SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 76
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การบริหารจัดการงบประมาณ




       รวบรวมและจัดทําโดย
                            กองโครงการและวางแผน
                             แผนกบัญชีงบประมาณ
              ฝายการชางกล การรถไฟแหงประเทศไทย
สารบัญ

                                                           หนา
บทนําและความหมาย                                             1

พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป                       2-4

วิวัฒนาการดานงบประมาณ                                     5-15

ประเภทบัญชีและรหัสงบประมาณ                                16-28

ตัวอยางคําขอตั้งงบประมาณทําการประจําป                  29-46

ตัวอยางการเจียดจายงบประมาณ                             47-54

ระเบียบฉบับที่ 2.4 วาดวยการยืมเงินทดรองจาย            55-56

ตัวอยางการจัดซื้อดวยเงินสด                             57-64

ตัวอยางการขอยืมเงินทดรองจายแบบฉุกเฉิน                  65-102
การบริหารจัดการงบประมาณ

บทนํา
              ทุกหนวยงานทั้งของภาครัฐและเอกชน จะตองมีการบริหารจัดการในการจัดทํางบประมาณ
เพื่อที่จะไดมีการบริหาร จัดสรรงบประมาณที่ไดรับมาอยางคุมที่สุด ดังนั้นเห็นวาระดับหัวหนางานตั้งแตระดับ
ผูบริหารเบื้องตน (สารวัตร),ผูบริหารระดับกลาง(หัวหนากอง) จะตองใหความสําคัญที่จะเรียนรู ศึกษา ใหเกิด
ความเขาใจ แลวนําไปบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งถือวาเปนเครื่องมือที่ความสําคัญที่ใชในการ
บริหารงาน
ความหมาย
               ความหมายของงบประมาณ จะแตกตางกันออกไปตามกาลเวลาและลักษณะการใหความหมาย
ของนักวิชาการแตละดาน ซึ่งมองงบประมาณแตละดานไมเหมือนกัน เชนนักเศรษฐศาสตร มอง
งบประมาณในลักษณะของการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด นักบริหารจะมอง
งบประมาณในลักษณะของกระบวนการหรือการบริหารงบประมาณใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบรรลุ
เปาหมายของแผนงานที่วางไว นักการเมืองจะมองงบประมาณในลักษณะของการมุงใหรัฐสภาใชอํานาจ
ควบคุมการปฏิบัติงานของรัฐบาล
สรุปความหมายของงบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดง
โครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประเมินการบริหารกิจกรรม โครงการและ
คาใชจาย ตลอดจนทรัพยากรที่จําเปนสนับสนุน
การดําเนินงานใหบรรลุตามแผนนี้ยอมประกอบดวยการทํางาน 3 ขั้น ตอน คือ
        1.การจัดเตรียม
        2. การอนุมัติ
        3. การบริหาร
                งบประมาณมีความสําคัญและเปนประโยชนตอการบริหาร หนวยงานสามารถนําเอางบประมาณ
มาใชเปนเครื่องมือในการบริหารหนวยงานใหเจริญกาวหนา ความสําคัญและประโยชนของงบประมาณมี
ดังนี้
         1) เปนเครื่องมือในการบริหารหนวยงาน ตามแผนงานและกําลังเงินที่มีอยูโดยใหมีการปฏิบัติงานให
สอดคลองกับแผนงานที่วางไว เพื่อปองกันการรั่วไหลและลดการปฏิบัติงานที่ไมจําเปนของ
หนวยงานลง
        2) เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน ถาหนวยงานจัดงบประมาณใชจายอยางถูกตองและมี
ประสิทธิภาพ จะสามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญกาวหนาแกหนวยงานและสังคม โดยหนวยงาน
ตองพยายามใชจายและจัดสรรงบประมาณใหเกิดประสิทธิผลไปสูโครงการที่จําเปน เปนโครงการ
ลงทุนเพื่อกอใหเกิดความกาวหนาของหนวยงาน
        3) เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหมีประสิทธิภาพ เนื่องจากทรัพยากรหรือ
การรบริหารงบประมาณ                                                                                   หนา 1
งบประมาณของหนวยงานมีจํากัด ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองใชงบประมาณเปนเครื่องมือ ในการ
จัดสรรทรัพยากรหรือใชจายเงินใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนในการใชและจัดสรรเงิน
งบประมาณไปในแตละดาน และมีการวางแผนปฏิบัติงานในการใชจายทรัพยากรนั้นๆ ดวย
เพื่อที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด
          4) เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เปนธรรม งบประมาณสามารถใชเปน
เครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่เปนธรรมไปสูจุดที่มีความจําเปนทั่วถึงที่จะทําใหหนวยงาน
นั้น สามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ
          5) เปนเครื่องมือประชาสัมพันธ งานและผลงานของหนวยงาน เนื่องจากงบประมาณเปนที่รวม
ทั้ง หมดของแผนงานและงานที่จะดําเนินการในแตละป พรอมทง ผลที่จะเกิดขึ้น ดังนั้น หนวยงาน
                                                           ั้
สามารถใชงบประมาณหรือเอกสารงบประมาณที่แสดงถึงงานตางๆ ที่ทําเพื่อเผยแพรและ
ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ
สรุปวา
              งบประมาณ มีความสําคัญตอการดําเนินงานขององคกร และตอการพัฒนาประเทศ และถาขาด
ซึ่งงบประมาณ ในการบริหารจัดการ ก็ไมสามารถนําพาประเทศไปสูความสําเร็จ ดังนั้น ในการบริหาร
งบประมาณ ตองยึดหลักของความโปรงใส เปนธรรม ประหยัดและมีประสิทธิภาพ




