SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
วิชาที่ ๑๐๐๐๓       จิตวิทยาการเรียนรู้
เวลาศึกษา           บรรยาย ๖ ชั่วโมง นำำาหนักคะแนน ๓
เรื่องที่จะศึกษา       ๑.      ความหมายของการเรียนรู้
                       ๒.      องค์ประกอบของการเรียนรู้
                                            ๓   .   ธรรมชาติของการเรียนรู้
                       ๔   .   การถ่ายโยงการเรียนรู้
                                            ๕   .   ทฤษฎีการเรียนรู้
แนวคิด
       ๑   .การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำาให้
บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม
         ๒ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ ลักษณะสำาคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึำน คือ มีการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซำาๆ และมีการเพิ่มพูนในด้าน
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทัำงทางปริมาณและคุณภาพ
         ๓ .   ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของบทเรียน
         เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ สามารถนำาความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการ
เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ
                                ๑. องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
                                ๒. อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
                       .
                   ๓ อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
                                ๔   .   วางแผนนำาทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ถูกต้อง
กิจกรรมการเรียนการสอน
                                ก   .   กิจกรรมของครู        -    บรรยายและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
                                                                       -   ตอบคำาซักถาม
                                ข   .    กิจกรรมของผู้เข้ารับการศึกษา
                                                     -   ฟังบรรยายและร่วมปฏิบัติกิจกรรม
                                                     -   ซักถาม
สื่อการสอน         เอกสารประกอบการสอน
การประเมินผล       -       ประเมินผลจากกิจกรรมในห้องเรียน และใช้แบบทดสอบ
2



                                                       จิตวิทยาการเรียนรู้


        การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำาคัญและจำาเป็นในการดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้
ตังแต่แรกเกิดจนตาย สำาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก
  ำ
อื่น ๆ   ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า        "สิ่งที่ทำาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็
เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา      ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ . " การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธี
ดำาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้           ความสามารถในการเรียนรู้ของ
มนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำาเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย
ความหมายของการเรียนรู้
      นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น
               ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม
         คิมเบิล                                                                                                          อัน
เป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"
       ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทัำงนีำไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิด
จากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์                     "
         คอนบาค    ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อัน
เป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา "
        พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International
Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ
อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
           ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพืำนฐานการศึกษา (มนุษย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครัำงที่ ๑๕,
หน้า ๑๒๑) “ การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์ โดยการ
เปลี่ยนแปลงนัำนเป็นเหตุทำาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม “ ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทัำงประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม
           ประสบการณ์ทางตรง คือ ประสบการณ์ที่บุคคลได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเอง เช่น เด็กเล็กๆ ที่ยังไม่เคยรู้จักหรือ
เรียนรู้คำาว่า “ร้อน” เวลาที่คลานเข้าไปใกล้กานำำาร้อน แล้วผู้ใหญ่บอกว่าร้อน และห้ามคลานเข้าไปหา เด็กย่อมไม่เข้าใจ
และคงคลานเข้าไปหาอยู่อีก จนกว่าจะได้ใช้มือหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปสัมผัสกานำำาร้อน จึงจะรู้ว่า
กานำำาที่ว่าร้อนนัำนเป็นอย่างไร ต่อไป เมื่อเขาเห็นกานำำาอีกแล้วผู้ใหญ่บอกว่ากานำำานัำนร้อนเขาจะไม่คลานเข้าไปจับกานำำา
นัำน เพราะเกิดการเรียนรู้คำาว่าร้อนที่ผู้ใหญ่บอกแล้ว เช่นนีำกล่าวได้ว่า ประสบการณ์
ตรงมีผลทำาให้เกิดการเรียนรู้เพราะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทำาให้เผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ในการมี
ประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทำาให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ ได้แก่
         ๑.   พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา หรือสิ่งเสพติดบางอย่าง
         ๒.   พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ
         ๓.   พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยล้าของร่างกาย
         ๔.พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ
      ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่ผู้เรียนมิได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเองโดยตรง แต่อาจได้รับ
ประสบการณ์ทางอ้อมจาก การอบรมสั่งสอนหรือการบอกเล่า การอ่านหนังสือต่างๆ และการรับรู้จากสื่อมวลชนต่างๆ
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
         พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกำาหนดโดย บลูม และคณะ            (Bloom and
Others ) มุงพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนีำ
           ่
    ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)              คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำา ความเข้าใจ การนำาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
3


       ๒     .
           ด้านเจตพิสัย           (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม
        ๓    .ด้านทักษะพิสัย        (Psychomotor Domain)     คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้าน
การปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทำา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำานาญ
องค์ประกอบสำาคัญของการเรียนรู้
       ดอลลาร์ด และมิลเลอร์               (Dallard and Miller)             เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสำาคัญ ๔
ประการ คือ
         ๑  . แรงขับ        (Drive)
                              เป็นความต้องการที่เกิดขึำนภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคล
ทัำงสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนืำอ แรงขับและความพร้อมเหล่านีำจะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะ
ชักนำาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
         ๒   .สิ่งเร้า      (Stimulus)
                                  เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึำนในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำาให้บุคคลมี
ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และ
อุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนำามาใช้
       ๓     .
             การตอบสนอง             (Response)      เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับ
การกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทัำงส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คำาพูด
การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น
        ๔    .การเสริมแรง         (Reinforcement)       เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้
เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึำน การเสริมแรงมีทัำงทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้
ของบุคคลเป็นอันมาก
ธรรมชาติของการเรียนรู้
      การเรียนรู้มีลักษณะสำาคัญดังต่อไปนีำ
        ๑   . การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้ไปสู่
การเรียนรู้ ๕ ขันตอน คือ
                ำ
                   .
                  ๑ ๑ มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
                  ๑.๒       บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททัำง ๕
                  ๑.๓       บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า
                  ๑.๔       บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้
                  ๑.๕       บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า



          Stimulus                                Sensation                         Perception
                 สิ่งเร้า                        ประสาทรับสัมผัส                        การรับรู้



          เกิดการเรียนรู้
          Learning                               Response                           Concept
         การเปลี่ยนแปลง                        ปฏิกิริยาตอบสนอง                   ความคิดรวบยอด
           พฤติกรรม




การเรียนรู้เริ่มเกิดขึำนเมื่อมีสิ่งเร้า   (Stimulus)      มากระตุ้นบุคคล ระบบประสาทจะตื่นตัวเกิดการรับสัมผัส
(Sensation)                 ด้วยประสาทสัมผัสทัำง ๕ แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความหมายโดยอาศัย
ประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้         (Perception)ใหม่              อาจสอดคล้องหรือแตกต่างไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุป
ผลของการรับรู้นัำน เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด                (Concept)        และมีปฏิกิริยาตอบสนอง
4


(Response)                อย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้า ตามที่รับรู้ซึ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงว่า เกิดการ
เรียนรู้แล้ว




