SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 6
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบงานที่ 1.1

                                เรื่อง โครงสร้างของโลก
1. อธิบายทฤษฎีการกาเนิดโลกมาพอสังเขป




2. จงอธิบายคาต่อไปนี้

   เปลือกโลก (Crust)




  เนื้อโลก (Mantle)




  แก่นโลก (Core)




  ธรณีภาค (Lithosphere)




   ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
3. จากรูป นักเรียนจงระบุว่า ตาแหน่งที่ลูกศรชี้ หมายถึง ส่วนประกอบใดของโลก




       ที่มา : ภาพจาก http://kluayza12402.blogspot.com/2009/01/blog-post.html&usg
4. จากภาพ ให้นักเรียนเติมพยัญชนะ ก-ฎ ลงในช่องว่างให้สัมพันธ์กับส่วนประกอบของโลก
       (ก) เปลือกโลก หนา 0-70 กิโลเมตร
       (ข) เนื้อโลก
 (ค) แก่นโลก
 (ง) ภาคพื้นทวีป
 (จ) ธรณีภาค
 (ฉ) ฐานธรณีภาค
 (ช) แก่นโลกที่เป็นของแข็ง
 (ซ) แก่นโลกที่เป็นของเหลว
 (ฌ) แก่นโลกชั้นนอก
 (ญ) แก่นโลกชั้นใน
 (ฎ) ลึกจากผิวโลกลงไป 6,370 กิโลเมตร
ใบงานที่ 1.1

                                    เรื่อง โครงสร้างของโลก
1. อธิบายทฤษฎีการกาเนิดโลกมาพอสังเขป

               โลกและระบบสุริยะ เกิดมาประมาณ 4,600 ล้านปีที่ผ่านมา จากสสารระหว่างดาว
    (Interstellar matter) ฝุ่นละออง และกลุ่มแก๊สได้รวมตัวกัน ใจกลางจะวิวัฒนาการมาเป็น ดวงอาทิตย์
    ส่วนกลุ่มแก๊สและฝุ่นละอองที่อยู่รอบ ๆ จะวิวัฒนาการมาเป็นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย โดยธาตุ
    ที่มีความหนาแน่นสูงจะจมลงไปอยู่ใจกลาง ส่วนธาตุที่มีความหนาแน่นต่่าจะอยู่ตอนบน เมื่อผิว
    โลกเย็นตัวลงจะกลายเป็นหิน และกร่อนเป็นดินต่อไป
2. จงอธิบายคาต่อไปนี้
   เปลือกโลก (Crust)

       ชั้นที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ เป็นชั้นที่บางมาก ส่วนที่บางมากที่สุดคือ ส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทร
หนาเพียง 5 กิโลเมตร          ส่วนหนาจะอยู่ที่เป็นเทือกเขา หนาประมาณ 70 กิโลเมตร จึงแบ่งเปลือก
โลกออกเป็น 2 ส่วน คือ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร

  เนื้อโลก (Mantle)

       เป็นส่วนที่อยู่ถัดมาจากชั้นเปลือกโลกลงไป มีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร แบ่งเป็น
2 ส่วน คือ เนื้อโลกชั้นบน และเนื้อโลกชั้นล่าง

  แก่นโลก (Core)


         เป็นชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,470 กิโลเมตร (มีความหนาตั้งแต่ 2,900 -
6,370 กิโลเมตร) แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แก่นโลกชั้นนอก ( Outer core) และ แก่นโลกชั้นใน (Inner core)

  ธรณีภาค (Lithosphere)

       เนื้อโลกชั้นบนติดกับเปลือกโลก มีลักษณะเป็นหินแข็ง รวมกับ เปลือกโลก เรียกสอง
ส่วนรวมกันว่า ธรณีภาค
ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)

        เนื้อโลกชั้นล่างถัดมาจากเนื้อโลกชั้นบน ประกอบด้วยหินหนืดที่มีความหนืดมากกว่าเนื้อโลก
ชั้นบน รองรับฐานธรณีภาค

3. จากรูป นักเรียนจงระบุว่า ตาแหน่งที่ลูกศรชี้ หมายถึง ส่วนประกอบใดของโลก



                                                                             เปลือกโลก (Crust)




                                                                                     เนื้อโลก (Mantle)




                                     แก่นโลก (Core)



ที่มา : ภาพจาก http://kluayza12402.blogspot.com/2009/01/blog-post.html&usg
4. จากภาพ ให้นักเรียนเติมพยัญชนะ ก-ฎ ลงในช่องว่าง ให้สัมพันธ์กับส่วนประกอบของโลก
       (ก) เปลือกโลก หนา 0-70 กิโลเมตร
       (ข) เนื้อโลก
 (ค) แก่นโลก
 (ง) ภาคพื้นทวีป
 (จ) ธรณีภาค
 (ฉ) ฐานธรณีภาค
 (ช) แก่นโลกที่เป็นของแข็ง
 (ซ) แก่นโลกที่เป็นของเหลว
 (ฌ) แก่นโลกชั้นนอก
 (ญ) แก่นโลกชั้นใน
 (ฎ) ลึกจากผิวโลกลงไป 6,370 กิโลเมตร

