SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 2
Downloaden Sie, um offline zu lesen
กลอนแปด

กลอนแปดสุภาพนั้น บทหนึ่งมี ๒ คํากลอน หนึ่งคํากลอนมี ๒ วรรคแตละวรรคมี ๘ คํา
การสัมผัส
ใหคําสุดทายวรรคแรก(วรรคสดับ) ไปสัมผัสกับคําที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒(วรรครับ)
ใหคําสุดทายวรรคที่สอง(วรรครับ) ไปสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๓(วรรครอง)
ใหคําสุดทายของวรรคที่สาม(วรรครอง) ไปสัมผัสกับคําที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่สี่ (วรรคสง)
การสัมผัสระหวางบท หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “การสัมผัสเชื่อมรอยระหวางบท” การเชื่อมสัมผัสระหวางบท ใหคํา
สุดทายของวรรคที่สี่ คือ วรรคสง ไปสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สอง คือวรรครับของบทถัดไป ใหแตงเชื่อมบทอยางนี้
 เรื่อยไปจนจบเนื้อความตามที่ตองการ
 ขอบังคับ เรื่องการกําหนดเสียงวรรณยุกต ในคําสุดทายของแตละวรรค มีดังนี้
          คําสุดทายของวรรคที่ ๑ ใชเสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา แตไมนิยมสามัญ
          คําสุดทายของวรรคที่ ๒ หามใชเสียง สามัญ และตรี นิยมใช จัตวา เปนสวนมาก
          คําสุดทายของวรรคที่ ๓ ใชเสียง สามัญ หรือ ตรี หามใช เอก โท จัตวา
          คําสุดทายของวรรคที่ ๔ ใชเสียงสามัญ หรือ ตรี หามเสียง เอก โท จัตวา สวน
มากนิยมเสียงสามัญ


                                  แผนผังกลอนแปดจํานวน ๒ บท
    วรรคสดับ(สลับ)                                                       วรรครับ


    วรรครอง                                                                    วรรคสง
ตัวอยางคําประพันธ ของสุนทรภู

                     ถึงมวยดิน สิ้นฟา มหาสมุทร           ไมสิ้นสุด ความรัก สมัครสมาน
             แมนเกิดใน ใตหลา สุธาธาร                    ขอพบพาน พิศวาส ไมคลาดคลา
             แมเนื้อเย็น เปนหวง มหรรณพ                  พี่ขอพบ ศรีสวัสดิ์ เปนมัจฉา
             แมเปนบัว ตัวพี่ เปนภุมรา                  เชยผกา โกสุม ปทุมทอง


กลอนแปดนี้มีจํานวน ๒ บท
สัมผัสบังคับบทแรกไดแก สมุทร + สุด, สมาน + ธาร+ พาน
สัมผัสบังคับบทที่สอง ไดแก ณพ +พบ , ฉา + รา + กา
สัมผัสบังคับระหวางบท ไดแก คลา + ฉา
ขอสังเกต
            สัมผัสบังคับเหลานี้จะปรากฏคําที่สงสัมผัสกันระหวางวรรคหนึ่งไปยังอีกวรรคหนึ่ง และ จะเปนคําที่มีเสียงสระ
คลองจองกัน เทานั้น
            คําทีมีเสียงสระคลองจองกัน หรือเรียกวา สัมผัสสระนั่นเอง สัมผัสสระ หมายถึง คําที่มีเสียงสระเดียวกัน และมี
                 ่
ตัวสะกดมาตราเดียวกัน ดังตัวอยาง
            สวนสัมผัสที่ไมบังคับ คือ สัมผัสที่ปรากฏภายในวรรค เรียกอีกอยางวาสัมผัสใน ซึ่งสัมผัสในนี้จะมีไดทั้งเสียงสระ
สัมผัสกัน และเสียงพยัญชนะสัมผัสกัน (เรียกวา สัมผัสพยัญชนะ หรือสัมผัสอักษรนั่นเอง)
            สัมผัสอักษร หมายถึง คําที่มเสียงพยัญชนะตนเปนเสียงเดียวกัน ดังตัวอยาง
                                         ี
วรรคแรก(วรรคสดับ) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก มวย + ม(หา)+ มุทร (มีเสียง ม. เปนเสียงพยัญชนะตน)
วรรคที่สอง(วรรครับ) ) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก สิ้น + สุด+ส(มัคร) + ส(มาน) (มีเสียง ส.เปนเสียงพยัญชนะ
ตน)
วรรคที่สาม(วรรครอง) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก ธา + ธาร
วรรคที่สี่ (วรรคสง) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก พบ+พาน+พิศ , คลาด+ คลา

สัมผัสในเปนสัมผัสที่ไมไดบังคับ ถามีจะทําใหกลอนมีความไพเราะยิ่งขึ้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์Kanthika Sriman
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 

Was ist angesagt? (18)

Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
Satthatharachan
SatthatharachanSatthatharachan
Satthatharachan
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
Kamalachan
KamalachanKamalachan
Kamalachan
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 

Andere mochten auch

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนาNongkran Jarurnphong
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

Andere mochten auch (16)

Full page fax print
Full page fax printFull page fax print
Full page fax print
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

Ähnlich wie กลอนแปด

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองnsiritom
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองnsiritom
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับงานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับDeena Teala
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑krunoree.wordpress.com
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 

Ähnlich wie กลอนแปด (20)

ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
03
0303
03
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับงานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
 
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ศิลาจารึกหลักที่ ๑
ศิลาจารึกหลักที่ ๑
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 

Mehr von Nongkran_Jarurnphong

ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้Nongkran_Jarurnphong
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้Nongkran_Jarurnphong
 
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 

Mehr von Nongkran_Jarurnphong (9)

คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
Onet ม.6
Onet ม.6Onet ม.6
Onet ม.6
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
 
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
วรรณกรรมท้องถิ่นตำนานผาชู้
 
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
สำหรับทุกคน [โหมดความเข้ากันได้]
 
สำนวนไทย
สำนวนไทยสำนวนไทย
สำนวนไทย
 

กลอนแปด

  • 1. กลอนแปด กลอนแปดสุภาพนั้น บทหนึ่งมี ๒ คํากลอน หนึ่งคํากลอนมี ๒ วรรคแตละวรรคมี ๘ คํา การสัมผัส ใหคําสุดทายวรรคแรก(วรรคสดับ) ไปสัมผัสกับคําที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๒(วรรครับ) ใหคําสุดทายวรรคที่สอง(วรรครับ) ไปสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๓(วรรครอง) ใหคําสุดทายของวรรคที่สาม(วรรครอง) ไปสัมผัสกับคําที่ ๓ หรือ ๕ ของวรรคที่สี่ (วรรคสง) การสัมผัสระหวางบท หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “การสัมผัสเชื่อมรอยระหวางบท” การเชื่อมสัมผัสระหวางบท ใหคํา สุดทายของวรรคที่สี่ คือ วรรคสง ไปสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สอง คือวรรครับของบทถัดไป ใหแตงเชื่อมบทอยางนี้ เรื่อยไปจนจบเนื้อความตามที่ตองการ ขอบังคับ เรื่องการกําหนดเสียงวรรณยุกต ในคําสุดทายของแตละวรรค มีดังนี้ คําสุดทายของวรรคที่ ๑ ใชเสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา แตไมนิยมสามัญ คําสุดทายของวรรคที่ ๒ หามใชเสียง สามัญ และตรี นิยมใช จัตวา เปนสวนมาก คําสุดทายของวรรคที่ ๓ ใชเสียง สามัญ หรือ ตรี หามใช เอก โท จัตวา คําสุดทายของวรรคที่ ๔ ใชเสียงสามัญ หรือ ตรี หามเสียง เอก โท จัตวา สวน มากนิยมเสียงสามัญ แผนผังกลอนแปดจํานวน ๒ บท วรรคสดับ(สลับ) วรรครับ วรรครอง วรรคสง
  • 2. ตัวอยางคําประพันธ ของสุนทรภู ถึงมวยดิน สิ้นฟา มหาสมุทร ไมสิ้นสุด ความรัก สมัครสมาน แมนเกิดใน ใตหลา สุธาธาร ขอพบพาน พิศวาส ไมคลาดคลา แมเนื้อเย็น เปนหวง มหรรณพ พี่ขอพบ ศรีสวัสดิ์ เปนมัจฉา แมเปนบัว ตัวพี่ เปนภุมรา เชยผกา โกสุม ปทุมทอง กลอนแปดนี้มีจํานวน ๒ บท สัมผัสบังคับบทแรกไดแก สมุทร + สุด, สมาน + ธาร+ พาน สัมผัสบังคับบทที่สอง ไดแก ณพ +พบ , ฉา + รา + กา สัมผัสบังคับระหวางบท ไดแก คลา + ฉา ขอสังเกต สัมผัสบังคับเหลานี้จะปรากฏคําที่สงสัมผัสกันระหวางวรรคหนึ่งไปยังอีกวรรคหนึ่ง และ จะเปนคําที่มีเสียงสระ คลองจองกัน เทานั้น คําทีมีเสียงสระคลองจองกัน หรือเรียกวา สัมผัสสระนั่นเอง สัมผัสสระ หมายถึง คําที่มีเสียงสระเดียวกัน และมี ่ ตัวสะกดมาตราเดียวกัน ดังตัวอยาง สวนสัมผัสที่ไมบังคับ คือ สัมผัสที่ปรากฏภายในวรรค เรียกอีกอยางวาสัมผัสใน ซึ่งสัมผัสในนี้จะมีไดทั้งเสียงสระ สัมผัสกัน และเสียงพยัญชนะสัมผัสกัน (เรียกวา สัมผัสพยัญชนะ หรือสัมผัสอักษรนั่นเอง) สัมผัสอักษร หมายถึง คําที่มเสียงพยัญชนะตนเปนเสียงเดียวกัน ดังตัวอยาง ี วรรคแรก(วรรคสดับ) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก มวย + ม(หา)+ มุทร (มีเสียง ม. เปนเสียงพยัญชนะตน) วรรคที่สอง(วรรครับ) ) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก สิ้น + สุด+ส(มัคร) + ส(มาน) (มีเสียง ส.เปนเสียงพยัญชนะ ตน) วรรคที่สาม(วรรครอง) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก ธา + ธาร วรรคที่สี่ (วรรคสง) มีสัมผัสในที่เปนสัมผัสอักษร ไดแก พบ+พาน+พิศ , คลาด+ คลา สัมผัสในเปนสัมผัสที่ไมไดบังคับ ถามีจะทําใหกลอนมีความไพเราะยิ่งขึ้น