           ๒   .
              การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้อาศัยวุฒิภาวะ
                 วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าการเรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้ต้องอาศัยวุฒิภาวะด้วย
เพราะการที่บุคคลจะมีความสามารถในการรับรู้หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึำนอยู่กับว่าบุคคลนัำนมีวุฒิ
ภาวะเพียงพอหรือไม่
          ๓    . การเรียนรู้เกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน
          การเรียนสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน คือ การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการจะเรียนหรือสนใจจะเรียน เหมาะกับวัย
และวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียนย่อมทำาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ต้องการหรือไม่สนใจ
           ๔   . การเรียนรู้แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน
           ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจเรียนรู้ได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคลอาจมีความพร้อมต่างกัน มีความ
สามารถในการเรียนต่างกัน มีอารมณ์และความสนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้อง
กับสิ่งที่จะเรียนต่างกัน
           ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธีเรียนต่างกัน ผลของการเรียนรู้อาจมากน้อยต่างกันได้ และวิธีที่ทำาให้เกิด
การเรียนรู้ได้มากสำาหรับบุคคลหนึ่งอาจไม่ใช่วิธีเรียนที่ทำาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียนรู้ได้มากเท่ากับบุคคลนัำนก็ได้
การถ่ายโยงการเรียนรู้
           การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึำนได้ ๒ ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก           (Positive
Transfer)                                     (Negative Transfer)
                      และการถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ
           การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของการ
เรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึำน ง่ายขึำน หรือดีขึำน การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มัก
เกิดจาก
           ๑.      เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว
           ๒.      เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง
           ๓.
            เมื่อผู้เรียนมีความตัำงใจที่จะนำาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงานหนึ่ง
และสามารถจำาวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยำา
      ๔        .
           เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบที่จะนำาความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมาลองคิด
ทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
          การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ        (Negative Transfer)            คือการถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลการ
เรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทำาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง หรือยากขึำนและไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่าย
โยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึำนได้ ๒ แบบ คือ
           ๑   .   แบบตามรบกวน      (Proactive Inhibition)                   ผลของการเรียนรู้งานแรกไปขัดขวางการเรียนรู้
งานที่ ๒
        ๒      .
             แบบย้อนรบกวน           (Retroactive Inhibition)                     ผลการเรียนรู้งานที่ ๒ ทำาให้การเรียนรู้งาน
แรกน้อยลง
การเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก
           -เมื่องาน ๒ อย่างคล้ายกันมาก แต่ผู้เรียนยังไม่เกิดการเรียนรู้งานใดงานหนึ่งอย่างแท้จริงก่อนที่จะเรียนอีก
งานหนึ่ง ทำาให้การเรียนงาน ๒ อย่างในเวลาใกล้เคียงกันเกิดความสับสน
           -
          เมื่อผู้เรียนต้องเรียนรู้งานหลายๆ อย่างในเวลาติดต่อกัน ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งอาจไปทำาให้ผู้เรียนเกิด
ความสับสนในการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้
           การนำาความรู้ไปใช้
           ๑   .   ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พืำนฐานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว
5


           ๒.   พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
           ๓.   ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันใน
เวลาเท่ากัน
           ๔.   ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป
           ๕.
            พยายามชีำแนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มีความสัมพันธ์กัน
ลักษณะสำาคัญ ที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึำน จะต้องประกอบด้วยปัจจัย ๓ ประการ คือ
           ๑.    มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร
           ๒.   การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนัำนจะต้องเป็นผลมาจากประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบัติซำาๆ เท่านัำน
           ๓.
           การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความ
สามารถทางทักษะทัำงปริมาณและคุณภาพ

ทฤษฎีการเรียนรู้     (Theory of Learning)
       ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกำาหนดปรัชญาการ
ศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะ
ทำาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำาคัญ แบ่งออกได้ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ          คือ
       ๑.                                (Associative Theories)
                ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง
       ๒.       ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง
                                                            (Stimulus) และการตอบสนอง
                ทฤษฎีนีำเห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
(Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนีำว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับ
กระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนีำแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนีำ
       ๑   .                     (Conditioning Theories)
                ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
          ๑.๑ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories)
          ๑.๒ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำา (Operant Conditioning Theory)
       ๒. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories)
          ๒.๑ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory)
          ๒.๒ ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
            อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการ
ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้องมักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปฏิกิริยาสะท้อน     (Reflex) หรือ
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องอารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสำาคัญของทฤษฎีนีำ ได้แก่           Pavlov, Watson, Wolpe
etc.
Ivan P. Pavlov
                 นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย   (1849 - 1936)              ได้ทำาการทดลองเพื่อศึกษาการเรียนรู้ที่เกิดขึำนจาก
                                                               (Unconditioned
การเชื่อมโยงระหว่างการตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไข
Stimulus = UCS) และสิ่งเร้า ที่เป็นกลาง (Neutral Stimulus) จนเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้า
ที่เป็นกลางให้กลายเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus = CS) และการตอบสนอง
ที่ไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned               Response = UCR) เป็นการตอบสนองที่มีเงื่อนไข
6


(Conditioned Response = CR) ลำาดับขัำนตอนการเรียนรู้ที่เกิดขึำนดังนีำ
          ๑.     ก่อนการวางเงื่อนไข
                       UCS (อาหาร)                                                               UCR         (นำำาลาย
ไหล)
                       สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (เสียงกระดิ่ง)                               นำำาลายไม่ไหล
          ๒.     ขณะวางเงื่อนไข
                       CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร)                                           UCR (นำำาลาย
ไหล)
          ๓.     หลังการวางเงื่อนไข
                       CS (เสียงกระดิ่ง)                                                        CR      (นำำาลาย
ไหล)
          หลักการเกิดการเรียนรู้ที่เกิดขึำน คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) เกิดจากการนำาเอาสิ่ง
เร้าที่วางเงื่อนไข (CS)         มาเข้าคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCS) ซำำากันหลายๆ ครัำง ต่อมาเพียงแต่ให้สิ่ง
เร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียวก็มีผลทำาให้เกิดการตอบสนองในแบบเดียวกัน
          ผลจากการทดลอง Pavlov                      สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ ๔ ประการ คือ
          ๑.     การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR นานๆ โดยไม่ให้ UCS เลย การ
ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป
          ๒. การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery ) เมื่อเกิดการดับสูญของ
การตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให้ CS จะเกิด CR โดย
อัตโนมัติ
            ๓   .                          (Generalization) หลังจากเกิดการตอบสนองที่มีเงื่อนไข (
                    การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ
CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนองแบบเดียวกัน
    ๔.    การจำาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไข จะมีการจำาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมีการตอบสนองที่แตกต่างกันด้วย
John B. Watson
            นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน  (1878 - 1958) ได้ทำาการทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ์กับเด็ก
ชายอายุประมาณ ๑๑ เดือน           โดยใช้หลักการเดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้
ดังนีำ
         ๑   . การแผ่ขยายพฤติกรรม       (Generalization)           มีการแผ่ขยายการตอบสนองที่วางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้า
ที่คล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
      . การลดภาวะ หรือการดับสูญการตอบสนอง (Extinction) ทำาได้ยากต้องให้สิ่งเร้าใหม่
            ๒
(UCS ) ที่มผลตรงข้ามกับสิ่งเร้าเดิม จึงจะได้ผลซึ่งเรียกว่า Counter - Conditioning
           ี
Joseph Wolpe
          นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ได้นำาหลักการ Counter - Conditioning ของ
Watson ไปทดลองใช้บำาบัดความกลัว (Phobia) ร่วมกับการใช้เทคนิคผ่อนคลายกล้ามเนืำอ (Muscle
Relaxation) เรียกวิธีการนีำว่า Desensitization
7

การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน
          ๑   .  ครูสามารถนำาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนีำมาทำาความเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์
ความรู้สึกทัำงด้านดีและไม่ดี รวมทัำงเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่เรียน กิจกรรม หรือครูผู้สอน เพราะเขาอาจ
ได้รับการวางเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ก็เป็นได้
      ๒       .
             ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดต่อเนืำอหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้
                                                                           ี
สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน
          ๓   . ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กำาลังใจใน
การเรียนและการทำากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรง
จนเกิดการวางเงื่อนไขขึำน กรณีที่ผเรียนเกิดความเครียด และวิตกกังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ผ่อนคลาย
                                 ู้
ความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม

ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทำาของสกินเนอร์         (Skinner's Operant Conditioning
Theory)
       B.F. Skinner (1904 - 1990)                                 นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ทำาการทดลองด้าน
จิตวิทยาการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทำา           (Operant
Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ ๒ แบบ คือ
               ๑.   Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึำนโดยอัตโนมัติ หรือ
เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริบตา นำำาลายไหล หรือ
การเกิดอารมณ์         ความรู้สึกต่างๆ
          ๒         . Operant Behavior      พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กำาหนด หรือเลือกที่จะ
แสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจำาวัน เช่น กิน นอน พูด เดิน ทำางาน ขับรถ
ฯลฯ   .
                   การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน
แต่สกินเนอร์ให้ความสำาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า         จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ   Type
R   นอกจากนีำสกินเนอร์ให้ความสำาคัญต่อการเสริมแรง     (Reinforcement)        ว่ามีผลทำาให้เกิดการเรียนรู้ที่
คงทนถาวร ยิ่งขึำนด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึำนอยู่กับผลของการกระทำา
คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทัำงทางบวกและทางลบ
                                                         พฤติกรรม


                            การเสริม                               การลงโทษแรง


                     ทางบวก      ทางลบ                            ทางบวก            ทางลบ


                  ความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึำน                      ความถี่ของพฤติกรรมลดลง


การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้
          ๑.       การเสริมแรง และ การลงโทษ
          ๒.      การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม
          ๓.การสร้างบทเรียนสำาเร็จรูป
การเสริมแรงและการลงโทษ
                          (Reinforcement) คือการทำาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดง
                  การเสริมแรง
พฤติกรรมเพิ่มขึำนอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่เหมาะสม การเสริมแรงมี ๒ ทาง ได้แก่
       ๑.     การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึง
พอใจ มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึำน
8


      ๒      .
            การเสริมแรงทางลบ         (Negative Reinforcement)                     เป็นการนำาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึง
พอใจออกไป มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึำน
           การลงโทษ         (Punishment)              คือ การทำาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดง
พฤติกรรมลดลง การลงโทษมี ๒ ทาง ได้แก่
        ๑  .  การลงโทษทางบวก         (Positive Punishment)                 เป็นการให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ไม่พึงพอใจ มี
ผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
        ๒    .
             การลงโทษทางลบ          (Negative Punishment)                   เป็นการนำาสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรือสิ่ง
เสริมแรงออกไป มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
ตารางการเสริมแรง (The Schedule of Reinforcement)
         ๑. การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Reinforcement)                             เป็นการให้สิ่งเสริมแรงทุก
ครัำงที่บุคคลแสดงพฤติกรรมตามต้องการ
      ๒      .
           การเสริมแรงเป็นครัำงคราว        (Intermittent Reinforcement)                      ซึ่งมีการกำาหนดตารางได้
หลายแบบ ดังนีำ
                   .                  (Iinterval schedule)
                 ๒ ๑ กำาหนดการเสริมแรงตามเวลา
            ๒.๑.๑ กำาหนดเวลาแน่นอน (Fixed Interval Schedules = FI)
            ๒.๑.๒ กำาหนดเวลาไม่แน่นอน (Variable Interval Schedules = VI )
        ๒.๒ กำาหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา (Ratio schedule) ๒.๒.๑ กำาหนดอัตราแน่นอน
(Fixed Ratio Schedules = FR)
            ๒.๒.๒ กำาหนดอัตราไม่แน่นอน (Variable Ratio Schedules      = VR)
การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม
              การปรับพฤติกรรม       (Behavior Modification)          เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึง
ประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและการลงโทษ
              การแต่งพฤติกรรม        (Shaping Behavior )               เป็นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่
โดยใช้วิธีการเสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ

บทเรียนสำาเร็จรูป      (Programmed Instruction)
       เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึำน ประกอบด้วย เนืำอหา กิจกรรม คำาถามและ คำา
เฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ            Skinner คือเมื่อผู้เรียนศึกษาเนืำอหาและทำากิจกรรม จบ ๑ บท จะ
มีคำาถามยั่วยุให้ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคำาเฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก

ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์       (Thorndike's Connectionism Theory)
         Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นักจิตวิทยาการศึกษาชาว
อเมริกัน ผูได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา" เขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทำาในสิ่งก่อให้เกิดความพึงพอใจและ
           ้
จะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำาให้ไม่พึงพอใจ" จากการทดลองกับแมวเขาสรุปหลักการเรียนรู้ได้ว่า เมื่อเผชิญกับปัญหาสิ่งมีชีวิต
จะเกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก (Trial and Error) นอกจากนีำเขายังให้ความสำาคัญกับ
การเสริมแรงว่าเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึำน
        กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
          ๑.   กฎแห่งผล     (Law of Effect)          มีใจความสำาคัญคือ ผลแห่งปฏิกิริยาตอบสนองใดที่เป็นที่น่าพอใจ
อินทรีย์ย่อมกระทำาปฏิกิริยานัำนซำำาอีกและผลของปฏิกิริยาใดไม่เป็นที่พอใจบุคคลจะหลีกเลี่ยงไม่ทำาปฏิกิริยานัำนซำำาอีก
         ๒   .   กฎแห่งความพร้อม   (Law of Readiness)                มีใจความสำาคัญ ๓ ประเด็น คือ
                  .
                 ๒ ๑ ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วได้เรียน อินทรีย์จะเกิดความพอใจ
                 ๒.๒   ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วไม่ได้เรียน จะเกิดความรำาคาญใจ
9


                    .
                   ๒ ๓ ถ้าอินทรีย์ไม่พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วถูกบังคับให้เรียน จะเกิดความรำาคาญใจ
          ๓    .
               กฎแห่งการฝึกหัด      (Law of Exercise)        มีใจความสำาคัญคือ พฤติกรรมใดที่ได้มีโอกาสกระทำา
ซำำาบ่อยๆ และมีการปรับปรุงอยู่เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชำานิชำานาญ สิ่งใดที่ทอดทิำงไปนานย่อมกระทำาได้
ไม่ดีเหมือนเดิมหรืออาจทำาให้ลืมได้
การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้
         ๑     .
               การสอนในชัำนเรียนครูควรกำาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน จัดแบ่งเนืำอหาเป็นลำาดับเรียงจากง่ายไปยาก
เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจติดตามบทเรียนอย่างต่อเนื่อง เนืำอหาที่เรียนควรมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำาวันของผู้เรียน
       ๒       .
            ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอและไม่ตกอยู่ในสภาวะบาง
อย่าง เช่น ป่วย เหนื่อย ง่วง หรือ หิว จะทำาให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
         ๓     .
               ครูควรจัดให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว แต่ไม่ควรให้ทำาซำำาซากจนเกิดความเมื่อย
ล้าและเบื่อหน่าย
        ๔      .
             ครูควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพึงพอใจและรู้สึกประสบผลสำาเร็จในการทำากิจกรรม โดยครูต้องแจ้งผลการ
ทำากิจกรรมให้ทราบ หากผู้เรียนทำาได้ดีควรชมเชยหรือให้รางวัล หากมีข้อบกพร่องต้องชีำแจงเพื่อการปรับปรุงแก้ไข

                     (Guthrie's Contiguity Theory)
ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่องของกัทรี
           Edwin R. Guthrie นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้กล่าวยำำาถึงความสำาคัญของความใกล้ชิด
ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ถ้ามีการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดและแนบแน่นเพียงครัำงเดียวก็สามารถเกิดการ
เรียนรู้ได้    (One Trial Learning )              เช่น ประสบการณ์ชีวิตที่วิกฤตหรือรุนแรงบางอย่าง ได้แก่ การประสบ
อุบัติเหตุที่รุนแรง การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ฯลฯ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเข้าใจ
           ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสำาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึำนภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มาก
กว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนีำเชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ทีบุคคลแสดงออกมานัำนต้อง
                                                                                    ่
ผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึำนระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น      (Insight)     คือความรู้
ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม
        ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนีำยังแบ่งย่อยได้อีกดังนีำ
           ๑.                      (Gestalt's Theory)
                   ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์
           ๒.      ทฤษฎีสนามของเลวิน ( Lewin's Field Theory)

ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory)
        นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ชาวเยอรมัน ประกอบด้วย Max
Wertheimer, Wolfgang Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยว
กับการรับรู้ (Perception ) การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่ นำาไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้
ปัญหา (Insight)
           องค์ประกอบของการเรียนรู้ มี ๒ ส่วน คือ
          ๑    .
              การรับรู้     (Perception)       เป็นกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มากระทบประสาทสัมผัส
ซึ่งจะเน้นความสำาคัญของการรับรู้เป็นส่วนรวมที่สมบูรณ์มากกว่าการรับรู้ส่วนย่อยทีละส่วน
           ๒   .   การหยั่งเห็น   (Insight)    เป็นการรู้แจ้ง เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามาทันทีทันใดขณะที่บุคคล
กำาลังเผชิญปัญหาและจัดระบบการรับรู้ ซึ่งเดวิส     (Davis, 1965)           ใช้คำาว่า   Aha ' experience
หลักของการหยั่งเห็นสรุปได้ดังนีำ
                        .
                 ๒ ๑ การหยั่งเห็นขึำนอยู่กับสภาพปัญหา การหยั่งเห็นจะเกิดขึำนได้ง่ายถ้ามีการรับรู้องค์ประกอบของ
ปัญหาที่สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับขัำนตอนเหตุการณ์ หรือสภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพยายาม
หาคำาตอบ
                    .
                   ๒ ๒ คำาตอบที่เกิดขึำนในใจถือว่าเป็นการหยั่งเห็น ถ้าสามารถแก้ปัญหาได้บุคคลจะนำามาใช้ในโอกาส
ต่อไปอีก
                    .
                   ๒ ๓ คำาตอบหรือการหยั่งเห็นที่เกิดขึำนสามารถนำาไปประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
10


ทฤษฎีสนามของเลวิน      (Lewin's Field Theory)
                     Kurt Lewin นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947)                        มีแนวคิดเกี่ยวกับการ
เรียนรู้เช่นเดียวกับกลุ่มเกสตัลท์ ทีว่าการเรียนรู้ เกิดขึำนจากการจัดกระบวนการรับรู้ และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไข
                                    ่
ปัญหาแต่เขาได้นำาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ เขาเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมา
อย่างมีพลังและทิศทาง      (Field of Force)                สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียก
ว่า   Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ
          Lewin กำาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี ๒ ชนิด คือ
          ๑.  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical       environment)
          ๒.  สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment)                               เป็นโลกแห่งการรับรู้
ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก หมายถึง               Life space
นั่นเอง
         Life space ของบุคคลเป็นสิ่งเฉพาะตัว ความสำาคัญที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน                คือ ครูต้องหาวิธี
ทำาให้ตัวครูเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนให้ได้
การนำาหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ใช้
         ๑    .ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทัำง
ที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น
          ๒   .    เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชัำนเรียน โดยใช้แนวทางต่อไปนีำ
                    .
                   ๒ ๑    เน้นความแตกต่าง
                   ๒.๒    กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล
                   ๒.๓    กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม
                   ๒.๔    กระตุนให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ
                               ้
                   ๒.๕    กำาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น
          ๓.       การกำาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขัำนตอน เนืำอหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน
          ๔. คำานึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียน พยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนมีเนืำอหาที่
เป็นประโยชน์ ผูเรียนนำาไปใช้ประโยชน์ได้ และควรจัดโอกาสให้ผู้เรียนรู้สึกประสบความสำาเร็จด้วย
               ้
          ๕   .    บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอด จะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนมีความศรัทธาและครูจะ
สามารถเข้าไปอยู่ใน       Life space      ของผู้เรียนได้

ทฤษฎีปัญญาสังคม   (Social Learning Theory)
        Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนีำ
ขึำนจากการศึกษาค้นคว้าของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า "ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning
Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม"
        ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้นหลักการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) เกิดจาก
การที่บุคคลสังเกตการกระทำาของผู้อื่นแล้วพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนัำน ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึำนในสภาพแวดล้อม
ทางสังคมเราสามารถพบได้ในชีวิตประจำาวัน เช่น การออกเสียง การขับรถยนต์ การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เป็นต้น




ขัำนตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต
          ๑   .   ขัำนให้ความสนใจ   (Attention Phase) ถ้าไม่มีขัำนตอนนีำ การเรียนรู้อาจจะไม่เกิดขึำน เป็น
ขัำนตอน       ที่ผู้เรียนให้ความสนใจต่อตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง และคุณลักษณะเด่นของ
11

ตัวแบบจะเป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ
            .
      ๒ ขัำนจำา       (Retention Phase)        เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ จะบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้
ในระบบความจำาของตนเอง ซึ่งมักจะจดจำาไว้เป็นจินตภาพเกี่ยวกับขัำนตอนการแสดงพฤติกรรม
          ๓ . ขันปฏิบัติ
                ำ            (Reproduction Phase)                               เป็นขัำนตอนทีผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ
                                                                                             ่
ซึ่งจะส่งผลให้มีการตรวจสอบการเรียนรู้ที่ได้จดจำาไว้
        . ขัำนจูงใจ (Motivation Phase) ขัำนตอนนีำเป็นขัำนแสดงผลของการกระทำา
        ๔
(Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถ้าผลทีตัวแบบเคยได้รับ (Vicarious
                                                     ่
Consequence) เป็นไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยาก
แสดงพฤติกรรมตามแบบ ถ้าเป็นไปในทางลบ (Vicarious Punishment) ผูเรียนก็มักจะงดเว้นการแสดง
                                                                   ้
พฤติกรรมนัำนๆ
       หลักพืำนฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี ๓ ประการ คือ
        . กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทัำงกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจของผู้เรียน
        ๑
       ๒. การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ๓ ประการ ระหว่าง ตัวบุคคล (Person)                                      สิ่ง
แวดล้อม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลต่อกันและกัน

                                                                       P

                   B                                                                                               E
        ๓   .   ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้วอาจไม่มีการแสดงออกก็ได้ เช่น
ผลของการกระทำา       (Consequence)           ด้านบวก เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการก
ระทำาด้านลบ อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ
การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้
       ๑    .
            ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคำานึงอยู่เสมอว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและ
เลียนแบบจะเกิดขึำนได้เสมอ แม้ว่าครูจะไม่ได้ตัำงวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม
       ๒    .
            การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขัำนตอนของทฤษฎีปัญญาสังคมทัำงสิำน                 ครู
ต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านัำน จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความผิด
พลาดของครูแม้ไม่ตัำงใจ ไม่ว่าครูจะพรำ่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจำา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียน
ไปแล้ว
       ๓    .ตัวแบบในชัำนเรียนไม่ควรจำากัดไว้ที่ครูเท่านัำน ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็นตัวแบบได้ในบางกรณี  โดย
ธรรมชาติเพื่อนในชัำนเรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบสูงอยู่แล้ว ครูควรพยายามใช้ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและ
เลียนแบบเพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี


                                                                  เอกสารอ้างอิง


ประดินันท์ อุปรมัย   .   ๒๕๔๐   .   เอกสารการสอนชุดวิชาพืำนฐานการศึกษา หน่วยที่ ๔ มนุษย์กับการเรียนรู้ น ๑๑๗             ( .          -
        ๑๕๕     ).   พิมพ์ครัำงที่ ๑๕       :   นนทบุรี   ,   สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช      .
พรรณี ชูทัย เจนจิต       .   ๒๕๓๘       .   จิตวิทยาการเรียนการสอน          .   พิมพ์ครัำงที่   ๔ ; กรุงเทพ ,   บริษัท
        คอมแพคท์พริำนท์จำากัด       .
12


                .
อัจฉรา ธรรมาภรณ์ ๒๕๓๑       .   จิตวิทยาการเรียนรู้   .   ปัตตานี   :   คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      วิทยาเขตปัตตานี   ,   ๒๕๓๑   .