                                                                   ง


                 ก
                                                                             จ

                 ฉ
                                                                             ข
            ฌ
                                                                         ค
                                                               ซ

                                                           ช

                         ญ                    ฎ

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศพัน พัน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 

Andere mochten auch (8)

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 

ใบงาน โครงสร้างโลก.Pdf111111

  • 1. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง โครงสร้างของโลก 1. อธิบายทฤษฎีการกาเนิดโลกมาพอสังเขป 2. จงอธิบายคาต่อไปนี้ เปลือกโลก (Crust) เนื้อโลก (Mantle) แก่นโลก (Core) ธรณีภาค (Lithosphere) ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
  • 2. 3. จากรูป นักเรียนจงระบุว่า ตาแหน่งที่ลูกศรชี้ หมายถึง ส่วนประกอบใดของโลก ที่มา : ภาพจาก http://kluayza12402.blogspot.com/2009/01/blog-post.html&usg
  • 3. 4. จากภาพ ให้นักเรียนเติมพยัญชนะ ก-ฎ ลงในช่องว่างให้สัมพันธ์กับส่วนประกอบของโลก (ก) เปลือกโลก หนา 0-70 กิโลเมตร (ข) เนื้อโลก (ค) แก่นโลก (ง) ภาคพื้นทวีป (จ) ธรณีภาค (ฉ) ฐานธรณีภาค (ช) แก่นโลกที่เป็นของแข็ง (ซ) แก่นโลกที่เป็นของเหลว (ฌ) แก่นโลกชั้นนอก (ญ) แก่นโลกชั้นใน (ฎ) ลึกจากผิวโลกลงไป 6,370 กิโลเมตร
  • 4. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง โครงสร้างของโลก 1. อธิบายทฤษฎีการกาเนิดโลกมาพอสังเขป โลกและระบบสุริยะ เกิดมาประมาณ 4,600 ล้านปีที่ผ่านมา จากสสารระหว่างดาว (Interstellar matter) ฝุ่นละออง และกลุ่มแก๊สได้รวมตัวกัน ใจกลางจะวิวัฒนาการมาเป็น ดวงอาทิตย์ ส่วนกลุ่มแก๊สและฝุ่นละอองที่อยู่รอบ ๆ จะวิวัฒนาการมาเป็นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย โดยธาตุ ที่มีความหนาแน่นสูงจะจมลงไปอยู่ใจกลาง ส่วนธาตุที่มีความหนาแน่นต่่าจะอยู่ตอนบน เมื่อผิว โลกเย็นตัวลงจะกลายเป็นหิน และกร่อนเป็นดินต่อไป 2. จงอธิบายคาต่อไปนี้ เปลือกโลก (Crust) ชั้นที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ เป็นชั้นที่บางมาก ส่วนที่บางมากที่สุดคือ ส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทร หนาเพียง 5 กิโลเมตร ส่วนหนาจะอยู่ที่เป็นเทือกเขา หนาประมาณ 70 กิโลเมตร จึงแบ่งเปลือก โลกออกเป็น 2 ส่วน คือ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป และ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร เนื้อโลก (Mantle) เป็นส่วนที่อยู่ถัดมาจากชั้นเปลือกโลกลงไป มีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เนื้อโลกชั้นบน และเนื้อโลกชั้นล่าง แก่นโลก (Core) เป็นชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,470 กิโลเมตร (มีความหนาตั้งแต่ 2,900 - 6,370 กิโลเมตร) แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แก่นโลกชั้นนอก ( Outer core) และ แก่นโลกชั้นใน (Inner core) ธรณีภาค (Lithosphere) เนื้อโลกชั้นบนติดกับเปลือกโลก มีลักษณะเป็นหินแข็ง รวมกับ เปลือกโลก เรียกสอง ส่วนรวมกันว่า ธรณีภาค
  • 5. ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) เนื้อโลกชั้นล่างถัดมาจากเนื้อโลกชั้นบน ประกอบด้วยหินหนืดที่มีความหนืดมากกว่าเนื้อโลก ชั้นบน รองรับฐานธรณีภาค 3. จากรูป นักเรียนจงระบุว่า ตาแหน่งที่ลูกศรชี้ หมายถึง ส่วนประกอบใดของโลก เปลือกโลก (Crust) เนื้อโลก (Mantle) แก่นโลก (Core) ที่มา : ภาพจาก http://kluayza12402.blogspot.com/2009/01/blog-post.html&usg
  • 6. 4. จากภาพ ให้นักเรียนเติมพยัญชนะ ก-ฎ ลงในช่องว่าง ให้สัมพันธ์กับส่วนประกอบของโลก (ก) เปลือกโลก หนา 0-70 กิโลเมตร (ข) เนื้อโลก (ค) แก่นโลก (ง) ภาคพื้นทวีป (จ) ธรณีภาค (ฉ) ฐานธรณีภาค (ช) แก่นโลกที่เป็นของแข็ง (ซ) แก่นโลกที่เป็นของเหลว (ฌ) แก่นโลกชั้นนอก (ญ) แก่นโลกชั้นใน (ฎ) ลึกจากผิวโลกลงไป 6,370 กิโลเมตร ง ก จ ฉ ข ฌ ค ซ ช ญ ฎ