SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
รายงาน วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้า จัดทำโดย 1. นายรัฐพงษ์  หล่อวงค์  เลขที่  7   2. นายอภิวัฒน์  สวยสด  เลขที่  13   3. นางสาวชฎาพร  ฟูแสง  เลขที่  15    4. นางสาวมลิวัลย์  โนนตาสี  เลขที่  26    5. นางสาวอัญธิกา  บุญเลิศ  เลขที่  35 เสนอต่อ ครูจิราภรณ์ ไชยมงคล โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
การค้นพบไฟฟ้า ก่อนคริสต์ศักราช  600  ปี ทาลีส นักวิทยาศาสตร์ชาวกรีกได้ค้นพบไฟฟ้าขึ้น โดยเขาได้นำเอาแท่งอำพันธ์ขนสัตว์ แท่งอำนาจดูดสิ่งของเบาๆได้ เช่นเส้นผม เป็นต้นเขาจึงใช้ชื่ออำนาจนี้ว่า ไฟฟ้า อิเล็กตรอน   electron  ต่อมา พ .  ศ . 2143  นักวิทย์ยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ด . ร .  วิลเลียม กัลเบิร์ต ได้ทดลองโดยนำเอาแท่งแก้ว แท่ฝยางสนมาถูกับผ้าเพรช หรือ ผ้าขนสัตว์ นำมาทดลองกับวัตถุ ได้ผลทดลองเหมือน ทาลีส ใช้ชื่อไฟฟ้าที่เกิดขึ้นว่า อิเล็กโทรไลต์
ชนิดของไฟฟ้า แบ่ง ออก เป็น  2  ประเภท ดังนี้ 1.  ไฟฟ้าสถิต  ( Staic lcctricty )  คือไฟฟ้าที่อนุภาคประจุไฟฟ้าไม่มีการเคลื่อนที่ แต่สามารถส่งพลังงานไฟฟ้าออกมาโดยรอบหากเกิดการเสียดสีของวัตถุ  2  ชนิดประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่หรือถ่ายเทให้กับวัตถุอีกชนิดหนึ่ง ทำให้เกิดพลังงาน ที่เรียกว่า ประจุไฟฟ้าสถิต  ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมี  2  ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก ( Positive ) และประจุไฟฟ้าลบ ( Negative ) มีอำนาจดูดวัตถุที่เล็กและเบาได้
2.)  ไฟฟ้ากระแส คือไฟฟ้าจากการหมุนของขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็กถาวรเป็นเวลานานจนเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น เราเรียกไฟฟ้าแบบนี้ว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ   มีไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากเซลล์ไฟฟ้า หรือเรียกอีกอย่างว่าแบตเตอรี่ ซึ่งเกิดจากการทำปฏิกิริยาของสารเคมีกับโลหะจนเกิดไฟฟ้ขึ้น เซลล์ไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งคือเซลล์ไฟฟ้าแห้งทำจากสารเคมีหลายชนิดบรรจุไว้ในก้อนเมื่อใช้งานจะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น เช่นถ่านไฟฉาย เราเรียกไฟฟ้าชนิดนี้ว่าไฟฟ้ากระแสตรง แหล่งกำเนิดไฟฟ้เกิดจาก แบ่งออกเป็น  2  ประเภท คือ ไฟฟ้ากระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับ
2.1   เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี เช่น ไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนตร์ภายในมีสารเคมีบรรจุอยุ่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับโลหะจนเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น 2.2   เกิดจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม โดยอาศัยหลักการทำงานของขดลวดทองแดงเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็ก หรือแม่เหล็กเคลื่อนที่ในทองแดง
1.  ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง  direct current  หรือ  D.C.   เป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้าปิด กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า จะไหลจากขั้วบวกไปขั้วลบ ภายในแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เรารู้จัก เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรรี่ ไดนาโม เป็นต้น
ไฟฟ้ากระแสสลับหมายถึงกระแสไฟฟ้าที่มีการสลับสับเปลี่ยนขั้วอยู่ตลอดเวลาอย่างสม่ำเสมอ ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าก็จะเปลี่ยนสลับไปมาจากบวก - ลบและจากลบ - บวก อยู่ตลอดเวลา ซึ่งไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้าที่ใช้กันตามบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปเมื่อเรานำไฟฟ้ากระแสสลับมาเขียนเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับมุมที่เปลี่ยนไปเมื่อเวลาผ่านไปในขณะที่เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าจะได้ความสัมพันธ์ของกราฟเป็นเส้นโค้งสลับขึ้นลงไปมาซึ่งหมายถึงเมื่อเวลาผ่านไปแรงดันไฟฟ้าจะสลับการไหลตลอดเวลา      การไหลของกระแสสลับกลับไปกลับมาครบ 1 รอบ เรียกว่า  1  ไซเคิล  ( cycle)   หรือ  1  รูปคลื่นและจำนวนรูปคลื่นทั้งหมดในเวลาที่ผ่านไป  1  วินาที เรียกว่า ความถี่ ( frequency)   ซึ่งความถี่ไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นรอบต่อวินาทีหรือรูปคลื่นต่อวินาทีหรือไซเคิลต่อวินาทีมีหน่วยย่อเป็น " เฮิรตซ์ "( Hertz) สำหรับความถี่ไฟฟ้าในประเทศไทยเท่ากับ  50  เฮิรตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ
การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล ก็คือการนำพลังงานไฟฟ้ามาทำให้ สิ่งต่างๆที่จับต้องได้ เกิดแรงชนิดกล่าว กระทำต่อกัน อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ก็คือ มอเตอร์ไฟฟ้า กับ แม่เหล็กไฟฟ้า  ( ไดนาโม เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า )  เพราะฉะนั้น เครื่องใช้ไฟฟ้าอะไรก็ตามที่มีส่วนประกอบเป็น มอเตอร์ และหรือ แม่เหล็กไฟฟ้า ก็คือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ส่วนจะนำพลังงานกลที่ได้ไปทำอะไรต่อ ก็แล้วแต่ชนิดของเครื่องไฟฟ้านั้น เช่น พัดลมไฟฟ้า ,  เครื่องปรับอากาศ ,  เครื่องซักผ้า ,  ตู้เย็น ,  รถยนต์ไฟฟ้า ,  รถไฟฟ้า  BTS,  รถไฟใต้ดินของ รฟม ฯลฯ คิดต่อเองแล้วกัน แต่หม้อหุงข้าว , เตารีด ไม่ใช่นะครับ เพราะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน หลอดไฟ ก็ไม่ใช่ เพราะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง  การเปลี่ยนพลังงาน
อุปกรณ์สำคัญที่ทำให้เกิดการทำงานคืออะไร 1.   หม้อแปลงไฟฟ้า  2.   มอเตอร์ไฟฟ้า  -  มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง  -  มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ   - มอเตอร์สปลิทเฟส   - มอเตอร์คาปาซิเตอร์  - มอเตอร์เชดเดคโปล - มอเตอร์ยูนิเวอร์เซล   3. สายไฟฟ้า 4. เบรกเกอร์ไฟฟ้า 5. หลอดไฟฟ้า 6. สวิตซ์ไฟฟ้า
แหล่งอ้างอิง www.google.com   www.jiraporn07.wordpress.com   สมุดวิทยาศาสตร์ ครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
 