                                           -----------------------------

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

Was ist angesagt? (20)

โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

Andere mochten auch

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีพัน พัน
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLnapadon2
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)lovegussen
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 

Andere mochten auch (11)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBLการจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
การจัดการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลัก BBL
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Ähnlich wie จิตวิทยาการเรียนรู้

5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้honeylamon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้ซิกส์ zaza
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้pajyeeb
 

Ähnlich wie จิตวิทยาการเรียนรู้ (20)

5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

จิตวิทยาการเรียนรู้

  • 1. วิชาที่ ๑๐๐๐๓ จิตวิทยาการเรียนรู้ เวลาศึกษา บรรยาย ๖ ชั่วโมง นำำาหนักคะแนน ๓ เรื่องที่จะศึกษา ๑. ความหมายของการเรียนรู้ ๒. องค์ประกอบของการเรียนรู้ ๓ . ธรรมชาติของการเรียนรู้ ๔ . การถ่ายโยงการเรียนรู้ ๕ . ทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิด ๑ .การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำาให้ บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ ลักษณะสำาคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึำน คือ มีการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซำาๆ และมีการเพิ่มพูนในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทัำงทางปริมาณและคุณภาพ ๓ . ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ สามารถนำาความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการ เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑. องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒. อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง . ๓ อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๔ . วางแผนนำาทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ถูกต้อง กิจกรรมการเรียนการสอน ก . กิจกรรมของครู - บรรยายและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ตอบคำาซักถาม ข . กิจกรรมของผู้เข้ารับการศึกษา - ฟังบรรยายและร่วมปฏิบัติกิจกรรม - ซักถาม สื่อการสอน เอกสารประกอบการสอน การประเมินผล - ประเมินผลจากกิจกรรมในห้องเรียน และใช้แบบทดสอบ
  • 2. 2 จิตวิทยาการเรียนรู้ การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสำาคัญและจำาเป็นในการดำารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ ตังแต่แรกเกิดจนตาย สำาหรับมนุษย์การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก ำ อื่น ๆ ดังพระราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า "สิ่งที่ทำาให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็ เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ . " การเรียนรู้ช่วยให้มนุษย์รู้จักวิธี ดำาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและสภาพการต่างๆ ได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของ มนุษย์จะมีอิทธิพลต่อความสำาเร็จและความพึงพอใจในชีวิตของมนุษย์ด้วย ความหมายของการเรียนรู้ นักจิตวิทยาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนรู้ไว้ เช่น ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม คิมเบิล อัน เป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง" ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทัำงนีำไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิด จากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์ " คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อัน เป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลประสบมา " พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน" ประดินันท์ อุปรมัย (๒๕๔๐, ชุดวิชาพืำนฐานการศึกษา (มนุษย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครัำงที่ ๑๕, หน้า ๑๒๑) “ การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์ โดยการ เปลี่ยนแปลงนัำนเป็นเหตุทำาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม “ ประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทัำงประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ทางอ้อม ประสบการณ์ทางตรง คือ ประสบการณ์ที่บุคคลได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเอง เช่น เด็กเล็กๆ ที่ยังไม่เคยรู้จักหรือ เรียนรู้คำาว่า “ร้อน” เวลาที่คลานเข้าไปใกล้กานำำาร้อน แล้วผู้ใหญ่บอกว่าร้อน และห้ามคลานเข้าไปหา เด็กย่อมไม่เข้าใจ และคงคลานเข้าไปหาอยู่อีก จนกว่าจะได้ใช้มือหรืออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปสัมผัสกานำำาร้อน จึงจะรู้ว่า กานำำาที่ว่าร้อนนัำนเป็นอย่างไร ต่อไป เมื่อเขาเห็นกานำำาอีกแล้วผู้ใหญ่บอกว่ากานำำานัำนร้อนเขาจะไม่คลานเข้าไปจับกานำำา นัำน เพราะเกิดการเรียนรู้คำาว่าร้อนที่ผู้ใหญ่บอกแล้ว เช่นนีำกล่าวได้ว่า ประสบการณ์ ตรงมีผลทำาให้เกิดการเรียนรู้เพราะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทำาให้เผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ในการมี ประสบการณ์ตรงบางอย่างอาจทำาให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้ ได้แก่ ๑. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา หรือสิ่งเสพติดบางอย่าง ๒. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ ๓. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยล้าของร่างกาย ๔.พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนต่างๆ ประสบการณ์ทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่ผู้เรียนมิได้พบหรือสัมผัสด้วยตนเองโดยตรง แต่อาจได้รับ ประสบการณ์ทางอ้อมจาก การอบรมสั่งสอนหรือการบอกเล่า การอ่านหนังสือต่างๆ และการรับรู้จากสื่อมวลชนต่างๆ จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกำาหนดโดย บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุงพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนีำ ่ ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำา ความเข้าใจ การนำาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
  • 3. 3 ๒ . ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม ๓ .ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้าน การปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทำา การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำานาญ องค์ประกอบสำาคัญของการเรียนรู้ ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสำาคัญ ๔ ประการ คือ ๑ . แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึำนภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคล ทัำงสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนืำอ แรงขับและความพร้อมเหล่านีำจะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะ ชักนำาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป ๒ .สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึำนในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำาให้บุคคลมี ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และ อุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนำามาใช้ ๓ . การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับ การกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทัำงส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คำาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น ๔ .การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้ เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึำน การเสริมแรงมีทัำงทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ ของบุคคลเป็นอันมาก ธรรมชาติของการเรียนรู้ การเรียนรู้มีลักษณะสำาคัญดังต่อไปนีำ ๑ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการเรียนรู้ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรู้จากการไม่รู้ไปสู่ การเรียนรู้ ๕ ขันตอน คือ ำ . ๑ ๑ มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล ๑.๒ บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททัำง ๕ ๑.๓ บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า ๑.๔ บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้ ๑.๕ บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า Stimulus Sensation Perception สิ่งเร้า ประสาทรับสัมผัส การรับรู้ เกิดการเรียนรู้ Learning Response Concept การเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาตอบสนอง ความคิดรวบยอด พฤติกรรม การเรียนรู้เริ่มเกิดขึำนเมื่อมีสิ่งเร้า (Stimulus) มากระตุ้นบุคคล ระบบประสาทจะตื่นตัวเกิดการรับสัมผัส (Sensation) ด้วยประสาทสัมผัสทัำง ๕ แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความหมายโดยอาศัย ประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้ (Perception)ใหม่ อาจสอดคล้องหรือแตกต่างไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุป ผลของการรับรู้นัำน เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Concept) และมีปฏิกิริยาตอบสนอง
