SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน

ชื่อโครงงาน : แนวทางการป้องกันแก้ไขผลกระทบของสารเสพติด
สาขาของงานวิจัย : การวิจัยเชิงคุณภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน

    1. นางสาวสัภยา ดวงดี                         เลขที่ 9 ชั้นม.6/5
    2. นางสาวรชยา สมณะ                           เลขที่ 37 ชั้นม.6/5



โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา คุณครู ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 30 วัน.

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน

1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ

        ป้องกันยาเสพติด
ป้องกันตนเอง
- ไม่ทดลองยาเสพติดทุกชนิด
- ถ้ามีปัญหาหรือไม่สบายใจ อย่าเก็บไว้คนเดียว ควรปรึกษาพ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่
- ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ เล่นกีฬาหรือทางานอดิเรกต่างๆตามความสนใจ ความถนัด
- ระมัดระวัง การใช้ยาและศึกษาให้เข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติด

ป้องกันครอบครัว
- ควรสอดส่องดูแลเด็ก และบุคคลในครอบครัวอย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
- อบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษภัยของยาเสพติดดูแลเรื่องการคบเพื่อน
- คอยส่งเสริมให้เขารู้จักการใช้เวลาในทางที่เป็น ประโยชน์ เช่น การทางานบ้าน เล่นกีฬา ฯลฯ เพื่อป้องกันมิ
ให้เด็กหันเหไปสนใจในยาเสพติด
- สิ่งสาคัญก็คือทุกคนในครอบครัวควรสร้างความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
ป้องกันชุมชน
- หากพบผู้ติดยาเสพติดควรช่วยเหลือแนะนาให้เข้ารับการบาบัดรักษาโดยเร็ว โดยการสมัครเข้าขอรับการ
บาบัดรักษายาเสพติดก่อนที่ความผิดจะปรากฏต่อเจ้าหน้าที่กฎหมายยกเว้นโทษให้
- เมื่อรู้ว่าใครผิด นาเข้าส่งออก หรือจาหน่ายยาเสพติดควรแจ้งเจ้าหน้าที่ ตารวจเจ้าหน้าที่ศุลกากรนายอาเภอ
กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ หรือเจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(สานักงาน ป.ป.ส.)


2. วัตถุประสงค์

        1. เพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ไม่ติดยาเสพติด
        2. เพื่อป้องกันการแพร่ยาเสพติด
        3. เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาต้านยาเสพติด
        4. เพื่อรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง
        5. สนองตอบนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับยาเสพติด

3. หลักการและทฤษฎี
        เป็นโครงการสนับสนุนนโยบายป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของกรุงเทพมหานคร และของชาติ

4. คานิยามศัพท์เฉพาะ

          สิ่งเสพติด หรือ ยาเสพติด ในความหมายของ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization or
WHO) จะหมายถึงสิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจต่อไปโดยไม่สามารถหยุด
เสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุด จะทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อร่างกายและจิตใจขึ้น
          พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 ที่ใช้ในปัจจุบันได้กาหนดความหมายสิ่งเสพติด
ให้โทษดังนี้ สิ่งเสพติดให้โทษ หมายถึง "สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย
รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจใน ลักษณะสาคัญ เช่น
ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆ มีอาการขาดยาเมื่อไม่ได้เสพ มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ
อย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลา และทาให้สุขภาพทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืช หรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้
ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ และสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ
ด้วย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจาบ้านบางตารับ
ตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่"


        สิ่งเสพติด หมายถึง สารเคมี หรือสารใดก็ตาม ซึ่งเมื่อบุคคลเสพ หรือรับเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าโดยการฉีด
การสูบ การกิน การดม หรือวิธีอื่น ติดต่อกัน เป็นเวลานาน หรือช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้วจะก่อให้เกิดเรื้อรัง ซึ่ง
จะทาให้เกิดความเสื่อมโทรมขึ้นแก่บุคคลผู้เสพ และแก่สังคมด้วย ทั้งจะต้องทาให้ ผู้เสพแสดงออกซึ่งลักษณะ
ดังนี้
ผู้เสพมีความต้องการอย่างแรงกล้า ที่จะเสพยาชนิดนั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป และต้องแสวงหายาชนิดนั้น ๆ มาเสพ
ให้ได้ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ ก็ตาม
ผู้เสพจะต้องเพิ่มปริมาณของยาที่เคยใช้ให้มากขึ้นทุกระยะ
ผู้เสพจะมีความปรารถนาอยากเสพยาชนิดนั้น ๆ อย่างรุนแรง ระงับไม่ได้ คือ มีการติดและอยากยาทั้งทาง
ด้านร่างกายและจิตใจ


