SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 72

















































 

 


 


 


 


 







การสหกรณในประเทศไทยเริ่มขึ้นในปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ และ
ไดมีการศึกษาพัฒนาอยางตอเนื่อง จนกระทั่งมีการจัดตั้งสหกรณแหงแรก คือ
สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช ณ ทองที่อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดย
จดทะเบียนเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๔๕๙ มีพระราชวรวงศเธอกรมหมื่น
พิทยาลงกรณ ทรงเปนนายทะเบียนสหกรณพระองคแรก จากวันนั้นเปนตนมา
การสหกรณในประเทศไทยไดเติบใหญขึ้นมาตามลําดับ ปจจุบันมีสหกรณ
จํานวนทั้งสิ้น ๗,๙๖๔สหกรณและมีสมาชิกสหกรณจํานวน๑๐.๘ ลานครอบครัว
ปริมาณธุรกิจรวมกันทั้งสิ้น ๒ ลานลานบาทตอป คิดเปนรอยละ ๑๘.๙๕
ของผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) โดยสามารถแยกประเภทของ
ธุรกิจที่สหกรณดําเนินการ ไดแกธุรกิจรับฝากเงิน จํานวน๕๕๙,๘๐๙.๒ ลานบาท
ธุรกิจการใหเงินกูจํานวน ๑,๒๔๙,๗๖๓.๓ ลานบาทธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย
จํานวน๗๑,๔๑๙.๐ลานบาทธุรกิจรวบรวมผลผลิตจํานวน๑๒๐,๗๐๐.๘ลานบาท
ธุรกิจการแปรรูปผลผลิต จํานวน ๓๔,๗๐๘.๘ ลานบาท และธุรกิจบริการ จํานวน
๑๒,๖๖๒.๐ ลานบาท (ขอมูล ณ ๑ มกราคม ๒๕๕๕)จากขอมูลดังกลาวจะเห็นได
วาสหกรณในประเทศไทยมีบทบาทสําคัญตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ
สามารถเพิ่มมูลคาผลผลิต สรางการจางงาน และชวยเพิ่มมูลคาของ
ผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ นอกจากนั้น สหกรณยังมีบทบาทสําคัญตอสังคม
และสิ่ งแวดลอม โดยการนําอุดมการณ หลักการ และวิธีการสหกรณ
สอนใหสมาชิกสหกรณรูจักการชวยตนเอง ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ยึดหลัก
ประชาธิปไตยในการบริหารองคกรรวมกันดูแลชวยเหลือใสใจในชุมชน
รวมทั้งการจัดสวัสดิการใหกับสมาชิกและชุมชน ประกอบกับ องคการ



สหประชาชาติ ตระหนักถึงความสําคัญของวิธีการสหกรณ รวมทั้งบทบาทของ
สหกรณตอเศรษฐกิจและสังคม และการแกไขปญหาความยากจน องคการ
สหประชาชาติ จึงไดประกาศใหป ๒๐๑๒ เปนปสากลแหงการสหกรณ เรียกรอง
ใหรัฐบาลของประเทศตางๆ ทั่วโลก ตระหนักในคุณคาของบทบาทสหกรณ
ในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม และความยากจนของประเทศ และขอ
ใหรัฐบาลของประเทศตางๆ ขยายเผยแพรหลักสหกรณไปในหมูประชาชน
เพื่อใหประชาชนใชหลักสหกรณในวิถีชีวิตของตนเอง
จากรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การสงเสริมและสนับสนุนให
สหกรณเปนวาระแหงชาติ ในโอกาสทศวรรษ ครบ ๑๐๐ ป ของการสหกรณไทย
ของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดเห็น
ความจําเปนในการผลักดันใหสหกรณเขาสูวาระแหงชาติดังนี้
๑. สหกรณไทยไดรับการยอมรับวาเปนกลไกสําคัญในการ
พัฒนาประเทศโดยกําหนดอยูในรัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐบาลอยาง
ตอเนื่อง
ตั้งแตไดมีการจัดตั้งสหกรณขึ้นมาในประเทศไทย การสหกรณ
ไดรับการยอมรับเปนที่เชื่อถือศรัทธาวาเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่สําคัญในการแกไข
ปญหา และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมของชาติ จะเห็นไดจากการกําหนด
บทบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญฯ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งไดกําหนด
เรื่องสหกรณไวในสวนที่ ๗ แนวนโยบายดานเศรษฐกิจมาตรา ๘๔(๙) วารัฐตอง
ดําเนินการสงเสริม สนับสนุน และคุมครองระบบสหกรณใหเปนอิสระและ
การรวมกลุมกันประกอบอาชีพหรือวิชาชีพตลอดทั้งการรวมกลุมของประชาชน
เพื่อดําเนินกิจการดานเศรษฐกิจซึ่งทุกรัฐบาลไดใหความสําคัญและสนับสนุน
โดยกําหนดเปนนโยบายของรัฐบาลมาโดยตลอดเชนกัน
๒. สหกรณเปนกลไกสําคัญในการสรางความเขมแข็งของ
กลุมเศรษฐกิจและสังคมทั้งในชนบทและในเมืองของประเทศไทย
สหกรณมีสมาชิกอยูประมาณ ๑๐ ลานคน ครอบคลุมประชากร
ถึงรอยละ ๑๖.๗๒ ของประชากรในประเทศเปนสมาชิกสหกรณภาคการเกษตร
และกลุมเกษตรกร ซึ่งเปนกลุมผูผลิตในชนบทประมาณ ๖.๗ ลานคน มีทุน
ดําเนินงานมากกวา ๑๑๓ ลานบาท มีปริมาณธุรกิจมากกวา ๑๙๒ ลานบาท