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติlamphoei
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 

Similar to เรื่อง ไฟฟ้า

โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์Thananato Jaiyuen
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthananat
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthananat
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthananat
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthananat
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าWannipha Wongchaiya
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์Thananato Jaiyuen
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าJiraporn Chaimongkol
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าAnunata5
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 

Similar to เรื่อง ไฟฟ้า (20)

โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์งานนำวิทยาศาตร์
งานนำวิทยาศาตร์
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
การค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้าการค้นพบไฟฟ้า
การค้นพบไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

เรื่อง ไฟฟ้า

  • 1. รายงาน วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้า จัดทำโดย 1. นายรัฐพงษ์ หล่อวงค์ เลขที่ 7 2. นายอภิวัฒน์ สวยสด เลขที่ 13 3. นางสาวชฎาพร ฟูแสง เลขที่ 15 4. นางสาวมลิวัลย์ โนนตาสี เลขที่ 26 5. นางสาวอัญธิกา บุญเลิศ เลขที่ 35 เสนอต่อ ครูจิราภรณ์ ไชยมงคล โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
  • 2. การค้นพบไฟฟ้า ก่อนคริสต์ศักราช 600 ปี ทาลีส นักวิทยาศาสตร์ชาวกรีกได้ค้นพบไฟฟ้าขึ้น โดยเขาได้นำเอาแท่งอำพันธ์ขนสัตว์ แท่งอำนาจดูดสิ่งของเบาๆได้ เช่นเส้นผม เป็นต้นเขาจึงใช้ชื่ออำนาจนี้ว่า ไฟฟ้า อิเล็กตรอน electron ต่อมา พ . ศ . 2143 นักวิทย์ยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ด . ร . วิลเลียม กัลเบิร์ต ได้ทดลองโดยนำเอาแท่งแก้ว แท่ฝยางสนมาถูกับผ้าเพรช หรือ ผ้าขนสัตว์ นำมาทดลองกับวัตถุ ได้ผลทดลองเหมือน ทาลีส ใช้ชื่อไฟฟ้าที่เกิดขึ้นว่า อิเล็กโทรไลต์
  • 3. ชนิดของไฟฟ้า แบ่ง ออก เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ไฟฟ้าสถิต ( Staic lcctricty ) คือไฟฟ้าที่อนุภาคประจุไฟฟ้าไม่มีการเคลื่อนที่ แต่สามารถส่งพลังงานไฟฟ้าออกมาโดยรอบหากเกิดการเสียดสีของวัตถุ 2 ชนิดประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนที่หรือถ่ายเทให้กับวัตถุอีกชนิดหนึ่ง ทำให้เกิดพลังงาน ที่เรียกว่า ประจุไฟฟ้าสถิต ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก ( Positive ) และประจุไฟฟ้าลบ ( Negative ) มีอำนาจดูดวัตถุที่เล็กและเบาได้
  • 4. 2.) ไฟฟ้ากระแส คือไฟฟ้าจากการหมุนของขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็กถาวรเป็นเวลานานจนเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น เราเรียกไฟฟ้าแบบนี้ว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ   มีไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งที่เกิดจากเซลล์ไฟฟ้า หรือเรียกอีกอย่างว่าแบตเตอรี่ ซึ่งเกิดจากการทำปฏิกิริยาของสารเคมีกับโลหะจนเกิดไฟฟ้ขึ้น เซลล์ไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งคือเซลล์ไฟฟ้าแห้งทำจากสารเคมีหลายชนิดบรรจุไว้ในก้อนเมื่อใช้งานจะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น เช่นถ่านไฟฉาย เราเรียกไฟฟ้าชนิดนี้ว่าไฟฟ้ากระแสตรง แหล่งกำเนิดไฟฟ้เกิดจาก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไฟฟ้ากระแสตรง และไฟฟ้ากระแสสลับ