  • 4. 4 (Response) อย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้า ตามที่รับรู้ซึ่งทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงว่า เกิดการ เรียนรู้แล้ว ๒ . การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้อาศัยวุฒิภาวะ วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ของบุคคลแต่ละวัยที่เป็นไปตามธรรมชาติ แม้ว่าการเรียนรู้จะไม่ใช่วุฒิภาวะแต่การเรียนรู้ต้องอาศัยวุฒิภาวะด้วย เพราะการที่บุคคลจะมีความสามารถในการรับรู้หรือตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากหรือน้อยเพียงใดขึำนอยู่กับว่าบุคคลนัำนมีวุฒิ ภาวะเพียงพอหรือไม่ ๓ . การเรียนรู้เกิดได้ง่าย ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน การเรียนสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน คือ การเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนต้องการจะเรียนหรือสนใจจะเรียน เหมาะกับวัย และวุฒิภาวะของผู้เรียนและเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน การเรียนในสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียนย่อมทำาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนในสิ่งที่ผู้เรียนไม่ต้องการหรือไม่สนใจ ๔ . การเรียนรู้แตกต่างกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน บุคคลต่างกันอาจเรียนรู้ได้ไม่เท่ากันเพราะบุคคลอาจมีความพร้อมต่างกัน มีความ สามารถในการเรียนต่างกัน มีอารมณ์และความสนใจที่จะเรียนต่างกันและมีความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้อง กับสิ่งที่จะเรียนต่างกัน ในการเรียนรู้สิ่งเดียวกัน ถ้าใช้วิธีเรียนต่างกัน ผลของการเรียนรู้อาจมากน้อยต่างกันได้ และวิธีที่ทำาให้เกิด การเรียนรู้ได้มากสำาหรับบุคคลหนึ่งอาจไม่ใช่วิธีเรียนที่ทำาให้อีกบุคคลหนึ่งเกิดการเรียนรู้ได้มากเท่ากับบุคคลนัำนก็ได้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึำนได้ ๒ ลักษณะ คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) (Negative Transfer) และการถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของการ เรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึำน ง่ายขึำน หรือดีขึำน การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก มัก เกิดจาก ๑. เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้งแล้ว ๒. เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง ๓. เมื่อผู้เรียนมีความตัำงใจที่จะนำาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีกงานหนึ่ง และสามารถจำาวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยำา ๔ . เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยชอบที่จะนำาความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมาลองคิด ทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลการ เรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทำาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง หรือยากขึำนและไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่าย โยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึำนได้ ๒ แบบ คือ ๑ . แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรู้งานแรกไปขัดขวางการเรียนรู้ งานที่ ๒ ๒ . แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรู้งานที่ ๒ ทำาให้การเรียนรู้งาน แรกน้อยลง การเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก -เมื่องาน ๒ อย่างคล้ายกันมาก แต่ผู้เรียนยังไม่เกิดการเรียนรู้งานใดงานหนึ่งอย่างแท้จริงก่อนที่จะเรียนอีก งานหนึ่ง ทำาให้การเรียนงาน ๒ อย่างในเวลาใกล้เคียงกันเกิดความสับสน - เมื่อผู้เรียนต้องเรียนรู้งานหลายๆ อย่างในเวลาติดต่อกัน ผลของการเรียนรู้งานหนึ่งอาจไปทำาให้ผู้เรียนเกิด ความสับสนในการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ การนำาความรู้ไปใช้ ๑ . ก่อนที่จะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ใหม่ ต้องแน่ใจว่า ผู้เรียนมีความรู้พืำนฐานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ใหม่มาแล้ว
  • 5. 5 ๒. พยายามสอนหรือบอกให้ผู้เรียนเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ๓. ไม่ลงโทษผู้ที่เรียนเร็วหรือช้ากว่าคนอื่นๆ และไม่มุ่งหวังว่าผู้เรียนทุกคนจะต้องเกิดการเรียนรู้ที่เท่ากันใน เวลาเท่ากัน ๔. ถ้าสอนบทเรียนที่คล้ายกัน ต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนแรกได้ดีแล้วจึงจะสอนบทเรียนต่อไป ๕. พยายามชีำแนะให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของบทเรียนที่มีความสัมพันธ์กัน ลักษณะสำาคัญ ที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึำน จะต้องประกอบด้วยปัจจัย ๓ ประการ คือ ๑. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทน ถาวร ๒. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนัำนจะต้องเป็นผลมาจากประสบการณ์ หรือการฝึก การปฏิบัติซำาๆ เท่านัำน ๓. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวจะมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความ สามารถทางทักษะทัำงปริมาณและคุณภาพ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory of Learning) ทฤษฎีการเรียนรู้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกำาหนดปรัชญาการ ศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะ ทำาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำาคัญ แบ่งออกได้ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ ๑. (Associative Theories) ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง ๒. ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theories) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Stimulus) และการตอบสนอง ทฤษฎีนีำเห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนีำว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับ กระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนีำแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ ดังนีำ ๑ . (Conditioning Theories) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข ๑.๑ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories) ๑.๒ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำา (Operant Conditioning Theory) ๒. ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theories) ๒.๑ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) ๒.๒ ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่อง (S-R Contiguity Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค อธิบายถึงการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวข้องมักจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) หรือ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องอารมณ์ ความรู้สึก บุคคลสำาคัญของทฤษฎีนีำ ได้แก่ Pavlov, Watson, Wolpe etc. Ivan P. Pavlov นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย (1849 - 1936) ได้ทำาการทดลองเพื่อศึกษาการเรียนรู้ที่เกิดขึำนจาก (Unconditioned การเชื่อมโยงระหว่างการตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไข Stimulus = UCS) และสิ่งเร้า ที่เป็นกลาง (Neutral Stimulus) จนเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้า ที่เป็นกลางให้กลายเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus = CS) และการตอบสนอง ที่ไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Response = UCR) เป็นการตอบสนองที่มีเงื่อนไข
  • 6. 6 (Conditioned Response = CR) ลำาดับขัำนตอนการเรียนรู้ที่เกิดขึำนดังนีำ ๑. ก่อนการวางเงื่อนไข UCS (อาหาร) UCR (นำำาลาย ไหล) สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (เสียงกระดิ่ง) นำำาลายไม่ไหล ๒. ขณะวางเงื่อนไข CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร) UCR (นำำาลาย ไหล) ๓. หลังการวางเงื่อนไข CS (เสียงกระดิ่ง) CR (นำำาลาย ไหล) หลักการเกิดการเรียนรู้ที่เกิดขึำน คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR) เกิดจากการนำาเอาสิ่ง เร้าที่วางเงื่อนไข (CS) มาเข้าคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (UCS) ซำำากันหลายๆ ครัำง ต่อมาเพียงแต่ให้สิ่ง เร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย่างเดียวก็มีผลทำาให้เกิดการตอบสนองในแบบเดียวกัน ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ ๔ ประการ คือ ๑. การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR นานๆ โดยไม่ให้ UCS เลย การ ตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป ๒. การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery ) เมื่อเกิดการดับสูญของ การตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให้ CS จะเกิด CR โดย อัตโนมัติ ๓ . (Generalization) หลังจากเกิดการตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนองแบบเดียวกัน ๔. การจำาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วาง เงื่อนไข จะมีการจำาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมีการตอบสนองที่แตกต่างกันด้วย John B. Watson นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ได้ทำาการทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ์กับเด็ก ชายอายุประมาณ ๑๑ เดือน โดยใช้หลักการเดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุปหลักเกณฑ์การเรียนรู้ได้ ดังนีำ ๑ . การแผ่ขยายพฤติกรรม (Generalization) มีการแผ่ขยายการตอบสนองที่วางเงื่อนไขต่อสิ่งเร้า ที่คล้ายคลึงกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข . การลดภาวะ หรือการดับสูญการตอบสนอง (Extinction) ทำาได้ยากต้องให้สิ่งเร้าใหม่ ๒ (UCS ) ที่มผลตรงข้ามกับสิ่งเร้าเดิม จึงจะได้ผลซึ่งเรียกว่า Counter - Conditioning ี Joseph Wolpe นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ได้นำาหลักการ Counter - Conditioning ของ Watson ไปทดลองใช้บำาบัดความกลัว (Phobia) ร่วมกับการใช้เทคนิคผ่อนคลายกล้ามเนืำอ (Muscle Relaxation) เรียกวิธีการนีำว่า Desensitization