มีปริมาณธุรกิจรวมสหกรณทุกประเภทมากกวา1 ลานลานบาทคิดเปนรอยละ๑๑
ของผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (GDP) เปนศูนยรวมในการจัดสวัสดิการ
สังคมทั้งในชนบทและในเมืองสามารถแกปญหาความออนแอของระบบเศรษฐกิจ
และเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม
๓. สหกรณเปนการสรางการมีสวนรวม สงเสริมใหเกิดความ
รวมมือกันของประชาชน
สหกรณเปนการดําเนินการรวมกันของสมาชิกสหกรณบน
พื้นฐานความเปนประชาธิปไตยดวยความอิสระ เอื้ออาทรกันตามหลักการสหกรณ
และเชื่อมั่นในการพึ่งพาตนเอง และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ดังนั้นหากไดมี
การสนับสนุน พัฒนาสหกรณใหเปนไปตามอุดมการณ หลักการและวิธีการ
สหกรณที่ถูกตองแลวยอมทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูและทํากิจกรรม
รวมกันอยางสม่ําเสมอ สรางความสมานฉันทปรองดองของคนในชาติสามารถ
รวมพลังกันสรางสันติสุขใหแกชุมชนและสังคม
๔. สหกรณเปนกลไกสรางการเรียนรูวิถีแหงประชาธิปไตย
ในระยะยาวยอมรับความคิดเห็นของคนสวนใหญเปนการปูพื้นฐานความรู
ดานการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ตามหลักการของสหกรณมีการบริหารและการควบคุมบน
พื้นฐานของความเปนประชาธิปไตยทุกขั้นตอน การสงเสริมใหสหกรณมี
ความเจริญกาวหนาเขมแข็งมั่นคงตลอดจนการปลูกฝง การเรียนรูประชาธิปไตย
ตั้งแตเยาวชนดวยวิธีการสหกรณในระบบการศึกษาของชาติจะทําใหระบบ
ประชาธิปไตยไดซึมซับไปสูประชาชนไดอยางถูกตองและจะเปนกลไกหนึ่ง
ในการสรางนักประชาธิปไตยที่ดีในอนาคต
๕. ระบบสหกรณมีอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ
สามารถแกปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกโดยการชวยตนเอง
และชวยเหลือซึ่งกันและกันสอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
อุดมการณสหกรณเปนความเชื่อถือรวมกันวา การพึ่งพาตนเอง
การชวยเหลือซึ่งกันและกัน โดยมีหลักการสหกรณ (Co-operative principles)
๗ ขอเปนแนวทางในการปฏิบัติมีวิธีการซึ่งเกิดจากการนําหลักการสหกรณ
มาประยุกตใชหากรวมแนวทางในการดําเนินชีวิตตามวิธีสหกรณอยางแทจริง


แลวยอมสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความมีเหตุผล ความพอ
ประมาณและการมีภูมิคุมกันบนพื้นฐานของความรูและคุณธรรมเชนกัน
๖. สหกรณเปนองคกรที่เปนสากลและเปนที่ยอมรับในระดับ
นานาชาติ
สหกรณไดถือกําเนิดครั้งแรกในประเทศอังกฤษและไดมีการ
ขยายไปในหลายประเทศเกือบทั่วโลก มีองคกรกลางในการทําหนาที่ประสาน
ความรวมมือของสหกรณระหวางประเทศ เรียกวา องคกรสัมพันธภาพสหกรณ
ระหวางประเทศ (International Co-operativeAllianceหรือ ICA) ซึ่งเปนที่ยอมรับ
ในระดับสากลทั่วไป โดยสหกรณทั่วโลกจะมีอุดมการณและหลักการเดียวกัน คือ
หลักการพึ่งพาตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกัน ทําใหสหกรณเกิดการพัฒนา
ไดอยางเปนขบวนการและตอเนื่อง
๗. รัฐไดใชสหกรณเปนสวนหนึ่งของเครื่องมือในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตั้งแตป ๒๕๔๙ และระบบสหกรณ
ดําเนินงานมาจะครบ๑๐๐ปในป๒๕๕๙
สหกรณเปนอีกแนวทางหนึ่งในการแกไขปญหา ไมวาจะเปน
ปญหาหนี้นอกระบบของประชาชน ปญหาการไมมีที่ดินทํากินของเกษตรกร
การสรางความมั่นคงในภาคแรงงาน ซึ่งสามารถปรับวัตถุประสงคใหสอดคลอง
กับปญหาไดอยางเหมาะสม นอกจากนั้นยังเปนกลไกของภาครัฐในการ
กระตุนการออมของภาคประชาชนและเปนกลไกการตลาดที่สําคัญในการ
ตอบสนองตอการประกันรายไดเกษตรกรใหสามารถแขงขันและพัฒนาทั้งดาน
เศรษฐกิจและสังคมกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนได เนื่องจากระบบสหกรณ
ไดรับการศึกษาและยอมรับมาอยางตอเนื่องยาวนานวาเปนกลไกสําคัญในการ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการปกครองของประเทศจากโครงการพระราชดําริ
ในองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ทรงใชสหกรณเปนเครื่องมือ
สําคัญในการพัฒนาประเทศมาอยางตอเนื่องสหกรณทําใหเกิดประโยชนตอ
สมาชิกชุมชน และประเทศชาติอยางมาก


ทั้งนี้แมวาวิธีการสหกรณจะสามารถแกไขปญหาดานเศรษฐกิจ
สังคม ปญหาความยากจนและปญหาอื่นๆ แตกลับพบวาสหกรณยังมีปญหาใน
เรื่องการบริหารจัดการยังขาดประสิทธิภาพกลไกภาครัฐยังไมไดใหการสนับสนุน
ที่เหมาะสม การสงเสริมความรูความเขาใจตอแนวคิดของสหกรณไมขยายไปสู
ประชาชนและผูเกี่ยวของที่จะใชประโยชนจากระบบสหกรณไดอยางถูกตอง
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เพื่อใหระบบสหกรณเปนระบบที่สามารถ
แกไขปญหาดานเศรษฐกิจ สังคม และปญหาความยากจนของประเทศได
อยางยั่งยืน คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ วุฒิสภาจึงเห็นสมควร
เสนอให “สหกรณเปนวาระแหงชาติ” โดยมีแนวทางดําเนินการหลังการประกาศ
“สหกรณเปนวาระแหงชาติ” โดยคาดหวังวาหากสหกรณไดรับการพิจารณาเปน
วาระแหงชาติ จะมีผลในทางปฏิบัติในเรื่องที่สําคัญ ดังนี้
๑. เปนเครื่องมือสําคัญในการรองรับนโยบายทางดานเศรษฐกิจ
ของรัฐบาลไดอยางเต็มที่ เชน นโยบายประกันรายไดเกษตรกร ปญหาจากผล
ของ AFTA สหกรณสามารถรองรับการตลาดผลผลิตการเกษตรได นโยบาย
สงเสริมการออมภาคประชาชน การแกปญหาหนี้สินนอกระบบ โดยสหกรณเปน
แหลงการออมที่สําคัญของภาคประชาชน เปนตน
๒. เปนกลไกสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับมหภาคโดย
การขับเคลื่อนและพัฒนาการรวมกลุมเศรษฐกิจและสังคมในชนบทที่มี
หลากหลายใหสามารถบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพโดยใชวิธีการสหกรณ
เพื่อลดความซ้ําซอน สรางความชัดเจน และความเอกภาพแกระบบการสงเสริม
กลุมของรัฐ รวมถึงเปนการปฏิรูประบบการออมของประเทศที่ประชาชน
สามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว
๓. เปนกลไกสรางการเรียนรู วิถีแหงประชาธิปไตยในระยะยาว
โดยปลูกฝงประชาธิปไตยตั้งแตระดับเยาวชน ผานกิจกรรมสหกรณไดอยางเปน
รูปธรรม อันจะทําใหเกิดการซึมซับวิธีการประชาธิปไตยที่ถูกตอง


กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตระหนักถึงบทบาทของสหกรณ
ที่เปนองคกรสําคัญของสังคม ในการแกไขปญหาเศรษฐกิจและสังคม รวม
ถึงการแกไขปญหาความยากจน และการพัฒนาชนบท จึงเห็นควร ที่จะเผยแพร
ขยายวิธีการสหกรณไปในหมูประชาชน รวมทั้งในชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ
ผลักดันใหองคกรประชาชนและประชาชนใชวิธีการสหกรณเปนวิถีชีวิต ซึ่งใน
การผลักดันใหวิธีการสหกรณแพรขยายในหมูประชาชน จําเปนที่สวนราชการ
ตางๆ และองคกรประชาชนทุกภาคสวน ตองรวมกันผลักดันรวมกันทําบทบาท
หนาที่ของตนในการสงเสริมสนับสนุน
ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยกรมสงเสริมสหกรณซึ่ง
มีหนาที่หลักในการเผยแพรการสหกรณ ไดดําเนินการขับเคลื่อนเพื่อ
ใหรัฐบาลประกาศวาระแหงชาติดานการสหกรณ โดยไดยกรางขอเสนอวาระ
แหงชาติดานการสหกรณ แลวจัดเวทีเพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของจากสวนราชการ
และขบวนการสหกรณไดแสดงความคิดเห็นตอรางขอเสนอวาระแหงชาติดังกลาว
และไดนําความคิดเห็นตางๆ มาใชประกอบในการปรับปรุงแกไขรางขอเสนอ
วาระแหงชาติดานการสหกรณใหมีความครอบคลุม ครบถวน และสมบูรณมาก
ยิ่งขึ้น ตอมากระทรวงเกษตรและสหกรณไดนําเสนอรางขอเสนอวาระแหงชาติ
ดานการสหกรณใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อประกาศใหการสหกรณเปนวาระ
แหงชาติ



กระทรวงเกษตรและสหกรณไดจัดสงขอเสนอวาระแหงชาติดาน
การสหกรณใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา ซึ่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรีไดมีมติ ดังนี้
มติคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ
จังหวัดสุรินทรมีมติเห็นชอบในหลักการการประกาศใหสหกรณเปนวาระแหงชาติ
และมอบหมายใหกระทรวงเกษตรและสหกรณรับไปบูรณาการรวมกับกระทรวง
การคลัง กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย กระทรวงมหาดไทย
และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทํายุทธศาสตรและรายละเอียดตางๆ
ที่จะดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนการสหกรณ รวมทั้งบูรณาการหนวยงาน
ที่เกี่ยวของใหชัดเจน
มติคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ ณ
จังหวัดสุราษฎรธานี มีมติเห็นชอบ ในหลักการยุทธศาสตรและแนวทางใน
การดําเนินงานตามขอเสนอวาระแหงชาติดานการสหกรณ และใหหนวยงาน
ที่เกี่ยวของดําเนินการตามยุทธศาสตรและแนวทางในการดําเนินงานตามที่
กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ




ยุทธศาสตรวาระแหงชาติดานการสหกรณ ๕ ยุทธศาสตร
ประกอบดวย
ยุทธศาสตรที่ ๑ สรางและพัฒนาการเรียนรูและทักษะการ
สหกรณสูวิถีชีวิตประชาชนในชาติ
ยุทธศาสตรที่ ๒ สนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุมของประชาชน
ดวยวิธีการสหกรณใหเปนฐานรากสําคัญใน
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตรที่ ๓ เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือขายระบบ
การผลิต การตลาดและการเงิน ของสหกรณ
ยุทธศาสตรที่ ๔ สนับสนุนแผนพัฒนาการสหกรณใหเปน
เครื่ องมือในการสรางความเขมแข็งของ
ขบวนการสหกรณ
ยุทธศาสตรที่๕ ปฏิรูปโครงสรางหนวยงานภาครัฐ ขบวนการ
สหกรณและปรับปรุงกฎหมายสหกรณ ใหเอื้อ
ตอการพัฒนา
เพื่อใหประชาชนในชาติรับรูและเขาใจการสหกรณพรอมทั้งนํา
ไปใชในวิถีชีวิตและการดําเนินงานอยางจริงจังและตอเนื่อง เพื่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยอยางยั่งยืนตอไป




เปาหมาย
๑. ประชาชนในชาติรับรูเขาใจการสหกรณ และศรัทธาตอระบบสหกรณ
เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด
๑.๑ รอยละของจํานวนประชาชนในชาติที่มีความรูความเขาใจ
เกี่ยวกับการสหกรณเพิ่มขึ้น
๒. ประชาชนในชาตินําความรูเกี่ยวกับการสหกรณไปใชปฏิบัติในวิถีชีวิต
และใชเปนแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน
ตัวชี้วัด
๒.๑ จํานวนประชาชนในชาติที่นําความรูเกี่ยวกับการสหกรณ
ไปใชปฏิบัติในวิถีชีวิต
๒.๒ จํานวนกลุมเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนที่นําความรูเกี่ยวกับ
การสหกรณไปใช ในการดําเนินงาน
๒.๓ จํานวนเครือขายความรวมมือของกลุมเศรษฐกิจและสังคม
สหกรณ/กลุมเกษตรกรที่เกิดขึ้นทั้งทางดานการผลิต
การตลาด และการเงิน
๒.๔ สัดสวน ปริมาณธุรกิจในระบบสหกรณ ตอ มูลคา GDP
ของประเทศไทย
๒.๕ จํานวนสหกรณที่ไดรับการจัดตั้งสงเสริม พัฒนาและสนับสนุน
การดําเนินงาน



