SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน ความรู้เกี่ยวกับสมบัติทางไฟฟ้าในสมัยโบราณเริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักนำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์แล้วพบว่าแท่งนั้นสามารถดูดของเบาๆได้ นักปราชญ์ในสมัยคริสตศตวรรษที่สิบแปดอธิบายว่า สารทั้งปวงประกอบด้วยของไหลสองอย่าง คือ ไฟฟ้าลบและไฟฟ้าบวก หากเกิดการเสียดสีหรือถู สมบัติทางไฟฟ้าของสารจะปรากฏขึ้น เนื่องจากของไหลทั้งสองมีไม่เท่ากัน
ในปี ค.ศ.1897 เจ เจ ทอมสัน ตั้งสมมุติฐานว่ารังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาค คือ อิเล็กตรอน ทอมสันทำการทดลองหาอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนโดยใช้สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าช่วยได้ 1.75 x 1011คูลอมบ์ต่อกิโลกรัมและพบว่าอัตราส่วนนี้มีค่าคงที่ไม่ขึ้นกับชนิดของก๊าซที่ใช้ แสดงว่าในอะตอมทุกชนิดมีอนุภาคอิเล็กตรอนเหมือนกัน
 ความรู้เกี่ยวกับสมบัติทางไฟฟ้าในสมัยโบราณเริ่มขึ้นเมื่อมนุษย์รู้จักนำแท่งอำพันมาถูกับผ้าขนสัตว์แล้วพบว่าแท่งนั้นสามารถดูดของเบาๆได้ นักปราชญ์ในสมัยคริสตศตวรรษที่สิบแปดอธิบายว่า สารทั้งปวงประกอบด้วยของไหลสองอย่าง คือ ไฟฟ้าลบและไฟฟ้าบวก หากเกิดการเสียดสีหรือถู สมบัติทางไฟฟ้าของสารจะปรากฏขึ้น เนื่องจากของไหลทั้งสองมีไม่เท่ากัน วิลเลียมครูกส์(WilliamCrookes)ได้สร้างหลอดรังสีแคโทดขึ้นมาเพื่อทดลองการนำไฟฟ้าของก๊าซซึ่งเขาสรุปผลการทดลองได้ว่า “ก๊าซจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่อก๊าซนั้นมีความกดดันต่ำๆ และแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าสูงๆ”
ผลการทดลอง     พบว่ามีจุดเรืองแสงหรือมีจุดสว่างบนฉากเรืองแสงจากผลการทดลองทอมสันได้ตั้งสมมติฐานว่า จะต้องมีรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุไฟฟ้าพุ่งเป็นเส้นตรงมาจากขั้วแคโทด มายังฉาก ซึ่งรังสีนี้อาจจะเกิดจากก๊าซที่บรรจุในหลอดแก้ว หรืออาจจะเกิดจากโลหะที่ทำเป็นขั้วแคโทด     เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุและต้องการจะทราบว่าเป็นประจุไฟฟ้าบวกหรือลบทอมสันจึงได้ทดลองต่อไปโดยใช้สนามไฟฟ้าเข้าช่วย โดยยึดหลักที่ว่า  อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะต้องเบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า “ถ้าอนุภาคนั้นมีประจุไฟฟ้าบวกจะเบนเข้าหาขั้วลบของสนามไฟฟ้า  และถ้ามีประจุลบจะเบนเข้าหาขั้วบวก”โดยเพิ่มขั้วไฟฟ้าในหลอดรังสีแคโทด ดังรูป
การทดลอง  อะตอมประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบแต่ไม่ทราบว่าอนุภาคลบเหล่านี้เกิดจากก๊าซในหลอดรังสีแคโทด หรือเกิดจากขั้วไฟฟ้า     ทอมสันได้ศึกษาสมบัติของรังสีแคโทดต่อไป  โดยหาอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของรังสีนั้น  ในตอนแรกทอมสันได้ทดลองเปลี่ยนก๊าซชนิดต่างๆ ในหลอดรังสีแคโทด  ผลการทดลองปรากฏผลเหมือนเดิม  และเมื่อทดลองเปลี่ยนชนิดของขั้วไฟฟ้าที่ใช้ทำแคโทด ผลการทดลองปรากฏผลเหมือนเดิม  และได้ค่าประจุต่อมวล(e/m)=1.7x108คูลอมบ์/กรัมเสมอไม่ว่าจะเปลี่ยนชนิดของการ หรือเปลี่ยนชนิดของโลหะที่ทำเป็นขั้วแคโทดสรุปการทดลองของทอมสัน      ทอมสันทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของก๊าซในหลอดรังสีแคโทด พบว่า ไม่ว่าจะใช้ก๊าซใดบรรจุในหลอดหรือใช้โลหะใดเป็นแคโทด  จะได้รังสีที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบพุ่งมาที่ฉากเรืองแสงเหมือนเดิม  เมื่อคำนวณหาอัตราส่วนของประจุต่อมวล (e/m)ของอนุภาค จะได้ค่าคงที่ทุกครั้งเท่ากับ 1.76 x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม        สรุปว่า อะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า อิเล็กตรอนงพิสูจน์สมมติฐานของทอมสัน
อิเล็กตรอน  คำว่าอิเล็กตรอนมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคือ elektronหมายถึง อำพัน ซึ่งเป็นซากดึกดำบรรพ์ (fossil) ของยางไม้ที่ทับถมจนแข็งเป็นก้อนและมีสีเหลืองใสเป็นเงา ที่ชาวกรีกโบราณพบตั้งแต่ 600 ปีก่อนคริสต์ศักราชแล้วว่าเมื่อถูแท่งอำพันกับผ้าขนสัตว์แล้วจะมีแรงดูดจากไฟฟ้าสถิตสามารถดูดของเบา ๆ ได้ เรื่องนี้ไม่มีความคืบหน้าเป็นพันปี เป็นได้แค่ของเล่นสนุกไปทั่วยุโรป รวมทั้งในราชสำนักประเทศอังกฤษสมัยพระราชินีอะลิซาเบทที่ 1 มีหมอหลวงชื่อวิลเลียมกิลเบิร์ต (William Gilbert) ที่สนใจศึกษาจริงจังสักหน่อยและเสนอให้เรียกแรงดูดชนิดนี้ว่า electricity ตรงกับภาษาไทยว่า ไฟฟ้า
นำเสนอโดย นางสาวนริสา  แพนสี  เลขที่ 14 นางสาวสุวรรณี  ศรีวะรมย์  เลขที่  35 นายจักรพงษ์โสวะภาสน์  เลขที่  4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6

More Related Content

Viewers also liked

ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมNang Ka Nangnarak
 
Album s fotografijami
Album s fotografijamiAlbum s fotografijami
Album s fotografijamivalvasorandme
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 

Viewers also liked (12)

ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
 
Album s fotografijami
Album s fotografijamiAlbum s fotografijami
Album s fotografijami
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน

Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสสุริยะ ไฝชัยภูมิ
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมBeer Deelamai
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 

Similar to ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน (12)

Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Radioactive stability by piyaporn
Radioactive stability by piyapornRadioactive stability by piyaporn
Radioactive stability by piyaporn
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียสโครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
โครงสร้างของอะตอมและนิวเคลียส
 
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอมแบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 

More from Nang Ka Nangnarak

บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรี
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรีดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรี
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรีNang Ka Nangnarak
 

More from Nang Ka Nangnarak (12)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม การเหนี่ยวนำไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรี
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรีดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรี
ดงมะไฟพิทยาคม นัยตา พันธ์ศรี
 

ดงมะไฟพิทยาคม การค้นพบอิเล็กตรอน