  • 7. 7 การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้ในการสอน ๑ . ครูสามารถนำาหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีนีำมาทำาความเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนที่แสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึกทัำงด้านดีและไม่ดี รวมทัำงเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น วิชาที่เรียน กิจกรรม หรือครูผู้สอน เพราะเขาอาจ ได้รับการวางเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่ก็เป็นได้ ๒ . ครูควรใช้หลักการเรียนรู้จากทฤษฎีปลูกฝังความรู้สึกและเจตคติที่ดต่อเนืำอหาวิชา กิจกรรมนักเรียน ครูผู้ ี สอนและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน ๓ . ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กำาลังใจใน การเรียนและการทำากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศจากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรง จนเกิดการวางเงื่อนไขขึำน กรณีที่ผเรียนเกิดความเครียด และวิตกกังวลมาก ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ผ่อนคลาย ู้ ความรู้สึกได้บ้างตามขอบเขตที่เหมาะสม ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทำาของสกินเนอร์ (Skinner's Operant Conditioning Theory) B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้ทำาการทดลองด้าน จิตวิทยาการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์การเรียนรู้ที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทำา (Operant Behavior) สกินเนอร์ได้แบ่ง พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว้ ๒ แบบ คือ ๑. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึำนโดยอัตโนมัติ หรือ เป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริบตา นำำาลายไหล หรือ การเกิดอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ ๒ . Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กำาหนด หรือเลือกที่จะ แสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจำาวัน เช่น กิน นอน พูด เดิน ทำางาน ขับรถ ฯลฯ . การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสำาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า จึงมีคนเรียกว่าเป็นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนีำสกินเนอร์ให้ความสำาคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผลทำาให้เกิดการเรียนรู้ที่ คงทนถาวร ยิ่งขึำนด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึำนอยู่กับผลของการกระทำา คือ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทัำงทางบวกและทางลบ พฤติกรรม การเสริม การลงโทษแรง ทางบวก ทางลบ ทางบวก ทางลบ ความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึำน ความถี่ของพฤติกรรมลดลง การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้ ๑. การเสริมแรง และ การลงโทษ ๒. การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม ๓.การสร้างบทเรียนสำาเร็จรูป การเสริมแรงและการลงโทษ (Reinforcement) คือการทำาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดง การเสริมแรง พฤติกรรมเพิ่มขึำนอันเป็นผลจากการได้รับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่เหมาะสม การเสริมแรงมี ๒ ทาง ได้แก่ ๑. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึง พอใจ มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึำน
  • 8. 8 ๒ . การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เป็นการนำาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึง พอใจออกไป มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึำน การลงโทษ (Punishment) คือ การทำาให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการแสดง พฤติกรรมลดลง การลงโทษมี ๒ ทาง ได้แก่ ๑ . การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็นการให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ไม่พึงพอใจ มี ผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง ๒ . การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็นการนำาสิ่งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรือสิ่ง เสริมแรงออกไป มีผลทำาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง ตารางการเสริมแรง (The Schedule of Reinforcement) ๑. การเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Reinforcement) เป็นการให้สิ่งเสริมแรงทุก ครัำงที่บุคคลแสดงพฤติกรรมตามต้องการ ๒ . การเสริมแรงเป็นครัำงคราว (Intermittent Reinforcement) ซึ่งมีการกำาหนดตารางได้ หลายแบบ ดังนีำ . (Iinterval schedule) ๒ ๑ กำาหนดการเสริมแรงตามเวลา ๒.๑.๑ กำาหนดเวลาแน่นอน (Fixed Interval Schedules = FI) ๒.๑.๒ กำาหนดเวลาไม่แน่นอน (Variable Interval Schedules = VI ) ๒.๒ กำาหนดการเสริมแรงโดยใช้อัตรา (Ratio schedule) ๒.๒.๑ กำาหนดอัตราแน่นอน (Fixed Ratio Schedules = FR) ๒.๒.๒ กำาหนดอัตราไม่แน่นอน (Variable Ratio Schedules = VR) การปรับพฤติกรรมและการแต่งพฤติกรรม การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ มาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยใช้หลักการเสริมแรงและการลงโทษ การแต่งพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เป็นการเสริมสร้างให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยใช้วิธีการเสริมแรงกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้อย จนกระทั่งเกิดพฤติกรรมตามต้องการ บทเรียนสำาเร็จรูป (Programmed Instruction) เป็นบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผู้สอนสร้างขึำน ประกอบด้วย เนืำอหา กิจกรรม คำาถามและ คำา เฉลย การสร้างบทเรียนโปรแกรมใช้หลักของ Skinner คือเมื่อผู้เรียนศึกษาเนืำอหาและทำากิจกรรม จบ ๑ บท จะ มีคำาถามยั่วยุให้ทดสอบความรู้ความสามารถ แล้วมีคำาเฉลยเป็นแรงเสริมให้อยากเรียนบทต่อๆ ไปอีก ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike's Connectionism Theory) Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นักจิตวิทยาการศึกษาชาว อเมริกัน ผูได้ชื่อว่าเป็น"บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา" เขาเชื่อว่า "คนเราจะเลือกทำาในสิ่งก่อให้เกิดความพึงพอใจและ ้ จะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำาให้ไม่พึงพอใจ" จากการทดลองกับแมวเขาสรุปหลักการเรียนรู้ได้ว่า เมื่อเผชิญกับปัญหาสิ่งมีชีวิต จะเกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก (Trial and Error) นอกจากนีำเขายังให้ความสำาคัญกับ การเสริมแรงว่าเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วขึำน กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ๑. กฎแห่งผล (Law of Effect) มีใจความสำาคัญคือ ผลแห่งปฏิกิริยาตอบสนองใดที่เป็นที่น่าพอใจ อินทรีย์ย่อมกระทำาปฏิกิริยานัำนซำำาอีกและผลของปฏิกิริยาใดไม่เป็นที่พอใจบุคคลจะหลีกเลี่ยงไม่ทำาปฏิกิริยานัำนซำำาอีก ๒ . กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) มีใจความสำาคัญ ๓ ประเด็น คือ . ๒ ๑ ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วได้เรียน อินทรีย์จะเกิดความพอใจ ๒.๒ ถ้าอินทรีย์พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วไม่ได้เรียน จะเกิดความรำาคาญใจ
  • 9. 9 . ๒ ๓ ถ้าอินทรีย์ไม่พร้อมที่จะเรียนรู้แล้วถูกบังคับให้เรียน จะเกิดความรำาคาญใจ ๓ . กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) มีใจความสำาคัญคือ พฤติกรรมใดที่ได้มีโอกาสกระทำา ซำำาบ่อยๆ และมีการปรับปรุงอยู่เสมอ ย่อมก่อให้เกิดความคล่องแคล่วชำานิชำานาญ สิ่งใดที่ทอดทิำงไปนานย่อมกระทำาได้ ไม่ดีเหมือนเดิมหรืออาจทำาให้ลืมได้ การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้ ๑ . การสอนในชัำนเรียนครูควรกำาหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน จัดแบ่งเนืำอหาเป็นลำาดับเรียงจากง่ายไปยาก เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจติดตามบทเรียนอย่างต่อเนื่อง เนืำอหาที่เรียนควรมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำาวันของผู้เรียน ๒ . ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน ผู้เรียนต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอและไม่ตกอยู่ในสภาวะบาง อย่าง เช่น ป่วย เหนื่อย ง่วง หรือ หิว จะทำาให้การเรียนมีประสิทธิภาพ ๓ . ครูควรจัดให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว แต่ไม่ควรให้ทำาซำำาซากจนเกิดความเมื่อย ล้าและเบื่อหน่าย ๔ . ครูควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพึงพอใจและรู้สึกประสบผลสำาเร็จในการทำากิจกรรม โดยครูต้องแจ้งผลการ ทำากิจกรรมให้ทราบ หากผู้เรียนทำาได้ดีควรชมเชยหรือให้รางวัล หากมีข้อบกพร่องต้องชีำแจงเพื่อการปรับปรุงแก้ไข (Guthrie's Contiguity Theory) ทฤษฎีสัมพันธ์ต่อเนื่องของกัทรี Edwin R. Guthrie นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้กล่าวยำำาถึงความสำาคัญของความใกล้ชิด ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ถ้ามีการเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดและแนบแน่นเพียงครัำงเดียวก็สามารถเกิดการ เรียนรู้ได้ (One Trial Learning ) เช่น ประสบการณ์ชีวิตที่วิกฤตหรือรุนแรงบางอย่าง ได้แก่ การประสบ อุบัติเหตุที่รุนแรง การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก ฯลฯ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเข้าใจ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสำาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึำนภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มาก กว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุ่มนีำเชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ทีบุคคลแสดงออกมานัำนต้อง ่ ผ่านกระบวนการคิดที่เกิดขึำนระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนีำยังแบ่งย่อยได้อีกดังนีำ ๑. (Gestalt's Theory) ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ ๒. ทฤษฎีสนามของเลวิน ( Lewin's Field Theory) ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory) นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) ชาวเยอรมัน ประกอบด้วย Max Wertheimer, Wolfgang Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยว กับการรับรู้ (Perception ) การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่ นำาไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ ปัญหา (Insight) องค์ประกอบของการเรียนรู้ มี ๒ ส่วน คือ ๑ . การรับรู้ (Perception) เป็นกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มากระทบประสาทสัมผัส ซึ่งจะเน้นความสำาคัญของการรับรู้เป็นส่วนรวมที่สมบูรณ์มากกว่าการรับรู้ส่วนย่อยทีละส่วน ๒ . การหยั่งเห็น (Insight) เป็นการรู้แจ้ง เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามาทันทีทันใดขณะที่บุคคล กำาลังเผชิญปัญหาและจัดระบบการรับรู้ ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใช้คำาว่า Aha ' experience หลักของการหยั่งเห็นสรุปได้ดังนีำ . ๒ ๑ การหยั่งเห็นขึำนอยู่กับสภาพปัญหา การหยั่งเห็นจะเกิดขึำนได้ง่ายถ้ามีการรับรู้องค์ประกอบของ ปัญหาที่สัมพันธ์กัน บุคคลสามารถสร้างภาพในใจเกี่ยวกับขัำนตอนเหตุการณ์ หรือสภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพยายาม หาคำาตอบ . ๒ ๒ คำาตอบที่เกิดขึำนในใจถือว่าเป็นการหยั่งเห็น ถ้าสามารถแก้ปัญหาได้บุคคลจะนำามาใช้ในโอกาส ต่อไปอีก . ๒ ๓ คำาตอบหรือการหยั่งเห็นที่เกิดขึำนสามารถนำาไปประยุกต์ ใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
  • 10. 10 ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory) Kurt Lewin นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947) มีแนวคิดเกี่ยวกับการ เรียนรู้เช่นเดียวกับกลุ่มเกสตัลท์ ทีว่าการเรียนรู้ เกิดขึำนจากการจัดกระบวนการรับรู้ และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไข ่ ปัญหาแต่เขาได้นำาเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ เขาเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมา อย่างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียก ว่า Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ Lewin กำาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี ๒ ชนิด คือ ๑. สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) ๒. สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เป็นโลกแห่งการรับรู้ ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก หมายถึง Life space นั่นเอง Life space ของบุคคลเป็นสิ่งเฉพาะตัว ความสำาคัญที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน คือ ครูต้องหาวิธี ทำาให้ตัวครูเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนให้ได้ การนำาหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ใช้ ๑ .ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทัำง ที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น ๒ . เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชัำนเรียน โดยใช้แนวทางต่อไปนีำ . ๒ ๑ เน้นความแตกต่าง ๒.๒ กระตุ้นให้มีการเดาและหาเหตุผล ๒.๓ กระตุ้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม ๒.๔ กระตุนให้ใช้ความคิดอย่างรอบคอบ ้ ๒.๕ กำาหนดขอบเขตไม่ให้อภิปรายออกนอกประเด็น ๓. การกำาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขัำนตอน เนืำอหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน ๔. คำานึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียน พยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนมีเนืำอหาที่ เป็นประโยชน์ ผูเรียนนำาไปใช้ประโยชน์ได้ และควรจัดโอกาสให้ผู้เรียนรู้สึกประสบความสำาเร็จด้วย ้ ๕ . บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถ่ายทอด จะเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้เรียนมีความศรัทธาและครูจะ สามารถเข้าไปอยู่ใน Life space ของผู้เรียนได้ ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Learning Theory) Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนีำ ขึำนจากการศึกษาค้นคว้าของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า "ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning Theory) ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม" ทฤษฎีปัญญาสังคมเน้นหลักการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) เกิดจาก การที่บุคคลสังเกตการกระทำาของผู้อื่นแล้วพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนัำน ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึำนในสภาพแวดล้อม ทางสังคมเราสามารถพบได้ในชีวิตประจำาวัน เช่น การออกเสียง การขับรถยนต์ การเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เป็นต้น ขัำนตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต ๑ . ขัำนให้ความสนใจ (Attention Phase) ถ้าไม่มีขัำนตอนนีำ การเรียนรู้อาจจะไม่เกิดขึำน เป็น ขัำนตอน ที่ผู้เรียนให้ความสนใจต่อตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง และคุณลักษณะเด่นของ
  • 11. 11 ตัวแบบจะเป็นสิ่งดึงดูดให้ผู้เรียนสนใจ . ๒ ขัำนจำา (Retention Phase) เมื่อผู้เรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ จะบันทึกสิ่งที่สังเกตได้ไว้ ในระบบความจำาของตนเอง ซึ่งมักจะจดจำาไว้เป็นจินตภาพเกี่ยวกับขัำนตอนการแสดงพฤติกรรม ๓ . ขันปฏิบัติ ำ (Reproduction Phase) เป็นขัำนตอนทีผู้เรียนลองแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ่ ซึ่งจะส่งผลให้มีการตรวจสอบการเรียนรู้ที่ได้จดจำาไว้ . ขัำนจูงใจ (Motivation Phase) ขัำนตอนนีำเป็นขัำนแสดงผลของการกระทำา ๔ (Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถ้าผลทีตัวแบบเคยได้รับ (Vicarious ่ Consequence) เป็นไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจให้ผู้เรียนอยาก แสดงพฤติกรรมตามแบบ ถ้าเป็นไปในทางลบ (Vicarious Punishment) ผูเรียนก็มักจะงดเว้นการแสดง ้ พฤติกรรมนัำนๆ หลักพืำนฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม มี ๓ ประการ คือ . กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทัำงกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจของผู้เรียน ๑ ๒. การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ๓ ประการ ระหว่าง ตัวบุคคล (Person) สิ่ง แวดล้อม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลต่อกันและกัน P B E ๓ . ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้วอาจไม่มีการแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระทำา (Consequence) ด้านบวก เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการก ระทำาด้านลบ อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ การนำาหลักการมาประยุกต์ใช้ ๑ . ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคำานึงอยู่เสมอว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและ เลียนแบบจะเกิดขึำนได้เสมอ แม้ว่าครูจะไม่ได้ตัำงวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม ๒ . การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขัำนตอนของทฤษฎีปัญญาสังคมทัำงสิำน ครู ต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านัำน จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความผิด พลาดของครูแม้ไม่ตัำงใจ ไม่ว่าครูจะพรำ่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจำา แต่ก็ผ่านการสังเกตและการรับรู้ของผู้เรียน ไปแล้ว ๓ .ตัวแบบในชัำนเรียนไม่ควรจำากัดไว้ที่ครูเท่านัำน ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็นตัวแบบได้ในบางกรณี โดย ธรรมชาติเพื่อนในชัำนเรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบสูงอยู่แล้ว ครูควรพยายามใช้ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและ เลียนแบบเพื่อนที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี เอกสารอ้างอิง ประดินันท์ อุปรมัย . ๒๕๔๐ . เอกสารการสอนชุดวิชาพืำนฐานการศึกษา หน่วยที่ ๔ มนุษย์กับการเรียนรู้ น ๑๑๗ ( . - ๑๕๕ ). พิมพ์ครัำงที่ ๑๕ : นนทบุรี , สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช . พรรณี ชูทัย เจนจิต . ๒๕๓๘ . จิตวิทยาการเรียนการสอน . พิมพ์ครัำงที่ ๔ ; กรุงเทพ , บริษัท คอมแพคท์พริำนท์จำากัด .
  • 12. 12 . อัจฉรา ธรรมาภรณ์ ๒๕๓๑ . จิตวิทยาการเรียนรู้ . ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี , ๒๕๓๑ . -----------------------------