๓. หนวยงานและกฎหมายที่เกี่ยวของไดรับการปฏิรูปหรือปรับปรุงใหมี
เอกภาพและสอดคลองเพื่อสนับสนุน การดําเนินงานตามระบบสหกรณ
เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด
๓.๑ หนวยงานที่เกี่ยวของในขบวนการสหกรณไดรับการปฏิรูป
ใหมีความเปนเอกภาพ
๓.๒ กฎหมายสหกรณไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหเหมาะสม
และสอดคลองเพื่อสนับสนุน การดําเนินงานของสหกรณ


 
สรางและพัฒนาการ
เรียนรูและทักษะ
การสหกรณสูวิถี
ชีวิตประชาชน
ในชาติ
 
สนับสนุนแผน
พัฒนาการสหกรณ
ใหเปนเครื่องมือ
ในการสรางความ
เขมแข็งของ
ขบวนการสหกรณ
 
ปฏิรูปโครงสราง
หนวยงานภาครัฐ
ขบวนการสหกรณ
และปรับปรุง
กฎหมายสหกรณ
ใหเอื้อตอการพัฒนา
 
ผลักดันการจัดการ
เรียนรูและทักษะ
การสหกรณสูวิถี
ชีวิตประชาชนใน
ระบบการศึกษา
 
สนับสนุนและพัฒนา
การรวมกลุมของ
ประชาชนดวยวิธีการ
สหกรณใหเปน
ฐานรากสําคัญใน
การพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม
 
เพิ่มศักยภาพการ
เชื่อมโยงเครือขาย
ระบบการผลิต
การตลาดและ
การเงินของสหกรณ
 
สรางเครือขายกลุม
ผูผลิตสินคา
คุณภาพเพื่อยก
ระดับสินคาสหกรณ
ใหไดมาตรฐาน
 
ผลักดันแผนพัฒนา
การสหกรณสูการ
ปฏิบัติ
 
การปฏิรูปโครงสราง
หนวยงานภาครัฐ
ที่เกี่ยวกับงาน
สงเสริมสหกรณ
 
ปฏิรูปโครงสราง
สันนิบาตสหกรณ
แหงประเทศไทย
 
ปรับปรุงโครงสราง
ชุมนุมสหกรณ
และสหกรณ

 
สรางความเขมแข็ง
ใหกลุมเศรษฐกิจและ
สังคมในชุมชน
โดยใชวิธีการสหกรณ
เปนแนวทางในการ
ดําเนินงาน
 
ปรับปรุงกฎหมาย
สหกรณใหเอื้อตอ
การสงเสริมและ
พัฒนาสหกรณ
ภายใตหลักการ
อุดมการณและ
วิธีการสหกรณ
ใหเหมาะสมกับ
แตละประเภท
สหกรณ
 
สงเสริมและ
สนับสนุนให
องคกรปกครอง
สวนทองถิ่นใช
ระบบสหกรณเปน
กลไกในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
ของชุมชน
 
สรางเครือขาย
การตลาดสินคา
สหกรณ
 
เชื่อมโยง
เครือขายทาง
การเงินสหกรณ
 
สรางและผลักดัน
การจัดการเรียนรู
และทักษะการ
สหกรณสูวิถีชีวิต
ประชาชนนอกระบบ
การศึกษา

 
พัฒนาและปรับปรุง
อํานาจหนาที่ของ
หนวยงานที่
เกี่ยวของกับกฎหมาย
สหกรณใหเอื้อตอ
การพัฒนาและ
สงเสริมสหกรณ

ยุทธศาสตรสรางและพัฒนาการเรียนรูและทักษะเรื่องการสหกรณ
มีวัตถุประสงคเพื่อทําใหเกิดองคความรู และทักษะเรื่องการสหกรณแกประชาชน
ทั้งที่อยูในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษาจนเกิดความรู ความเขาใจ
ศรัทธาเชื่อมั่นในระบบสหกรณและไดนําไปใชในการดํารงชีวิตเปนการแกไข
ปญหาแกชาติไดทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมไดในทุกระดับ การศึกษา
จึงเปนเรื่องสําคัญอันจะสงผลใหครอบครัว ชุมชน และสังคมที่อยูรวมกันดวย
ความรวมมือ มีความรักความสามัคคี มีความเอื้ออาทรตอกัน อยางสันติสุข
กอใหเกิดการพัฒนาในทุกระดับอยางมั่นคง ยั่งยืน องคการสัมพันธภาพสหกรณ
ระหวางประเทศ จึงกําหนดใหการอบรม ศึกษา สารสนเทศ เปนหลักการขอที่
๕ ในจํานวนหลักการ ๗ ขอ โดยประกาศไว ดังนี้ Education, Training and
Information Co-operatives provide education and training for their
member, elected representatives, managers and employee, so they can
contribute effectively to the development of their co-operative. They
also inform the general public, particularly young the general and opinion
leaders, about the nature and benefits of co-operation.
สหกรณพึงใหการศึกษาและการฝกอบรมแกมวลสมาชิกตัวแทนสมาชิกผูจัดการ
และพนักงานเพื่อบุคคลเหลานั้นสามารถชวยพัฒนาสหกรณของตนไดอยางมี
ประสิทธิผล รวมถึงการใหขาวสารแกสาธารณชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเยาวชน
และบรรดาผูนําทางความคิดในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชนของสหกรณได
ดังนั้น ถายทอดองคความรู โดยวิธีที่เหมาะสมใหกับกลุมเปาหมาย
เพื่อใหเกิดความรู เกิดทักษะ โดยการทํากิจกรรม เกิดความชํานาญโดยการ
ปฏิบัติ จนสามารถใชวิธีการสหกรณในวิถีชีวิตของประชาชนไดอยางเหมาะสม
จึงแบงกลุมเปาหมายในการจัดการเรียนรูออกเปน ๒ สวน คือ กลุมเปาหมาย
ในระบบการศึกษา และนอกระบบการศึกษา เพื่อใหสามารถครอบคลุม
ประชาชนในชาติใหไดมากที่สุด