  • 5. 2.1 เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี เช่น ไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนตร์ภายในมีสารเคมีบรรจุอยุ่ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับโลหะจนเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น 2.2 เกิดจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโม โดยอาศัยหลักการทำงานของขดลวดทองแดงเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็ก หรือแม่เหล็กเคลื่อนที่ในทองแดง
  • 6. 1. ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง direct current หรือ D.C. เป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้าปิด กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า จะไหลจากขั้วบวกไปขั้วลบ ภายในแหล่งกำเนิด และแหล่งกำเนิดไฟฟ้าที่เรารู้จัก เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรรี่ ไดนาโม เป็นต้น
  • 7. ไฟฟ้ากระแสสลับหมายถึงกระแสไฟฟ้าที่มีการสลับสับเปลี่ยนขั้วอยู่ตลอดเวลาอย่างสม่ำเสมอ ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าก็จะเปลี่ยนสลับไปมาจากบวก - ลบและจากลบ - บวก อยู่ตลอดเวลา ซึ่งไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้าที่ใช้กันตามบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปเมื่อเรานำไฟฟ้ากระแสสลับมาเขียนเป็นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับมุมที่เปลี่ยนไปเมื่อเวลาผ่านไปในขณะที่เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าจะได้ความสัมพันธ์ของกราฟเป็นเส้นโค้งสลับขึ้นลงไปมาซึ่งหมายถึงเมื่อเวลาผ่านไปแรงดันไฟฟ้าจะสลับการไหลตลอดเวลา      การไหลของกระแสสลับกลับไปกลับมาครบ 1 รอบ เรียกว่า 1 ไซเคิล ( cycle) หรือ 1 รูปคลื่นและจำนวนรูปคลื่นทั้งหมดในเวลาที่ผ่านไป 1 วินาที เรียกว่า ความถี่ ( frequency) ซึ่งความถี่ไฟฟ้ามีหน่วยวัดเป็นรอบต่อวินาทีหรือรูปคลื่นต่อวินาทีหรือไซเคิลต่อวินาทีมีหน่วยย่อเป็น " เฮิรตซ์ "( Hertz) สำหรับความถี่ไฟฟ้าในประเทศไทยเท่ากับ 50 เฮิรตซ์ ไฟฟ้ากระแสสลับ
  • 8. การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานกล ก็คือการนำพลังงานไฟฟ้ามาทำให้ สิ่งต่างๆที่จับต้องได้ เกิดแรงชนิดกล่าว กระทำต่อกัน อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ก็คือ มอเตอร์ไฟฟ้า กับ แม่เหล็กไฟฟ้า ( ไดนาโม เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า ) เพราะฉะนั้น เครื่องใช้ไฟฟ้าอะไรก็ตามที่มีส่วนประกอบเป็น มอเตอร์ และหรือ แม่เหล็กไฟฟ้า ก็คือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ส่วนจะนำพลังงานกลที่ได้ไปทำอะไรต่อ ก็แล้วแต่ชนิดของเครื่องไฟฟ้านั้น เช่น พัดลมไฟฟ้า , เครื่องปรับอากาศ , เครื่องซักผ้า , ตู้เย็น , รถยนต์ไฟฟ้า , รถไฟฟ้า BTS, รถไฟใต้ดินของ รฟม ฯลฯ คิดต่อเองแล้วกัน แต่หม้อหุงข้าว , เตารีด ไม่ใช่นะครับ เพราะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน หลอดไฟ ก็ไม่ใช่ เพราะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง การเปลี่ยนพลังงาน
  • 9. อุปกรณ์สำคัญที่ทำให้เกิดการทำงานคืออะไร 1. หม้อแปลงไฟฟ้า 2. มอเตอร์ไฟฟ้า - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ - มอเตอร์สปลิทเฟส - มอเตอร์คาปาซิเตอร์ - มอเตอร์เชดเดคโปล - มอเตอร์ยูนิเวอร์เซล 3. สายไฟฟ้า 4. เบรกเกอร์ไฟฟ้า 5. หลอดไฟฟ้า 6. สวิตซ์ไฟฟ้า
  • 10. แหล่งอ้างอิง www.google.com www.jiraporn07.wordpress.com สมุดวิทยาศาสตร์ ครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
  • 11.