5. ขั้นตอนการดาเนินงาน
       ระยะที่ 1
       1. ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความคิดเห็น และคัดเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน
       2. แบ่งหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มและหาข้อมูลในการดาเนินงาน
       3. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า นามาวิเคราะห์และเลือกใช้ส่วนที่สาคัญ
       4. เขียนเค้าโครงงาน
       5. นาโครงร่างของโครงงานไปปรึกษาและขอคาแนะนาจากอาจารย์
       6. นาข้อเสนอแนะจากอาจารย์มาปรับปรุงโครงงานให้ดีขึ้น


       ระยะที่ 2 ดาเนินการทาโครงงาน โดยมีกิจกรรม ดังนี้
       1. เตรียมเครื่องมือที่จะใช้ในการทา
       ๒.นัดแนะจัดแจงแบ่งวิธีการและกาหนดเวลาอย่างละเอียด
       3. นาเสนอโครงงาน




6. แผนปฏิบัติงาน

                    แผนปฏิบัติงาน การศึกษาเกี่ยวกับการประดิษฐ์ชิ้นงานออกแบบ
                    ชื่อโครงงาน แนวทางการป้องกันแก้ไขผลกระทบของสารเสพติด
ประจาปีการศึกษา 2555
ระยะเวลา โครงงาน / กิจกรรม            รายละเอียด /การดาเนินงาน           วัน / เดือน /    ผู้รับผิดชอบ
  ในการ                                                                        ปี
ดาเนินงาน
 ธันวาคม วางแผนการทางาน           รวมอภิปรายในชั้นเรียน เสนอความคิด      วันแรกของ       สมาชิกในกลุ่ม
  2555                             ของแต่ละคน แล้วร่วมกันเสนอความ           เดือน
                                  คิดเห็น บันทึกการอภิปรายเก็บไว้เพื่อ
                                  เป็นแนวทางแนะแนวการทางานต่อไป
              นัดแนะสถานที่        คุยตกลงเกี่ยวกับเรื่องงานว่าควรทา     สัปดาห์ที่สอง   นางสาวรชยา
                  ทางาน                           อย่างไร
มกราคม       เดินทางไปทางาน             เริ่มการจัดทาสื่อการสอน           สัปดาห์แรก     สมาชิกในกลุ่ม
 2555        รวบรวมข้อมูลที่ได้   ตรวจเช็คสิ่งที่ได้ทาทั้งหมดจากการทา    สัปดาห์ที่สอง   สมาชิกในกลุ่ม
             นาเสนอในรูปแบบ                          สื่อ
            รายงานให้เรียบร้อย


      7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

               1.นักเรียนมีพลานามัยสมบูรณ์
               2. กิจกรรมต่าง ๆ เริ่มมีผู้คนให้ความสนใจมากขึ้น
               3. มีตนแบบเป็นแนวทางให้กับผู้ติดสารเสพติดได้ประพฤติตาม
               4. นักเรียนได้ฝึกกระบวนการ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น แล้วนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
      ได้

               8. เอกสารอ้างอิง
               www.thaigoodview.com
               th.wikipedia.org
               http://school.bangkok.go.th

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZIL
PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZILPRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZIL
PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZILAlkis Vazacopoulos
 
Symfony - A baptism of fire
Symfony - A baptism of fireSymfony - A baptism of fire
Symfony - A baptism of fireTom Corrigan
 
Digital lit daily hw and agenda
Digital lit daily hw and agendaDigital lit daily hw and agenda
Digital lit daily hw and agendajanine420
 