เปนการบริหารจัดการองคความรูเรื่องการสหกรณ การปลูกฝง
คานิยมสหกรณและการพัฒนาทักษะตั้งแตวัยเด็กผานระบบการศึกษาทั้งในและ
นอกสถานศึกษาภาครัฐ และเอกชน ในทุกระดับชั้น ทุกระดับพื้นที่ ทุกรูปแบบ
การศึกษาตั้งแตระดับประถม มัธยม อาชีวะ และอุดมศึกษา เพื่อใหสามารถใช
วิธีสหกรณเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตได โดยกระทรวงศึกษาธิการประกาศนโยบาย
กําหนดการเรียนรูการสหกรณเขาสูระบบการศึกษา จัดกิจกรรมเพื่อสรางทักษะ
เรื่องการสหกรณ และสนับสนุนการจัดการเรียนรู การสหกรณเพื่อความยั่งยืนใน
สถานศึกษา สามารถใชองคความรูกิจกรรมสหกรณที่ดําเนินการในสถานศึกษา
เปนศูนยกลางการเรียนรูและเผยแพรการสหกรณแกชุมชน หนวยงานและองคกร
ตางๆ จัดใหมีครูสหกรณหรือครูเครือขายเปนวิทยากรประจําสถานศึกษา ขยาย
ความรวมมือกับสถานศึกษาที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบสหกรณตอไป
เพื่อใหเกิดขวัญและกําลังใจในการจัดการเรียนรูการสหกรณในระบบการศึกษา
เห็นสมควรใหมีการประกาศให วันที่ ๗ มิถุนายน เปนวันกิจกรรมสหกรณ
นักเรียน เนื่องดวยวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๓๔ เปนวันแรกที่ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดมีรับสั่ง ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐานกับ
อธิบดีกรมสงเสริมสหกรณ ในขณะนั้น (นายเสงี่ยม มาหมื่นไวย) ใหมี
การสอนสหกรณแกเด็กนักเรียนในโรงเรียน ตชด. จึงไดมีการดําเนินการจัดการ
เรียนการสอนสหกรณในโรงเรียนและขยายผลมาจนปจจุบัน และควรจัดให
มีการมอบรางวัลสถานศึกษาตนแบบในการจัดการเรียนรูสหกรณเปนรางวัล
ระดับชาติ เปนประจําทุกป




เปนการบริหารจัดการองคความรูเรื่องการสหกรณการปลูกฝง
คานิยมของสหกรณและการพัฒนาทักษะผานระบบการถายทอดองคความรูที่
เหมาะสมในทุกมิติของกลุมเปาหมายนอกระบบการศึกษา รวม4 กลุมเปาหมาย
ซึ่งประกอบดวยบุคคลที่อยูในขบวนการสหกรณ/กลุมเกษตรกร ทุกระดับ ผูนํา
ชุมชน/กลุมองคกรตางๆ เจาหนาที่หนวยงานภาครัฐ/องคกรปกครองสวนทองถิ่น/
ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป โดยการยกระดับการเรียนรูการสหกรณให
แกบุคคลในขบวนการสหกรณ/กลุมเกษตรกรการถายทอดองคความรูการสหกรณ
สูผูนําชุมชนและกลุมองคกรประชาชนเสริมสรางความรูความเขาใจการสหกรณ
สูหนวยงานภาครัฐ/องคกรปกครองสวนทองถิ่น/ภาคเอกชน การเผยแพรความรู
การสหกรณสูประชาชนและการสรางและสนับสนุนการจัดการเรียนรูการสหกรณ
เพื่อความยั่งยืน โดยใชสหกรณ/กลุมเกษตรกร เปนศูนยการเรียนรูการสหกรณ
ที่เนนการปฏิบัติที่เกิดผลเปนรูปธรรมใหแกชุมชนในลักษณะการพัฒนาแบบ
สามประสานคือ บาน วัด โรงเรียน (บ-ว-ร) และขยายผลศูนยการเรียนรูสหกรณ
ในระดับจังหวัดหรือภูมิภาคในลักษณะที่เหมาะสมกับกิจกรรม การสรางเครือขาย
วิทยากรสหกรณจากบุคคลในขบวนการสหกรณ/กลุมเกษตรกร ผูนําชุมชน
ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงความรูดานตางๆ ประชาชนที่เชื่อมั่นศรัทธาและผูนําดาน
ศาสนาเปนตนสงเสริมใหชุมชนใชหลักการและวิธีการสหกรณในการแกไขปญหา
และพัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม อยางจริงจัง จัดใหมีการมอบรางวัลระดับ
ชาติสําหรับชุมชน หนวยงาน องคกร ตนแบบที่ใชระบบสหกรณ เผยแพรความรู
การสหกรณผานสื่อที่ทันสมัย และเหมาะสมเพื่อใหเกิดการเขาถึงการเรียนรู
อยางกวางขวาง ทั่วถึงจัดใหมีการรับรองผลการศึกษาอยางเปนระบบสงเสริม
สหกรณ/กลุมเกษตรกร ใหกําหนดคุณสมบัติผูบริหารที่ตองมีความรูในการ
บริหารงานแบบสหกรณในแตละระดับไวในขอบังคับ เปนตน





เนื่องจากการสรางและพัฒนาการเรียนรูและทักษะการสหกรณ
สูวิถีชีวิตประชาชนในชาติ เปนเรื่องที่ตองทําในทุกระดับ ทุกกลุมคน ตั้งแตเด็ก
จนถึงผูใหญและตอเนื่องตลอดชีวิตจึงเปนเรื่องใหญซึ่งตองใชระยะเวลาอยางตอเนื่อง
เพื่อใหเกิดความยั่งยืนจึงสมควรดําเนินการจัดใหมีสํานักงานจัดการเรียนรูการ
สหกรณขึ้นเปนหนวยงานหลักในการรับผิดชอบและประสานซึ่งในระยะแรก
ใหกรมสงเสริมสหกรณรวมกับสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยรวมกันดําเนินการ
บริหารโดยคณะกรรมการสงเสริมการจัดการเรียนรูสหกรณและในอนาคตสันนิบาต
สหกรณแหงประเทศไทยจะตองเปนองคกรหลักในการดําเนินการ นอกจากนั้น
สมควรจัดตั้งวิทยาลัยการสหกรณขึ้นโดยใหอยูในความรับผิดชอบของสันนิบาต
สหกรณแหงประเทศไทยเพื่อใหเปนสถานศึกษาเฉพาะดานเพื่อการสรางและพัฒนา
บุคคลดานสหกรณ รวมทั้งสนับสนุนใหมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเรียนรู
โดยสหกรณ/กลุมเกษตรกร หนวยงานภาครัฐ/องคกรปกครองสวนทองถิ่น/เอกชน
เพื่อใหเกิดการมีสวนรวมในการพัฒนาและขยายผลการจัดการเรียนรูดานสหกรณ
อยางยั่งยืน ตอไป


