง, โรง โกรกกรำก (กระบอกไม้ ไผ่ สาหรั บทอดดวด) กระบอก โกรกกรำก (เครื่ องมือสาหรั บเจาะไม้ ) ตัว, อัน โกร่ ง (เกราะยาว) อัน โกร่ ง (เครื่ องบดยา) ใบ โกลน (ไม้ ท่อนกลม) ท่อน โกลน (เครื่ องอานม้ า) ข้ำง; คู่
  • 47. ๔๖ โกศ (ที่ใส่ ศพนั่ง) โกศ, ลูก โกศ (สาหรั บบรรจุอัฐิ) ใบ, ลูก
  • 48. ๔๗ บทที่ ๕ ปัญหำ อุปสรรค ข้ อเสนอแนะ ปัญหำ อุปสรรค ๑ ปัญหำที่เกิดจำกกำรสื บค้นข้อมูลของอินเทอร์เน็ตเป็ นกำรยำกที่จะหำข้อมูลที่ถกต้อง และ ู ทันสมัยเพรำะต้องมีกำรตรวจสอบแหล่งที่มำที่นำเสนอบนเว็ปไซต์น้ นๆ ั ๒ ปัญหำที่เกิดจำกควำมจำกัดของข้อมูล ซึ่งข้อมูลจำกหัวข้อที่หำ คือ กำรเขียนอ้ำงอิงใน บทควำมทำงวิชำกำร ๓ ต้องใช้ขอมูลจำกหนังสื อเป็ นส่ วนประกอบมำกจึงต้องค้นหำที่หองสมุดซึ่งตัวผูคนหำเองไม่มี ้ ้ ้้ เวลำเท่ำที่ตองกำร ้ ข้ อเสนอแนะ ๑ ควรมีกำรเพิมเนื้อหำตำมเว็ปไซต์ของกระทรวงศึกษำธิกำรให้เพิมมำกขึ้น เพื่อเป็ นกำรส่ งเสริ ม ่ ่ ให้มีขอมูลควำมรู ้ทำงวิชำกำรเพิมมมำกขึ้นและสะดวกต่อกำรค้นหำ เรี ยนรู ้ ทั้งต่อตัวผูคนหำเอง ้ ่ ้้ และผูอื่น ้ ๒ ควรมีกำรจัดทำเป็ นกลุ่ม เพื่อให้ได้ขอมูลที่สมบูรณ์ยงขึ้นในกำรทำโครงงำนภำษำไทยนี้ ้ ิ่ ๓ ควรมีกำรจัดเผยแพร่ ผลงำนตำมนิทรรศกำรวันพิเศษต่ำงๆ
  • 49. ๔๘ บรรณำนุกรม รำชบัณฑิตยสถำน,หนังสื อลักษณนำม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน,พิมพ์ครั้งที่ ๖, กรุ งเทพ, ๒๕๔๔ ,(ม.ป.พ.),๘๔๓ ฝ่ ำยตำรำวิชำกำร,ลักษณนำมฉบับนักเรียนนักศึกษำ,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ , แพนด้ำเลิร์นนิ่งบุ๊ค , ๑๙๒ ประกำยพรึ ก จักรพันธุ์ ,ม.ล. , จับคู่รู้ ลกษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ , ั สำนักพิมพ์พำส แอท คิดส์ ,๓๒ เอกรัตน์ อุดมพร, ลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ ,พ.ศ.พัฒนำ,๓๔๘ กุดจี่ , ชุดเสริมทักษะทำงภำษำเรื่องคำลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๔ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๔ , สำนักพิมพ์เบสฟอร์คิดส์ ,๒๔ ฝ่ ำยวิชำกำรปิ กัสโซ, ทดสอบลักษณนำม,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๒ , สำนักพิมพ์ปีกัสโซ, ๓๒
  • 50. ๔๙ สุ ทธิชย ปทุมล่องทอง, ลักษณนำมฉบับปรับปรุง,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๑ , ั สำนักพิมพ์บุ๊คแบงก์, ๑๐๘ จริ ยำ วำณิ ชวิริยะ , คู่มอลักษณนำมไทย,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ๒๕๔๙ ,วิทยพัฒน์, ื ๒๙๖ ฝ่ ำยวิชำกำรสำนักพิมพ์ครี เอทบุ๊คส์ , รวมลักษณนำมทีควรรู้ ,พิมพ์ครั้งที่ ๑ , กรุ งเทพ, ่ ๒๕๔๙ , ครี เอทบุ๊ดส์ , ๒๘๐ ฝ่ ำยตำรำวิชำกำร , คำลักษณนำม ,พิมพ์ครั้งที่ ๓ , กรุ งเทพ, ๒๕๕๑ ,สำนักพิมพ์พี แอลบี, ๑๙๒ บัณฑิตยสภำ,http://www.royin.go.th/th/profile/index.php?SystemModuleKey =265&SystemMenuID=1&SystemMenuIDS=,๒๕๕๐, กรุ งเทพ วลัยภรณ์ , http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5- 5/no22/luksananam.html ,๒๕๔๕ ครู ตอง , http://u-maejao.exteen.com/20050828/entry, ๒๕๔๘
  • 51. ๕๐ ครู วรรณดี,http://www.sahavicha.com/?name=media&file=readmedia&id=3109, ๒๕๕๔,โรงเรี ยนบ้ำนพุขำม สพท.เพชรบูรณ์ เขต 3 ณี รนุช,http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phichit/neeranuch_i /sec01p011.html,๒๕๔๗ ,โรงเรี ยนวัดหนองปล้อง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำพิจิตร เขต 1