New Retargeting Strategies for 2014
New Retargeting Strategies for 2014New Retargeting Strategies for 2014
New Retargeting Strategies for 2014Dispop
 
Child care subsidy in
Child care subsidy inChild care subsidy in
Child care subsidy inAlicecen
 
Marketing de Defensores
Marketing de DefensoresMarketing de Defensores
Marketing de DefensoresFelipe Thomé
 
Uttarkhand rellief updates 15 july
Uttarkhand rellief updates 15 julyUttarkhand rellief updates 15 july
Uttarkhand rellief updates 15 julydexterousdoc
 
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same Network
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same NetworkSolve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same Network
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same NetworkAlkis Vazacopoulos
 
Springley - Water Case Study
Springley - Water Case StudySpringley - Water Case Study
Springley - Water Case StudyFakhir Rehman
 
Open cloud manifesto
Open cloud manifestoOpen cloud manifesto
Open cloud manifestoatlowe
 
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web Services
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web ServicesParallel Computing for Econometricians with Amazon Web Services
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web Servicesstephenjbarr
 
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全0hanfeng0
 

Andere mochten auch (19)

Researchmethods
ResearchmethodsResearchmethods
Researchmethods
 
PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZIL
PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZILPRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZIL
PRODUCTION PLANNING OF OIL-REFINERY UNITS FOR THE FUTURE FUEL MARKET IN BRAZIL
 
Symfony - A baptism of fire
Symfony - A baptism of fireSymfony - A baptism of fire
Symfony - A baptism of fire
 
NLR PACE Program
NLR PACE ProgramNLR PACE Program
NLR PACE Program
 
Digital lit daily hw and agenda
Digital lit daily hw and agendaDigital lit daily hw and agenda
Digital lit daily hw and agenda
 
New Retargeting Strategies for 2014
New Retargeting Strategies for 2014New Retargeting Strategies for 2014
New Retargeting Strategies for 2014
 
Child care subsidy in
Child care subsidy inChild care subsidy in
Child care subsidy in
 
Examen kerly
Examen kerlyExamen kerly
Examen kerly
 
Marketing de Defensores
Marketing de DefensoresMarketing de Defensores
Marketing de Defensores
 
Uttarkhand rellief updates 15 july
Uttarkhand rellief updates 15 julyUttarkhand rellief updates 15 july
Uttarkhand rellief updates 15 july
 
Planuling & Phasing
Planuling & PhasingPlanuling & Phasing
Planuling & Phasing
 
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same Network
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same NetworkSolve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same Network
Solve Production Allocation and Reconciliation Problems using the same Network
 
Springley - Water Case Study
Springley - Water Case StudySpringley - Water Case Study
Springley - Water Case Study
 
Dlf woodland heights banglore
Dlf woodland heights banglore Dlf woodland heights banglore
Dlf woodland heights banglore
 
Word by word fatima and laura
Word by word fatima and lauraWord by word fatima and laura
Word by word fatima and laura
 
Open cloud manifesto
Open cloud manifestoOpen cloud manifesto
Open cloud manifesto
 
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web Services
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web ServicesParallel Computing for Econometricians with Amazon Web Services
Parallel Computing for Econometricians with Amazon Web Services
 
Lettura
LetturaLettura
Lettura
 
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全
Excel+ppt+word2003使用技巧方法大全
 

Ähnlich wie แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน

สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1Kanya Kongkanond
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1tassanee chaicharoen
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 

Ähnlich wie แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1การทำงานอย่างมีความสุข 1
การทำงานอย่างมีความสุข 1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1กำหนดการสอนสุข1
กำหนดการสอนสุข1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 

Mehr von Fiction Lee'jslism

แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1Fiction Lee'jslism
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานFiction Lee'jslism
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Fiction Lee'jslism
 
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งานโครงงานประเภทการประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งานFiction Lee'jslism
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ Fiction Lee'jslism
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือFiction Lee'jslism
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาFiction Lee'jslism
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมFiction Lee'jslism
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองFiction Lee'jslism
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมFiction Lee'jslism
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมFiction Lee'jslism
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Fiction Lee'jslism
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง MFiction Lee'jslism
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง MFiction Lee'jslism
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง MFiction Lee'jslism
 