การสนับสนุนและพัฒนาการรวมกลุมของประชาชน จะทําให
เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ใหเขมแข็งโดยเริ่มจากการทําใหครัวเรือนซึ่งเปน
หนวยเศรษฐกิจที่เล็กที่สุด สามารถพึ่งพาตนเองไดบนความพอเพียง โดยใช
วิธีการสหกรณในวิถีชีวิตและสนับสนุนครัวเรือนใหเกิดการรวมกลุมให
สอดคลองกับศักยภาพภูมิปญญา วัฒนธรรมทองถิ่นและความตองการแกปญหา
ของคนในชุมชน ในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อกอให
เกิดการเพิ่มมูลคาของทรัพยากร การสรางงานสรางรายได และสวัสดิการของคน
ในชุมชน เชน กลุมการผลิต กลุมอาชีพกลุมออมทรัพยเปนตนและการจัดการ
ทุนของชุมชนโดยการรวมทุนและรวมกันในการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ เพื่อ
ประโยชนของคนในชุมชน และคนในชุมชนเปนเจาของรวมกัน ทําใหเกิดการสราง
อาชีพ สรางรายได และการกระจายรายไดอยางเปนธรรม โดยใชวิธีการสหกรณ
ในการบริหารจัดการ เพราะการสหกรณมีความเปนสากล มีอุดมการณ
หลักการชัดเจนและสามารถยืดหยุนไดตามการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ
และสังคม





กลุมทางเศรษฐกิจและสังคมในทองถิ่นซึ่งมีอยูเปนจํานวนมาก เชน
กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมวิสาหกิจชุมชน กลุมอาชีพในสหกรณ เปนตน
โดยกลุมเหลานี้เปนฐานเศรษฐกิจสําคัญในชนบท มีบทบาทในการสรางรายได
ใหประชากรในทองถิ่นไมนอย ลักษณะและวิธีการบริหารกลุม มีความแตกตาง
และหลากหลาย ทั้งนี้บางกลุมถูกจัดตั้งขึ้นมาเพราะเหตุผลทางการเมือง เพื่อ
รองรับการชวยเหลือดานเงินทุนจากภาครัฐแลวก็สลายตัวไป จากนั้นก็จัดตั้งขึ้น
ใหมตามความชวยเหลือของภาครัฐ กลุมตางๆ เหลานั้นยังถูกกํากับจากสวน
ราชการที่ตางกัน เชน กรมการพัฒนาชุมชน กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริม
สหกรณเปนตนมีทั้งความซ้ําซอนและไมครอบคลุมในการชวยเหลือกลุมและไมได
สรางความรวมมือที่จะเรียนรูซึ่งกันและกัน และพัฒนาไปดวยกันเพื่อใหกลุม
ตางๆเหลานั้นมีความเขมแข็งขึ้นสามารถพึ่งพาตนเองไดอีกทั้งยังขาดหนวยงาน
หรือองคกรที่จะทําหนาที่ประสานงานหรือบูรณาการแผนงาน และงบประมาณ
จึงเปนการสูญเสียงบประมาณของรัฐจํานวนมากนอกจากนี้การบริหารงานบางกลุม
ยังมีวิธีการบริหารกลุมที่ไมเอื้อประโยชนแกสวนรวมซึ่งการใชวิธีการสหกรณจะ
เปนวิธีการที่เที่ยงธรรมในการบริหารกลุมจะทําใหกระจายผลประโยชนแกสมาชิก
อยางทั่วถึงมากขึ้น โดยไมจําเปนตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลในรูปแบบสหกรณ
และยังอยูภายใตการดูแลของหนวยงานเดิม
สงเสริมและสนับสนุนกลุมเดิมที่มีอยูแลวใหใชวิธีการสหกรณ
โดยหนวยงานตางๆ นําความรูดานการสหกรณไปใชในการแนะนําสงเสริมกลุม
ในความรับผิดชอบใหมีการจัดระเบียบการบริหารจัดการภายในกลุม
สงเสริมสนับสนุนใหกลุมสมาชิกสหกรณ ที่สังกัดสหกรณเดิม
ในทองถิ่น ใหมีการดําเนินกิจกรรมทางดานเศรษฐกิจและสังคมโดยผลักดันให
สหกรณสนับสนุนใหกลุมสมาชิกดําเนินกิจกรรมตางๆ เชน การผลิต การแปรรูป
การจําหนาย การบริการ การขนสง การออม และจัดสวัสดิการ เปนตน





สรางการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนในสังคม ในการสนับสนุน
และสงเสริมการรวมกลุมของประชาชนดวยวิธีการสหกรณ
•กําหนดรูปแบบการขับเคลื่อน วิธีการสหกรณลงสูชุมชน
โดยจัดใหมีคณะกรรมการระดับจังหวัด ระดับอําเภอ ซึ่งประกอบดวยหนวยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคสหกรณ รวมเปนกรรมการ เพื่อ
ทําหนาที่ประสานงานบูรณาการและจัดทําแผนงาน/งบประมาณ ใหมีลักษณะเปน
องครวมเพื่อจัดลําดับความสําคัญและลดความซ้ําซอนในการดําเนินงานและใช
ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ


การใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับตําบลเปนศูนยกลาง
ของสวนราชการโดยมีภารกิจในการบูรณาการผลักดันและพัฒนากลุมทั้งดานเศรษฐกิจ
และสังคมรวมถึงเปนศูนยกลางการใหการศึกษาอบรมและใหเกิดการเรียนรูรวมกัน
โดยมีสวนราชการเดิมที่กํากับอยูเปนผูสนับสนุนจะทําใหลดความซ้ําซอนและสราง
เอกภาพในการบริหารงบประมาณของภาครัฐประกอบกับองคการบริหารสวนทองถิ่น
มีบุคคลที่ใกลชิดกับประชาชนในทองถิ่นอยูแลว จึงทําใหทราบปญหาและ
ศักยภาพของชุมชนนั้นๆ และการปรับเปลี่ยนบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ระดับตําบล เปนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับทองถิ่นมากขึ้น เปน
การแบงเบาภาระและสนับสนุนภารกิจการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของรัฐ
และเปนการกระจายการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคมไดเปนอยางดี
กําหนดนโยบายใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชระบบ
สหกรณในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน
เพิ่มบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยใหเปนหนวยงาน
ที่สนับสนุนสงเสริมพัฒนากลุมเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนที่รวมตัวกันดวย
วิธีการสหกรณโดยใหจัดใหมีเจาหนาที่ที่รับผิดชอบในการสงเสริมกลุมและสหกรณ
ในพื้นที่ จัดใหมีศูนยขอมูลของกลุมในพื้นที่ระดับตําบลประสานงานกับ
หนวยงานตางๆ ในการสงเสริมกลุม เปนตน
สนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสงเสริมการรวมกลุม
ของครัวเรือน เปนองคกรธุรกิจชุมชนดวยวิธีการสหกรณ เพื่อทําใหเกิดการ
สรางงาน สรางรายได และกระจายรายไดของคนในชุมชน





ระบบสหกรณเปนระบบเศรษฐกิจรูปแบบหนึ่งและเปนกลไก
สําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ มี
สหกรณและกลุมเกษตรกรจํานวน ๑๐,๕๒๒ แหง ประกอบดวย ๓ กลุมใหญ คือ
สหกรณภาคการเกษตร สหกรณนอกภาคการเกษตรและกลุมเกษตรกร
มีสมาชิกจํานวน ๑๑.๓๔ลานคน คิดเปนรอยละ๑๗.๒๐ ของประชากรทั่วประเทศ
มีทุนดําเนินงาน ๑.๕๔ ลานลานบาท โดยดําเนินธุรกิจใน ๕ ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจ
รับฝากเงิน ธุรกิจใหสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล/
แปรรูป และธุรกิจการใหบริการ และสงเสริมการเกษตร มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น
๒.๐๖ ลานลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๙.๕๐ ของผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ
(GDP) แสดงใหเห็นถึงศักยภาพทางดานการผลิตและการตลาดของขบวนการ
สหกรณ ดังนั้น หากสหกรณมีการเชื่อมโยงเครือขายในดานการผลิต การตลาด
และดานการเงินของสหกรณอยางเปนระบบยอมสามารถเพิ่มปริมาณธุรกิจ
ของขบวนการสหกรณไดมากขึ้น และจะกอใหเกิดประโยชนแกมวลสมาชิกให
สามารถเขาถึงแหลงทุน ลดคาใชจาย และเพิ่มรายไดเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของสมาชิกสรางความเขมแข็งของระบบเศรษฐกิจและรองรับประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน ดังนั้น ระบบสหกรณ จึงเปนวิธีหนึ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ตั้งแตระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศและระดับอาเซียน





พัฒนากลุมผูผลิตในชุมชนใหเปน“กลุมผูผลิตคุณภาพ”โดยประสาน
เครือขายปจจัยการผลิต เชน แหลงผลิตเมล็ดพันธุดี แหลงผลิตปุยที่ผานการ
ตรวจสอบคุณภาพแหลงจําหนายอุปกรณหรือเครื่องมือในการทําการผลิตอื่น ฯลฯ
เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานและวางแผนการผลิตสินคาของกลุมใหสอดคลองกับ
ความตองการของตลาดสินคาและบริการที่ผลิตภายใตกลุมผูผลิตคุณภาพตองมี
คุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อีกทั้ง พัฒนาศักยภาพ
การผลิตของสหกรณใหสามารถแขงขันดานคุณภาพและการแขงขันดานตนทุน
กอนเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ตอไป




พัฒนาใหสหกรณเปนองคกรทางธุรกิจที่เขมแข็งเปนที่พึ่งของมวล
สมาชิก มีสวนสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะสหกรณภาค
การเกษตรที่มีการดําเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตเปนธุรกิจหลัก การจัดตั้งศูนยกลาง
การคาสินคาสหกรณมีรูปแบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความคลองตัว
โดยใหภาคเอกชนเขารวมทุนในการดําเนินการจะสนับสนุนใหขบวนการสหกรณ
มีการเชื่อมโยงเครือขายการผลิตและการตลาดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเพิ่ม
รายไดแกสมาชิกสหกรณและครอบครัวและเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนใหดีขึ้น




พัฒนาระบบสหกรณใหเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ เพื่อเปนทางเลือกของประชาชนในการเขาถึงแหลงทุน
โดยสมาชิกเปนเจาของรวมกันบนพื้นฐานแหงคุณคาของการพึ่งพาตนเองและ
ชวยเหลือซึ่งกันและกัน การเชื่อมโยงเครือขายทางการเงินของสหกรณโดย
การจัดตั้งศูนยกลางการเงินของสหกรณจะสงผลดีตอการบริหารจัดการเงินของ
ขบวนการสหกรณและเชื่อมโยงไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใน
ภาพรวมตอไป




แผนพัฒนาการสหกรณเปนแผนกําหนดทิศทางการพัฒนาการ
สหกรณทั้งระบบ ที่จัดทําขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแหงชาติ
(คพช.) (ตามมาตรา๙ แหงพระราชบัญญัติสหกรณพ.ศ.๒๕๔๒) จากแผนพัฒนา
การสหกรณฉบับที่๑ (พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๙) และฉบับที่๒ (พ.ศ.๒๕๕๐- ๒๕๕๔)
ที่ผานมา ภาครัฐยังใหการสนับสนุนงบประมาณไมเพียงพอและตอเนื่องในการ
ขับเคลื่อนสหกรณตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนาการสหกรณดังนั้น เพื่อให
แผนพัฒนาการสหกรณสามารถใชเปนเครื่องมือในการสรางความเขมแข็งของ
ขบวนการสหกรณไดอยางมีประสิทธิภาพภาครัฐควรใหการสนับสนุนแผน
พัฒนาการสหกรณสูการปฏิบัติอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมทั้งสรางความเขาใจ
ประสานงานความรวมมือระหวางหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในการผลักดันให
แผนพัฒนาการสหกรณไปสูการปฏิบัติและแตงตั้งคณะกรรมการจากทุกภาคสวน
ที่เกี่ยวของเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานในแตละประเด็นยุทธศาสตร





การผลักดันใหมีการนําแผนพัฒนาการสหกรณไปสูการปฏิบัติ
อยางจริงจังและตอเนื่อง สามารถใชเปนเครื่องมือในการสรางความเขมแข็งของ
ขบวนการสหกรณไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด ดังนี้
๑) สรางความเขาใจ และประสานความรวมมือระหวางภาคีการ
พัฒนาตางๆ ใหสามารถผลักดันแผนพัฒนาการสหกรณไปสูการปฏิบัติที่ชัดเจน
๒) แตงตั้งคณะกรรมการจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของและ
ขบวนการสหกรณทําหนาที่จัดทําและบูรณาการแผนปฏิบัติการรวมทั้งขับเคลื่อน
การดําเนินงานในแตละประเด็นยุทธศาสตรใหสามารถปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม




การปฏิรูปหนวยงานภาครัฐที่ทําหนาที่สงเสริมสหกรณมุง
ที่จะปรับปรุงหนวยงานที่เกี่ยวของใหมีความเปนเอกภาพในการสงเสริมและ
พัฒนาสหกรณ โดยมีเปาหมายที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของหนวยงาน
รวมทั้งทําใหสามารถใหบริการตรงตามความตองการของลูกคาคือสหกรณและกลุม
เกษตรกรไดมากขึ้น อีกประเด็นหนึ่งที่สําคัญคือ การรวมหนวยงานที่ทําหนาที่
สงเสริมสหกรณ และหนวยงานตางๆ ที่สงเสริมการรวมกลุมเศรษฐกิจและ
สังคมของชุมชน มาอยูภายใตสังกัดเดียวกันซึ่งทําใหการเผยแพรวิธีการสหกรณ
สามารถเขาสูชุมชนไดอยางมีพลังและทําใหประชาชนเขาใจระบบสหกรณและใช
วิถีชีวิตแบบสหกรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งในการปฏิรูปหนวยงานที่เกี่ยวกับงานสงเสริม
สหกรณมีผลทําใหตองมีการปรับปรุงกฎหมายสหกรณใหสอดคลองกับโครงสราง
ของหนวยงานที่จะปฏิรูปดวยในขณะเดียวกันกรมสงเสริมสหกรณจะทําการศึกษา
กฎหมายสหกรณที่มีอยูในปจจุบันเพื่อพิจารณาวากฎหมายมาตราใด สวนใด
ที่เปนปญหาหรืออุปสรรคการพัฒนาสหกรณ โดยมีเปาหมายที่จะพัฒนาและ
ปรับปรุงกฎหมายใหเอื้อตอการสงเสริมและพัฒนาสหกรณใหเขมแข็งและอยูภายใต
หลักการ อุดมการณและวิธีการสหกรณเพื่อปกปองผลประโยชนทางเศรษฐกิจ
และสังคมของบรรดาสมาชิก เพื่อใหสหกรณแตละประเภทและกลุมเกษตรกร
มีขอบเขตการดําเนินธุรกิจที่เหมาะสมกับวัตถุประสงคพื้นฐานของสหกรณ
ตรงตามความตองการของสมาชิก และแกไขปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
ของสมาชิกอยางตอเนื่อง




Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop
Coop

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Boletin uady global agosto diciembre 2016
Boletin uady global agosto diciembre 2016Boletin uady global agosto diciembre 2016
Boletin uady global agosto diciembre 2016Andrea Dájer Zapata
 
Las Vegas by Lenore Greiner
Las Vegas by Lenore GreinerLas Vegas by Lenore Greiner
Las Vegas by Lenore GreinerLenore Greiner
 
香蕉是常熬夜應多吃的好水果
香蕉是常熬夜應多吃的好水果香蕉是常熬夜應多吃的好水果
香蕉是常熬夜應多吃的好水果lys167
 
Suite del plata no. 2
Suite del plata no. 2Suite del plata no. 2
Suite del plata no. 2Sergio López
 
劉雪庵的何日君再來
劉雪庵的何日君再來劉雪庵的何日君再來
劉雪庵的何日君再來lys167
 
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistasCircuito Express
 
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONES
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONESCLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONES
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONESguadarramaj
 
How RotaBolt Works
How RotaBolt WorksHow RotaBolt Works
How RotaBolt WorksHayden Parry
 
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2Pressure piping thickness and flange rating calculation 2
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2Thành Lý Phạm
 
Atmosphere & surface energy balance
Atmosphere & surface energy balanceAtmosphere & surface energy balance
Atmosphere & surface energy balanceNagina Nighat
 
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidades
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidadesO estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidades
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidadesMAIKON.biz
 
Using Advanced Presentation Techniques
Using Advanced Presentation TechniquesUsing Advanced Presentation Techniques
Using Advanced Presentation TechniquestheLecturette
 
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư Bản
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư BảnKhủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư Bản
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư BảnThành Lý Phạm
 

Andere mochten auch (20)

Boletin uady global agosto diciembre 2016
Boletin uady global agosto diciembre 2016Boletin uady global agosto diciembre 2016
Boletin uady global agosto diciembre 2016
 
Las Vegas by Lenore Greiner
Las Vegas by Lenore GreinerLas Vegas by Lenore Greiner
Las Vegas by Lenore Greiner
 
香蕉是常熬夜應多吃的好水果
香蕉是常熬夜應多吃的好水果香蕉是常熬夜應多吃的好水果
香蕉是常熬夜應多吃的好水果
 
Reviews
ReviewsReviews
Reviews
 
Team Management
Team ManagementTeam Management
Team Management
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Suite del plata no. 2
Suite del plata no. 2Suite del plata no. 2
Suite del plata no. 2
 
劉雪庵的何日君再來
劉雪庵的何日君再來劉雪庵的何日君再來
劉雪庵的何日君再來
 
Part 2. Basic Body Awareness Therapy. Liv Helvik Skjaerven
Part 2. Basic Body Awareness Therapy. Liv Helvik SkjaervenPart 2. Basic Body Awareness Therapy. Liv Helvik Skjaerven
Part 2. Basic Body Awareness Therapy. Liv Helvik Skjaerven
 
Thesis
ThesisThesis
Thesis
 
Mindfulness y dolor cronico. Silvia Solé
Mindfulness y dolor cronico. Silvia SoléMindfulness y dolor cronico. Silvia Solé
Mindfulness y dolor cronico. Silvia Solé
 
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas
10 dicas para ter melhores resultados nas próximas entrevistas
 
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONES
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONESCLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONES
CLIMA Y COMUNICACIÓN ORGANIZACIONAL EN LAS INSTITUCIONES
 
BPSim Briefing
BPSim BriefingBPSim Briefing
BPSim Briefing
 
How RotaBolt Works
How RotaBolt WorksHow RotaBolt Works
How RotaBolt Works
 
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2Pressure piping thickness and flange rating calculation 2
Pressure piping thickness and flange rating calculation 2
 
Atmosphere & surface energy balance
Atmosphere & surface energy balanceAtmosphere & surface energy balance
Atmosphere & surface energy balance
 
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidades
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidadesO estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidades
O estágio na educação profissional: Desafios e responsabilidades
 
Using Advanced Presentation Techniques
Using Advanced Presentation TechniquesUsing Advanced Presentation Techniques
Using Advanced Presentation Techniques
 
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư Bản
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư BảnKhủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư Bản
Khủng hoảng kinh tế của chủ nghĩa Tư Bản
 

Ähnlich wie Coop

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 

Ähnlich wie Coop (7)

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

Mehr von Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

Coop