Mehr von Fiction Lee'jslism (15)

แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงา1
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งานโครงงานประเภทการประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทการประย กต ใช_งาน
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎ
 
การพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาเครื่องมือ
การพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติม
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติม
 
ข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลเพิ่มเติม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง M
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง M
 
ใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง Mใบงานสำรวจตนเอง M
ใบงานสำรวจตนเอง M
 

แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน

  • 1. แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน ชื่อโครงงาน : แนวทางการป้องกันแก้ไขผลกระทบของสารเสพติด สาขาของงานวิจัย : การวิจัยเชิงคุณภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวสัภยา ดวงดี เลขที่ 9 ชั้นม.6/5 2. นางสาวรชยา สมณะ เลขที่ 37 ชั้นม.6/5 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา คุณครู ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 30 วัน. รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน 1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ป้องกันยาเสพติด ป้องกันตนเอง - ไม่ทดลองยาเสพติดทุกชนิด - ถ้ามีปัญหาหรือไม่สบายใจ อย่าเก็บไว้คนเดียว ควรปรึกษาพ่อแม่ ครู ผู้ใหญ่ - ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ เล่นกีฬาหรือทางานอดิเรกต่างๆตามความสนใจ ความถนัด - ระมัดระวัง การใช้ยาและศึกษาให้เข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติด ป้องกันครอบครัว - ควรสอดส่องดูแลเด็ก และบุคคลในครอบครัวอย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด - อบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษภัยของยาเสพติดดูแลเรื่องการคบเพื่อน - คอยส่งเสริมให้เขารู้จักการใช้เวลาในทางที่เป็น ประโยชน์ เช่น การทางานบ้าน เล่นกีฬา ฯลฯ เพื่อป้องกันมิ ให้เด็กหันเหไปสนใจในยาเสพติด - สิ่งสาคัญก็คือทุกคนในครอบครัวควรสร้างความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
  • 2. ป้องกันชุมชน - หากพบผู้ติดยาเสพติดควรช่วยเหลือแนะนาให้เข้ารับการบาบัดรักษาโดยเร็ว โดยการสมัครเข้าขอรับการ บาบัดรักษายาเสพติดก่อนที่ความผิดจะปรากฏต่อเจ้าหน้าที่กฎหมายยกเว้นโทษให้ - เมื่อรู้ว่าใครผิด นาเข้าส่งออก หรือจาหน่ายยาเสพติดควรแจ้งเจ้าหน้าที่ ตารวจเจ้าหน้าที่ศุลกากรนายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ หรือเจ้าหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สานักงาน ป.ป.ส.) 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ไม่ติดยาเสพติด 2. เพื่อป้องกันการแพร่ยาเสพติด 3. เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาต้านยาเสพติด 4. เพื่อรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง 5. สนองตอบนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับยาเสพติด 3. หลักการและทฤษฎี เป็นโครงการสนับสนุนนโยบายป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของกรุงเทพมหานคร และของชาติ 4. คานิยามศัพท์เฉพาะ สิ่งเสพติด หรือ ยาเสพติด ในความหมายของ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization or WHO) จะหมายถึงสิ่งที่เสพเข้าไปแล้วจะเกิดความต้องการทั้งทางร่างกายและจิตใจต่อไปโดยไม่สามารถหยุด เสพได้ และจะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุด จะทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อร่างกายและจิตใจขึ้น พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 ที่ใช้ในปัจจุบันได้กาหนดความหมายสิ่งเสพติด ให้โทษดังนี้ สิ่งเสพติดให้โทษ หมายถึง "สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจใน ลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อยๆ มีอาการขาดยาเมื่อไม่ได้เสพ มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงอยู่ตลอดเวลา และทาให้สุขภาพทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืช หรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ และสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ด้วย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจาบ้านบางตารับ ตามกฎหมายว่าด้วยยาที่มียาเสพติดให้โทษผสมอยู่" สิ่งเสพติด หมายถึง สารเคมี หรือสารใดก็ตาม ซึ่งเมื่อบุคคลเสพ หรือรับเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าโดยการฉีด การสูบ การกิน การดม หรือวิธีอื่น ติดต่อกัน เป็นเวลานาน หรือช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้วจะก่อให้เกิดเรื้อรัง ซึ่ง จะทาให้เกิดความเสื่อมโทรมขึ้นแก่บุคคลผู้เสพ และแก่สังคมด้วย ทั้งจะต้องทาให้ ผู้เสพแสดงออกซึ่งลักษณะ ดังนี้
  • 3. ผู้เสพมีความต้องการอย่างแรงกล้า ที่จะเสพยาชนิดนั้น ๆ ต่อเนื่องกันไป และต้องแสวงหายาชนิดนั้น ๆ มาเสพ ให้ได้ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ ก็ตาม ผู้เสพจะต้องเพิ่มปริมาณของยาที่เคยใช้ให้มากขึ้นทุกระยะ ผู้เสพจะมีความปรารถนาอยากเสพยาชนิดนั้น ๆ อย่างรุนแรง ระงับไม่ได้ คือ มีการติดและอยากยาทั้งทาง ด้านร่างกายและจิตใจ 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน ระยะที่ 1 1. ประชุมปรึกษาหารือ เสนอความคิดเห็น และคัดเลือกเรื่องที่จะทาโครงงาน 2. แบ่งหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มและหาข้อมูลในการดาเนินงาน 3. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า นามาวิเคราะห์และเลือกใช้ส่วนที่สาคัญ 4. เขียนเค้าโครงงาน 5. นาโครงร่างของโครงงานไปปรึกษาและขอคาแนะนาจากอาจารย์ 6. นาข้อเสนอแนะจากอาจารย์มาปรับปรุงโครงงานให้ดีขึ้น ระยะที่ 2 ดาเนินการทาโครงงาน โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. เตรียมเครื่องมือที่จะใช้ในการทา ๒.นัดแนะจัดแจงแบ่งวิธีการและกาหนดเวลาอย่างละเอียด 3. นาเสนอโครงงาน 6. แผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติงาน การศึกษาเกี่ยวกับการประดิษฐ์ชิ้นงานออกแบบ ชื่อโครงงาน แนวทางการป้องกันแก้ไขผลกระทบของสารเสพติด
  • 4. ประจาปีการศึกษา 2555 ระยะเวลา โครงงาน / กิจกรรม รายละเอียด /การดาเนินงาน วัน / เดือน / ผู้รับผิดชอบ ในการ ปี ดาเนินงาน ธันวาคม วางแผนการทางาน รวมอภิปรายในชั้นเรียน เสนอความคิด วันแรกของ สมาชิกในกลุ่ม 2555 ของแต่ละคน แล้วร่วมกันเสนอความ เดือน คิดเห็น บันทึกการอภิปรายเก็บไว้เพื่อ เป็นแนวทางแนะแนวการทางานต่อไป นัดแนะสถานที่ คุยตกลงเกี่ยวกับเรื่องงานว่าควรทา สัปดาห์ที่สอง นางสาวรชยา ทางาน อย่างไร มกราคม เดินทางไปทางาน เริ่มการจัดทาสื่อการสอน สัปดาห์แรก สมาชิกในกลุ่ม 2555 รวบรวมข้อมูลที่ได้ ตรวจเช็คสิ่งที่ได้ทาทั้งหมดจากการทา สัปดาห์ที่สอง สมาชิกในกลุ่ม นาเสนอในรูปแบบ สื่อ รายงานให้เรียบร้อย 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.นักเรียนมีพลานามัยสมบูรณ์ 2. กิจกรรมต่าง ๆ เริ่มมีผู้คนให้ความสนใจมากขึ้น 3. มีตนแบบเป็นแนวทางให้กับผู้ติดสารเสพติดได้ประพฤติตาม 4. นักเรียนได้ฝึกกระบวนการ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น แล้วนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้ 8. เอกสารอ้างอิง www.thaigoodview.com th.wikipedia.org http://school.bangkok.go.th