               อางอิง : ดร.ณรงค สัจพันโรจน. 2538 การจัดทําอนุมัติและบริหารงบประมาณแผนดิน

สิ่งที่ควรศึกษาเรียนรู

         1.ความหมายของงบประมาณ
        2.พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป
        3.การวิวัฒนาการงบประมาณ
        4.ประเภทของงบประมาณ
        5.ประเภทบัญชีงบประมาณ/รหัสควบคุม
        6.ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวของ
การรบริหารงบประมาณ                                                                             หนา 2
0   รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ


                                       หมวด ๘
                            การเงิน การคลัง และงบประมาณ
                                      -------------------------




      มาตรา ๑๖๖ งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถา
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณออกไมทันปงบประมาณ
ใหม ใหใชกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั้นไปพลาง
กอน
       มาตรา ๑๖๗ ในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณตองมี
เอกสารประกอบซึ่งรวมถึงประมาณการรายรับ และวัตถุประสงค กิจกรรม แผนงาน โครงการในแตละรายการ
ของการใชจายงบประมาณใหชัดเจน รวมทั้งตองแสดงฐานะการเงินการคลังของประเทศเกี่ยวกับภาพรวม
ของภาวะเศรษฐกิจที่เกิดจากการใชจายและการจัดหารายได ประโยชนและการขาดรายไดจากการยกเวน
ภาษีเฉพาะรายในรูปแบบตาง ๆ ความจําเปนในการตั้งงบประมาณผูกพันขามป ภาระหนี้และการกอหนี้ของ
รัฐและฐานะการเงินของรัฐวิสาหกิจ ในปที่ขออนุมัติงบประมาณนั้นและปงบประมาณที่ผานมาเพื่อใช
ประกอบการพิจารณาดวย

        หากรายจายใดไมสามารถจัดสรรงบประมาณใหแกหนวยราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นใด
ของรัฐไดโดยตรง ใหจัดไวในรายการรายจายงบกลาง โดยตองแสดงเหตุผลและความจําเปนในการกําหนด
งบประมาณรายจายงบกลางนั้นดวย
ใหมีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อกําหนดกรอบวินัยการเงินการคลัง ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑเกี่ยวกับการ
วางแผนการเงินระยะปานกลาง การจัดหารายได การกําหนดแนวทางในการจัดทํางบประมาณรายจายของ
แผนดิน การบริหารการเงินและทรัพยสิน การบัญชี กองทุนสาธารณะ การกอหนี้หรือการดําเนินการที่ผูกพัน
ทรัพยสินหรือภาระทางการเงินของรัฐ หลักเกณฑการกําหนด

       วงเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน และการอื่นที่เกี่ยวของ ซึ่งจะตองใชเปนกรอบในการ
จัดหารายได กํากับการใชจายเงินตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน และความ
เปนธรรมในสังคม

       มาตรา ๑๖๘ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ รางพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย สภาผูแทนราษฎรจะตอง
วิเคราะหและพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยหาวันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติดังกลาวมาถึงสภา
ผูแทนราษฎร

        ถาสภาผูแทนราษฎรพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้นไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่กลาวในวรรค
หนึ่ง ใหถือวาสภาผูแทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั้นและใหเสนอรางพระราชบัญญัติ
ดังกลาวตอวุฒิสภา

        ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือไมใหความเห็นชอบภายในยี่สิบวัน
นับแตวันที่รางพระราชบัญญัตินั้นมาถึงวุฒิสภา โดยจะแกไขเพิ่มเติมใด ๆ มิได

         ถาพนกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั้น ในกรณี
เชนนี้และในกรณีที่วุฒิสภาใหความเห็นชอบ ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐

การรบริหารงบประมาณ                                                                              หนา 3
ถารางพระราชบัญญัติดังกลาววุฒิสภาไมเห็นชอบดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔๘ วรรคสองมาใช
บังคับโดยอนุโลม
ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ รางพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะแปรญัตติ
เพิ่มเติมรายการหรือจํานวนในรายการมิได แตอาจแปรญัตติในทางลดหรือตัดทอนรายจายซึ่งมิใชรายจาย
ตามขอผูกพันอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้
         (๑) เงินสงใชตนเงินกู
         (๒) ดอกเบี้ยเงินกู
         (๓) เงินที่กําหนดใหจายตามกฎหมาย

        ในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือของคณะกรรมาธิการ การเสนอ การแปรญัตติ
หรือการกระทําดวยประการใด ๆ ที่มีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการมีสวน
ไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในการใชงบประมาณรายจาย จะกระทํามิได

      ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวน
สมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา เห็นวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหกใหเสนอความเห็น
ตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา และศาลรัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับ
ความเห็นดังกลาว ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหก ใหการ
เสนอ การแปรญัตติหรือการกระทําดังกลาวสิ้นผลไป

        รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญศาล
ยุติธรรม ศาลปกครองและองคกรตามรัฐธรรมนูญ

       ในการพิจารณางบประมาณรายจายของรัฐสภา ศาล และองคกรตามวรรคแปด หากหนวยงานนั้นเห็น
วางบประมาณรายจายที่ไดรับการจัดสรรใหนั้นไมเพียงพอ ใหสามารถเสนอคําขอแปรญัตติตอ
คณะกรรมาธิการไดโดยตรง

       มาตรา ๑๖๙ การจายเงินแผนดินจะกระทํา ไดก็เฉพาะที่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณ
รายจาย กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวดวยการโอนงบประมาณหรือกฎหมายวาดวยเงิน
คงคลัง เวนแตในกรณีจําเปนเรงดวนรัฐบาลจะจายไปกอนก็ได แตตองเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่
กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเชนวานี้ตองตั้งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังในพระราชบัญญัติโอนเงิน
งบประมาณรายจาย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําปงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ใหกําหนดแหลงที่มาของรายไดเพื่อชดใชรายจายที่ไดใชเงินคงคลังจายไป
กอนแลวดวย

      ในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะสงครามหรือการรบ คณะรัฐมนตรีมีอํานาจโอนหรือนํารายจายที่
กําหนดไวสําหรับหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจใดไปใชในรายการที่แตกตางจากที่กําหนดไวใน
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปไดทันที และใหรายงานรัฐสภาทราบโดยไมชักชา

       ในกรณีที่มีการโอนหรือนํารายจายตามงบประมาณที่กําหนดไวในรายการใดไปใชในรายการอื่นของ
หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ใหรัฐบาลรายงานรัฐสภาเพื่อทราบทุกหกเดือน

         มาตรา ๑๗๐ เงินรายไดของหนวยงานของรัฐใดที่ไมตองนําสงเปนรายไดแผนดินใหหนวยงานของ
รัฐนั้นทํารายงานการรับและการใชจายเงินดังกลาว เสนอตอคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปงบประมาณทุกป และให
คณะรัฐมนตรีทํารายงานเสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาตอไป




การรบริหารงบประมาณ                                                                             หนา 4
การรบริหารงบประมาณ   หนา 5
บทความ เรื่อง...
                        ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุ่งเน้นผลงาน
                                                            ่

                                                                            เรียบเรียงโดย : นางสาวอาภรณ์ แก้วสลับศรี
                                                                   เจ้าหน้าที่บริหารงาน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ



         บทความเรื่องนี้ ผูเ้ ขียนอยากให้ผูอ่านได้ทราบถึง
                                           ้                        สอดคลองกับนโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                                                                            ้
ความเป็ นมาของระบบงบประมาณในประเทศไทย เพื่อจะได้                    แห่งชาติในระยะยาว
ทราบถึงพัฒนาการร่วมกันว่าระบบงบประมาณของเรามีความ                           ระบบงบประมาณที่นามาใช้ในประเทศไทยตังแต่
                                                                                            ํ                  ้
เป็ นมาอย่างไร จึงได้มการรวบรวม เรียบเรียงมาให้ทราบกัน
                       ี                                            เริ่มมีการจัดทํางบประมาณจนถึงปัจจุบนจําแนกได้เป็ น 4
                                                                                                       ั
แต่ ก่ อ นอื่น เรามาทราบกัน ก่ อ นดีก ว่า ว่า ระบบงบประมาณ          ประเภทใหญ่ ๆ คือ
หมายถึงอะไร
                                                                                     งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line -
         ระบบงบประมาณ (Budget)                 หมายถึง
                                                                    Item Budgeting)
กระบวนการวางแผนเกี่ ยวกับ ตัว เลขทางการเงิน อย่ า งมี
                                                                                    งบประมาณแบบแสดงผลงาน
ระเบียบ ในระยะเวลาหนึ่ง โดยจะต้องคํานึงถึงทรัพยากรที่มี             ( Performance Budgeting )
อยู่ อย่ างจํากัด เพื่อให้องค์กรได้รบผลตอบแทนกลับคืนมา
                                    ั                                               งบประมาณแบบการวางแผน
ตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้
                   ํ                                                การวางโครงการ และการทํางบประมาณ ( Planning -
            การจัดทํางบประมาณของประเทศไทยสําหรับส่วน                Programming - Budgeting System : PPBS )
ราชการ มีแนวคิดในการจัด ทํามาแลวหลายรู ปแบบ มีก าร
                                    ้                                               งบประมาณแบบมุงเน้นผลงาน
                                                                                                 ่
ปรับ ปรุ ง เปลี่ย นแปลงระบบการจัด ทํา งบประมาณมาอย่ า ง             ( Performance Based Budgerting : PBB )
ต่อเนื่อง ในอดีตมีการใช้ระบบงบประมาณที่มลกษณะการรวม
                                         ี ั                                 เรามาทราบถึงลักษณะของระบบงบประมาณแต่ละ
                                                                    แบบ เริ่มตังแต่แบบแรกกันเลย
                                                                               ้
อํานาจ ไม่สามารถสนองตอบการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ
สภาพแวดลอม จึงเป็ นแรงผลักดันให้มีการปรับปรุ งระบบ
              ้
งบประมาณ เพื่อให้งบประมาณเป็ นเครื่องมือในการพัฒนา
เศรษฐกิ จ และเอื้ อ ต่ อ การแก้ป ัญ หาเศรษฐกิ จ ได้อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ รวมทังเพื่อเสริมสร้างให้มกลยุทธ์ในการจัดสรร
                    ้                  ี
ทรัพยากรที่เหมาะสม รวมทังมีการจัดลําดับความสําคัญที่
                             ้



       ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                           ่    ่                                                                หน้า 1
งบประมาณแบบแสดงรายการ                                      จากข อ จํา กัด ดัง กล่ า ว ทํา ให้มีก ารปรับ ปรุ ง ระบบ
                                                                         ้
         (Line – Item Budgeting)                             งบประมาณแบบใหม่ โดยนําหลักการและแนวทางการจัดทํา
           งบประมาณแบบแสดงรายการ มีวตถุประสงค์ท่ จะ
                                          ั           ี      งบประมาณแบบแสดงผลงาน มาใช้ผ สมผสานกับ ระบบ
                                                             งบประมาณแบบแสดงรายการ
ใช้เป็ นเครื่องมือในการควบคุมการใช้จ่ายเงิน ไม่ให้มการใช้
                                                   ี
จ่ายเงินเกินไปจากที่กาหนดหรือแตกต่างไปจากที่กาหนดไว้
                      ํ                          ํ
                                                                       งบประมาณแบบแสดงผลงาน
ให้ความสําคัญกับการควบคุ มปัจจัยนําเข้า (Input) แต่ ละ
                                                                       (Performance Budgeting)
รายการ ลักษณะของระบบงบประมาณแบบนี้ คือ
                                                                     งบประมาณแบบแสดงผลงาน ( Performance
               มุ่ง เน้น ในเรื่ องการควบคุ ม และตรวจสอบ      Budgeting )เป็ นระบบงบประมาณที่ม่งเน้นด้านประสิทธิภาพ
                                                                                              ุ
Input ให้เป็ นไปตามที่กาหนด (Control Orientation)
                         ํ                                   ในการบริหารงาน โดยได้รบอิทธิพลแนวความคิดมาจากการ
                                                                                    ั
              จําแนกค่าใช้จ่ายตามหมวดค่าใช้จ่าย และ          จัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ซึ่งมี
รายการใช้จ่ายในการของบประมาณ จะต้องกําหนดรายการ              แนวคิดว่า "การบริหารงานต้องทําโดยมีหลักเกณฑ์ ซึ่งกําหนด
ตามหมวดค่าใช้จ่ายให้ชดเจนและใช้งบประมาณตามรายการที่
                      ั
                                                             ขึ้นจากการศึกษาวิเคราะห์โดยรอบคอบเพื่อให้มีวธีท่ ีดีท่ ีสุด
                                                                                                             ิ
กําหนดไว้ จะใช้งบประมาณผิดหมวดหรือต่างไปจากรายการที่
กําหนดไม่ได้                                                 (The one best way) ในอันที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพใน
              ประเมินความสําเร็จหรือความลมเหลวของ
                                          ้                  การผลิตมากขึ้น" เป็ นระบบที่ม่งให้มการเชื่อมโยงการจัดสรร
                                                                                           ุ ี
งบประมาณจากความสามารถที่จะใช้งบประมาณที่ได้รบให้ ั           งบประมาณเข้า กับ การวางแผน อัน จะทํา ให้ก ารจัด สรร
หมดไป ไม่ได้ให้ความสําคัญกับประสิทธิภาพการบริหารและ          งบประมาณเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล ระบบงบประมาณแบบ
ผลงานที่เกิดจากการใช้งบประมาณ                                นี้ ริ เ ริ่ มขึ้น ครัง แรกในประเทศสหรัฐ อเมริ ก า ลัก ษณะของ
                                                                                   ้
              ขาดการยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการ             งบประมาณแบบนี้ คือ
ปฏิบตงาน
    ัิ                                                                               จําแนกงบประมาณตามลักษณะงาน
           ข้อดี                                             ( Functional Classification ) หรือวัตถุประสงค์ของงาน
           ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ ช่ วยในการ              ( Objective Classification ) เช่น จําแนกงบประมาณเป็ น
ควบคุ ม การใช้จ่ า ยของหน่ ว ยงานได้ดี เพราะมีก ารแสดง       ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ฯลฯ
ค่าใช้จ่ายไวอย่างชัดเจน จึงง่ายต่อการปฏิบตในการปรับ เพิ่ม/
             ้                           ัิ                                          มีการวัดประสิทธิภาพของการดําเนินงาน
ลดรายการ                                                     ( เปรียบเทียบ Output กับ Input ) เพื่อหาวิถทางที่ดท่ สุดใน
                                                                                                                 ี     ีี
           ข้อเสีย                                           การปฏิบติงาน Output จะเป็ นตัวชี้ประสิทธิภาพในการ
                                                                              ั
           ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ จะไม่สามารถ             ปฏิบตงาน  ัิ
วัดผลสําเร็จของงานได้ เพราะการอนุ มติเงินประจํางวดจะ
                                      ั                                              กําหนดมาตรการในการวัดงาน ( Work
อนุ มติตามหมวดรายจ่าย ไม่ได้อนุ มติตามแผนงาน/โครงการ
     ั                           ั                           Measurement ) และระบบบัญชีแสดงราคาต่อหน่วย ( Cost
ทําให้ไม่สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรที่        Accounting System ) สําหรับคํานวณค่าใช้จ่ายของงาน
จัดสรรให้แก่งาน/โครงการหนึ่ง ๆ กับผลที่ตองการให้เกิดขึ้น
                                         ้                   ต่าง ๆ
อันเป็ นอุปสรรคต่อการประเมินผลสําเร็จของการดําเนินงาน


       ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                           ่    ่                                                                  หน้า 2
ข้อดี                                              รอง โครงการหลัก โครงการรอง และกิจกรรม และจําแนก
         - ช่วยให้เกิดการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ      งบประมาณตามแผนงาน / โครงการ
และคุมค่า
      ้                                                               ต้องกําหนดและวิเคราะห์วตถุประสงค์ของ
                                                                                             ั
         - ช่วยให้ฝ่ายบริการเกิดความคล่องตัวในการ           โครงการ ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นของโครงการ
บริหารงานและการจัดซื้อวัสดุอปกรณ์ท่ มงต่อการผลิตผลงาน
                            ุ       ี ุ่                                      วิเคราะห์ทางเลือกต่าง ๆ เพื่อเลือกวิถทางที่มี
                                                                                                                         ี
                                                            ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล สู ง สุ ด ใ น ก า ร บ ร ร ลุ
         ข้อจํากัด
                                                            วัตถุประสงค์ของโครงการ
         - ต้องใช้ขอมูลที่แสดงถึงผลการดําเนินงานใน
                     ้
                                                                             พิจารณาค่าใช้จ่ายทังหมดของโครงการ
                                                                                                ้
อดีต ซึ่งอาจจะหาข้อมูลค่อนขา้ งยาก
                                                                          เน้นการวิเคราะห์ ซึ่งมีเทคนิคการวิเคราะห์
          - การพิจารณา “ความคุมค่า” อาจกระทําได้
                                   ้
                                                            ต่าง ๆ ที่นามาใช้ ได้แก่ System analysis, Zero base
                                                                       ํ
ลําบาก                                                      budget analysis, Quantitative analysis, Qualitative
          จากขอจํากัดดังกล่าว ทําให้ได้มีการพยายามที่จะ
               ้                                            analysis, Marginal analysis และ Cost effectiveness
พัฒนาระบบงบประมาณให้มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงได้มการ
                           ี                      ี         หรือ Cost - benefit analysis
นําเอาระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงานมาใช้ร่วมกับระบบ                              การเสนอของบประมาณต้องจัดทําเอกสาร 3
งบประมาณแบบแสดงรายการ                                       ชุด คือ
                                                                               1) Program Memorandum ( PM )
                                                            เป็ นเอกสารที่ แสดงให้เ ห็ น โครงสร้า งของสายงาน
         งบประมาณแบบการวางแผน การวางโครงการ                 ความสัมพันธ์ของแผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์ ผลงาน
         และการทํางบประมาณ                                  และผลที่คาดว่าจะได้รบจากโครงการ
                                                                                  ั
         (Planning – Programming – Budgeting                                   2) Program Financial Plan ( PFP )
         System : PPBS )                                    เป็ นแผนการใช้จ่ายของโครงการที่ตองการเงิน-งบประมาณใน
                                                                                              ้
                                                            ระยะยาว เพื่อเป็ นหลักประกันว่าโครงการจะดําเนินต่อไปได้
          ระบบงบประมาณแบบนี้ หรือบางครังเรียกว่า
                                        ้                   ในปี ต่อ ๆ ไป
งบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting ) เริ่ม                               3) Special Study ( SS ) เป็ นเอกสาร
                                                            ที่แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์โครงการและทางเลือกโครงการ
ใช้ครังแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1964 PPB หรือ
      ้
                                                            ต่าง ๆ
PPBS มีลกษณะสําคัญ คือ
          ั
                                                                      ข้อดี
              นําเอาการวางแผนระยะยาว ( 3 - 5 ปี ) มาใช้               - สามารถวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของแผนงาน
ในการกําหนดวงเงินงบประมาณ การวางแผนจะเชื่อมโยงกับ
                                                            ในระยะยาว
นโยบาย เป้ าหมายของรัฐบาล และเห็นภาพการดําเนินงานที่
                                                                      - ส่งเสริมการพัฒนาประเทศโดยมีแผนรองรับ
ต่อเนื่องไปในอนาคต
                                                                      - สามารถวิเคราะห์การใช้ทรัพยากรที่มอยู่อย่าง
                                                                                                           ี
              จัดทําแผนงานแยกตามนโยบายของรัฐบาลใน
แต่ละด้าน เช่น นโยบายด้านเศรษฐกิจ การศึกษา ฯลฯ              จํากัดให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
                 จําแนกแผนงานเป็ นแผนงานหลัก แผนงาน

      ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                          ่    ่                                                                           หน้า 3
ข้อจํากัด                                                 ตัดสินใจให้กบผูบริหารของหน่วยงาน
                                                                                  ั ้
        - มุงแต่ตนทุนทางด้านบัญชีและประโยชน์ทาง
                ่ ้                                                                  จัดสรรงบประมาณเป็ นวงเงินรวม ( Block
เศรษฐกิจ ไม่ใช้ดุลพินิจหรือเหตุผลทางสังคมและการเมืองมา                Grant ) ทําให้เกิดความยืดหยุ่นในการใช้งบประมาณ
พิจารณา                                                                              คํานวณค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณจากผลผลิต
                                                                      หรือกิจกรรม
        - ต้องใช้เวลามากในการดําเนินการ ต้องให้การ
                                                                                 กําหนดวงเงินงบประมาณล่วงหน้า (Medium
อบรม และมีเ ครื่องมือ พร้อ มสํา หรับ การวิเ คราะห์ ทํา ให้มี
                                                                      term Expenditure Framework : ( MTEF )
ปัญหาในขันการนําไปใช้
         ้
                                                                                    ใช้ระบบบัญชีพงรับพึงจ่าย ( Accrual Basis )
                                                                                                 ึ
            - มีระเบียบขันตอนซับซ้อนยุ่งยากเกินกว่าที่จะ
                         ้
                                                                                    เน้นการควบคุมภายใน
เขา้ ใจ
                                                                                    การรายงานผลจะเชื่อมโยงระหว่างการ
           - มาตรฐานการวัดผลงานไม่ชดเจน
                                      ั
                                                                      ดําเนินงานกับนโยบายของหน่วยงานและรัฐบาล
           ด้วยข้อจํากัดดังกล่าว จึงได้มการพัฒนาระบบ
                                        ี
                                                                               ระบบงบประมาณแบบมุงเน้นผลงานทําให้มนใจ
                                                                                               ่                 ่ั
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมาใช้ในการจัดสรรงบประมาณ
                                                                      ได้วา
                                                                          ่
เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                                                                               1) ผลผลิตที่เกิดขึ้นมีความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์
                                                                      และผลลัพธ์สอดคลองกับเป้ าหมายและนโยบาย
                                                                                             ้
                                                                               2) ผลผลิตที่ตองการมีปริมาณ ราคาและคุณภาพ
                                                                                                   ้
            งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน                                  เหมาะสมสอดคลองกัน้
            (Performance Based Budgeting : PBB)                                3) กลุมเป้ าหมายที่เหมาะสม
                                                                                         ่                        เป็ นผูไ้ ด้รบ
                                                                                                                               ั
                                                                      ประโยชน์จากผลผลิตนัน ภายในเวลาที่ตองการ
                                                                                                 ้          ้
         เป็ นระบบงบประมาณที่มงเน้นผลสําเร็จของผลผลิต
                                       ุ่                                      ประโยชน์ท่ หน่วยงานจะได้รบจากระบบงบประมาณ
                                                                                               ี          ั
และผลลัพธ์ มีการกํา หนดเป้ าหมายที่เ ป็ นรู ปธรรม มีแผน               แบบมุงเน้นผลงาน คือ
                                                                            ่
ยุ ท ธศาสตร์ท่ ี ชัด เจน มีต ว ชี้ ว ด ผลสัม ฤทธิ์ ข องงาน และ
                             ั ั                                               - ทราบผลลัพธ์ท่ รฐบาลต้องการ
                                                                                                     ีั
สามารถวัดและประเมินผลการทํางานได้ โดยมีความยืดหยุ่น                            - ระบุเป้ าประสงค์ และวัดผลผลิตได้
ในกระบวนการทํา งานเพื่อ ให้ส อดคล อ งกับ สถานการณ์ ท่ ี
                                  ้                                            - จัดลําดับความสําคัญของรายจ่ายและเชื่อมโยง
เปลี่ยนแปลงไป เน้นความรับผิดชอบของผูบริหารแทนการ
                                       ้                              ผลผลิตกับผลลัพธ์ได้
ควบคุมรายละเอียดในการเบิกจ่าย ลักษณะสําคัญของ PBB                              - แสดงให้เห็นว่าผลผลิตที่เกิดขึ้นส่งผลให้
                                                                      เกิดผลลัพธ์อย่างไร
คือ
                                                                               - สามารถตรวจวัดผลผลิตที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง
            ให้ความสําคัญกับ Output และ Outcome
                                                                      ในเชิง ปริมาณ ต้นทุน เวลา คุณภาพ
ซึ่งสอดคลองกับนโยบายและเป้ าหมายของรัฐบาล
         ้                                                            จากประโยชน์ขา้ งต้นทําให้หน่วยงานสามารถดําเนินกิจกรรม/
             ใช้การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning)                 โครงการให้สอดคลองกับผลลัพธ์ดงกล่าวได้
                                                                                           ้            ั
เป็ นเครื่องมือในการกําหนด Output             Outcome           และ
งบประมาณ
                 กระจายอํานาจ ( Devolution )ในการ

          ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                              ่    ่                                                                     หน้า 4
ในเวลาต่ อมา ประเทศไทยก็ได้มการพัฒนาระบบ
                                            ี                   หัว หน้า หน่ ว ยงานรับ ผิด ชอบต่ อ ความสํา เร็ จ ของผลผลิต
งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์มาใช้ในการ                 (Outputs) ที่หน่ วยงานนันรับผิดชอบในการดําเนินงาน ซึ่ง
                                                                                             ้
จัด สรรงบประมาณ เพื่ อให้ก ารจัด สรรงบประมาณมี                  ผลผลิต ดัง กล่ า ว เป็ น องค์ป ระกอบสํา คัญ ในข้อ ตกลงการ
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เริ่มดําเนินการมาตังแต่ปี 2545 จนถึง
                                          ้                     จัดทําผลผลิต (Service Delivery Agreement – SDA) ที่
ปัจจุบน ดังนัน เราจึงควรมาทําความรูจกกับระบบงบประมาณ
      ั      ้                        ้ั                        จัดทําขึ้นระหว่างรัฐมนตรีท่ กากับดูแลกับหัวหน้าหน่วยปฏิบติ
                                                                                             ีํ                          ั
แบบมุงเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์กนให้มากกว่านี้กนดีกว่า
        ่                           ั              ั                         หลักการ
                                                                             (1) ให้รฐบาลสามารถใช้วธีการ และกระบวนการ
                                                                                      ั                ิ
                                                                งบประมาณ เป็ นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ให้เกิดผล
         งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์                  สําเร็จตามนโยบาย และให้เห็นผลลัพธ์ท่ ประชาชนได้รบจาก
                                                                                                            ี         ั
         (Strategic Performance Based Budgeting :               นโยบายนัน    ้
         SPBB )                                                              (2) การมุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ โดย
                                                                คํานึงถึงความโปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
          งบประมาณแบบมุ่ง เน้น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร์                          (3) ให้หน่ วยปฏิบติมความคล่องตัวในการจัดทํา
                                                                                                  ั ี
(Strategic Performance based budgeting)                         และบริหารงบประมาณ ขณะเดียวกันหน่ วยปฏิบติก็ตองมี    ั ้
หมายถึง ระบบงบประมาณที่ให้ความสําคัญกับการกําหนด                ความรับผิดชอบ (Accountability) ในการนํางบประมาณไป
พันธกิจ (Mission) ขององค์กร จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์            ใช้ใ ห้เ กิด ผลงานตามยุ ท ธศาสตร์ และสอดคลอ งกับ ความ
                                                                                                                  ้
กลยุทธ์ แผนงาน งาน/โครงการ อย่างเป็ นระบบมีการติดตาม            ต้อ งการของประชาชน โดยผ่ า นระบบตรวจสอบผลการ
และประเมิน ผลสมํ่า เสมอ เพื่อ วัด ผลสํา เร็ จ ของงานตาม         ปฏิบตงาน และผลทางการเงินที่รวดเร็ว ทันสมัย
                                                                      ัิ
เป้ าหมายเชิงยุ ทธศาสตร์ระดับชาติ มีการกระจายอํานาจ                          (4) มีการคาดการณ์การใช้จ่ายงบประมาณล่วงหน้า
และความรับผิดชอบในการวางแผนจัดการ และบริหารงาน                               (5) ใช้นโยบาย/ยุทธศาสตร์เป็ นตัวนําและจัดลําดับ
แก่ ก ระทรวง ทบวง กรมต่ า ง ๆ โดยสามารถแสดงความ                 ความสําคัญของเป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์
รับผิดชอบของฝ่ ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องออกเป็ น 3 ระดับ                    ขอบเขตในการจัด การงบประมาณแบบมุ่ง เน้น
ได้แก่ ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ดังนี้                   ผลงานตามยุทธศาสตร์
               ระดับชาติ หรือระดับรัฐบาล โดยมีความ                       1) การจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม
รับ ผิด ชอบต่ อ ความสํา เร็ จ ของเป้ าหมายเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์    ยุทธศาสตร์ จะกําหนดยุทธศาสตร์บูรณาการที่ครอบคลุมทัง     ้
ระดับชาติ ( Strategic Delivery Target ) ซึ่งใช้กาหนด    ํ       3 มิติ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ในการจัดสรรงบประมาณประจําปี ของประเทศ                                 มิตงานตามยุทธศาสตร์กระทรวงและ
                                                                                   ิ
               ระดับกระทรวง หรือระดับความสําเร็จตาม             หน่ ว ยงาน (Function) เป็ น ภารกิ จ หลัก ที่มีเ ป้ าหมายที่
ยุทธศาสตร์ของกระทรวง โดยมีรฐมนตรีเป็ นผูรบผิดชอบต่อ
                                    ั          ้ั               ชัดเจน ภายใต้ขอบเขต อํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
เป้ าหมายสําเร็จที่ เรียกว่า เป้ าหมายการให้บริการสาธารณะ       ของกระทรวง / กรม โดยต้องสอดคลองกับเป้ าหมายและ
                                                                                                     ้
(Service Delivery Target ) ซึ่งเป็ นองค์ประกอบสําคัญใน          ยุ ท ธศาสตร์ ร ะดับ ชาติ และยุ ท ธศาสตร์ ก ารจัด สรร
ข้อ ตกลงการให้บ ริ ก ารสาธารณะ (Public                Service   งบประมาณรายจ่ายประจําปี
Agreement : PSA) ที่จดระหว่างคณะกรรมการนโยบาย
                              ั
งบประมาณกับรัฐมนตรีท่ เี กี่ยวข ้อง
               ระดับกรมหรือระดับหน่ วยปฏิบติ ั         โดยมี

       ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                           ่    ่                                                                   หน้า 5
มิติงานตามตามยุทธศาสตร์เฉพาะของ           ผลิตและผลลัพธ์จากการดําเนินงาน จะใช้ส่ งใดเป็ นตัวชี้วดผล
                                                                                                              ิ           ั
รัฐบาล (Agenda) เป็ นภารกิจหรือนโยบายเฉพาะเรื่องที่                การดําเนินงาน
รัฐบาลมอบหมาย ไม่ได้เป็ นภารกิจของกระทรวงใดกระทรวง                                   กลยุทธ์ท่ ได้จากการดําเนินการจัดทําแผน
                                                                                               ี
หนึ่ งโดยเฉพาะ เป็ น การมุ่ง เน้น การมีเ ป้ าหมายและการ            กลยุทธ์ดงกล่าว จะต้องนํามาแปลงสู่แผนการดําเนินงานหรือ
                                                                              ั
ดําเนินงานร่ วมกัน มีเจ้าภาพ/ผูรบผิดชอบ และผู สนับสนุ น
                                     ้ั              ้             กลยุทธ์ในการปฏิบตงาน พร้อมจัดทํานโยบายใช้จ่ายในแต่ละ
                                                                                       ัิ
อย่างชัดเจน หรือที่เรียกว่า การบริหารเชิงบูรณาการ เช่น             แผนงาน งาน/โครงการ ตามประเภทค่าใช้จ่ายที่กาหนด และ
                                                                                                                   ํ
นโยบายการปราบปรามยาเสพติด นโยบายการแก้ไขความ                       ครอบคลุมแหล่งเงินงบประมาณ รวมถึงการประมาณการ
ยากจน เป็ นต้น                                                     ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าสําหรับการดําเนินงานอีก 3 ปี งบประมาณ
                      มิตงานตามยุทธศาสตร์พ้ นที่ (area) เช่น
                         ิ                      ื                  เพื่อเป็ นการประกันได้วาหากสถานการณ์ไม่มการเปลี่ยนแปลง
                                                                                          ่                     ี
จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ภารกิจต่างประเทศ ซึ่งเป็ นเป้ าหมายและ        หน่ วยงานจะสามารถดําเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่องและทํา
ยุทธศาสตร์ท่ ีเน้นเฉพาะในพื้นที่ หรืออาจสรุปได้ว่าเป็ นการ         ให้บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้
                                                                                            ํ
บริหารแบบ CEO เช่น ผูวาราชการจังหวัด CEO
                              ้่
          2) เน้นการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้                                        การคํานวนต้นทุนผลผลิด (Output
                                                                   Costing)
( Adaptive Management ) มีความยืดหยุ่น คล่องตัว
                                                                                     ต้นทุนการผลิต เป็ นสิ่งที่จาเป็ นอย่างหนึ่ง
                                                                                                                ํ
กระจายอํานาจ และทันเหตุการณ์
                                                                   สําหรับการจัดทํา และบริหารงบประมาณเพราะต้นทุนผลผลิต
          3) ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good
                                                                   เป็ นตัวที่แสดงถึงราคาของผลผลิตที่รฐบาลจะต้องจัดซื้อจาก
                                                                                                        ั
Governance) เป็ นการบริหารงานที่มประสิทธิภาพ ทันสมัย
                                          ี
                                                                   หน่ วยงานเป็ นตัวชี้วดอย่างหนึ่งในการวัดประสิทธิภาพในการ
                                                                                        ั
โปร่งใส และตรวจสอบได้
                                                                   ดําเนินงาน รวมถึงประโยชน์ในการพิจารณาทบทวนการ
          กรอบแนวคิดในการจัดทํา
                                                                   ดําเนินงานของหน่ วยงานว่า          งาน/โครงการดังกล่าวจะ
          เพื่อให้การจัดการงบประมาณเป็ นเครื่องมือในการ
                                                                   ดําเนินการต่อไปหรือหยุดการดําเนินการหากดําเนินงานไม่มี
ขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล และเพื่อให้การดําเนินงานของ
                                                                   ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
หน่ ว ยปฏิบ ติ เ ป็ น ไปอย่ า งมีป ระสิท ธิ ภ าพและประสิท ธิ ผ ล
             ั
                                                                                     ดังนัน หน่วยงานจําเป็ นต้องจัดวางระบบใน
                                                                                          ้
ภายใต้ง บประมาณที่จ า กัด จึง กํา หนดกรอบในการจัด การ
                            ํ
                                                                   การคิดต้นทุน ผลผลิต ที่เ หมาะสมและสามารถแสดงผลได้
งบประมาณ โดยต้องดําเนินการภายใต้เงื่อนไขการจัดการทาง
                                                                   รวดเร็ว เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการดําเนินงานและการ
การเงิน ที่เรียกว่า “มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ด้าน
                                                                   ติด ตามตรวจสอบ นอกจากนัน จะต้อ งมีร ะบบการบริ ห าร
                                                                                                   ้
(Hurdles) ดังนี้
                                                                   ต้นทุนที่จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน
                   ก า ร ว า ง แ ผ น ง บ ป ร ะ ม า ณ ( Budget
Planing)
                   การจัดงบประมาณของประเทศที่มอยู่อย่าง
                                                   ี
จํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ประชาชน ส่วนราชการ
จําเป็ นต้องดําเนินการในสิ่งที่เป็ นพันธกิจหลักของหน่ วยงาน
เพื่อสนองตอบต่ อเป้ าหมายขององค์กรและเป้ าหมายในการ
พัฒนาประเทศ ดังนันสิ่งที่จาเป็ นต้องดําเนินการเป็ นสิ่งแรกก็
                       ้     ํ
คือ การจัดแผนกลยุทธ์ เพื่อนํากลยุทธ์ท่ ีได้ไปใช้ในการ
ปฏิบติงานให้บรรลุวตถุประสงค์ท่ วางไว้ และจะต้องได้ผล
       ั             ั              ี

       ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                           ่    ่                                                                       หน้า 6
ประสิทธิภาพในการปฏิบติ เป็ นเครื่องมือที่ใช้กากับการ
                                                                                            ั                         ํ
                    การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง                    ดําเนินงานขององค์กรต่าง ๆ เพื่อจะบ่งชี้ถงผลการดําเนินงาน
                                                                                                            ึ
(Procurement Management)                                           และการใช้จ่ายในแต่ละช่วงแวลา รวมถึงเป็ นขอมูลเพื่อการ
                                                                                                                    ้
            กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง เป็ นสิ่งสําคัญอย่างหนึ่งที่   วิเ คราะห์ใ นการตัด สิน ใจของฝ่ ายบริ ห ารว่ า ควรจะดํา เนิ น
ก่อให้เกิดการประหยัดในการใช้จ่ายงบประมาณ และจะมี                   กิจกรรมหรือมีหน่วยงานนันต่อไปหรือไม่อย่างไร
                                                                                              ้
ผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนของการผลิต กระบวนการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ดี โปร่งใส ยุตธรรม และตรวจสอบได้ จะช่วยลดการ
                        ิ                                                             ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ท รั พ ย์ ( Asset
สู ญเสียงบประมาณ ดังนัน หน่ วยงานจะต้องจัดระบบการ
                             ้                                     Management)
จัดซื้อจัดจ้างที่ดี มีแผนในการจัดซื้อจัดจ้างที่จะบ่งบอกว่าจะ                        สินทรัพย์ นับเป็ นปัจจัยสําคัญยิ่งในการ
จัดซื้อจัดจ้างพัสดุชนิดไหน จํานวนเท่าไร ในเวลาใด และจะ             ดําเนินงานของทุกองค์กร หากองค์กรมีการใช้สนทรัพย์ท่ ไม่
                                                                                                                    ิ       ี
จัดอย่างไร เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรที่ใช้ในการดําเนินงานได้       คุมค่าหรือไม่มประสิทธิภาพ ก็จะเป็ นผลให้มตนทุนในการ
                                                                     ้            ี                               ี ้
ทันเวลา มีปริมาณ คุณภาพ ราคาที่เหมาะสมและสมประโยชน์                ดําเนินการสูงกว่าที่ควรจะเป็ น สาเหตุทวไปของการสิ้นเปลือง
                                                                                                           ่ั
ในการใช้                                                           งบประมาณอันเนื่องมาจากการใช้สนทรัพย์ ได้แก่ ไม่มการ
                                                                                                       ิ                  ี
                                                                   บํารุงรักษาสินทรัพย์ ความสูญหาย การจัดซื้อสินทรัพย์ใหม่
                  การบริหารทางการเงินและควบคุม                     ในขณะที่สนทรัพย์เดิมยังสามารถใช้งานได้ การขาดความ
                                                                              ิ
งบประมาณ (Financial Mangement and Budget                           ชัดเจนของกฏระเบียบในการขายสินทรัพย์เดิมไม่ก่อให้เกิด
Control)                                                           ผลผลิต รวมถึงการขาดการบริหารสินทรัพย์ท่ มอยู่ให้บงเกิด
                                                                                                                ี ี     ั
                 การควบคุมงบประมาณ เป็ นกลไกที่จะ                  ผลประโยชน์สูงสุด ดังนัน องค์กรภาครัฐจึงจําเป็ นต้องมีการ
                                                                                              ้
ประกันว่า ความคล่องตัวทางการงบประมาณที่หน่ วยงาน                   บริหารสินทรัพย์ท่ ีมีอยู่ ให้สมฤทธิผล
                                                                                                 ั            และมีการจัดซื้อ
ได้รบ (จากการกระจายอํานาจและผ่อนคลายการควบคุม)
     ั                                                             สินทรัพย์ใหม่เท่าที่จาเป็ นอย่างแท้จริง
                                                                                        ํ
จากหน่วยงานกลางนัน จะไม่นาไปสู่การกระจายงบประมาณที่
                    ้        ํ
ไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนัน ภายในหน่วยงาน
                                       ้                                             การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
แต่ ล ะระดับ จะต้อ งมีม าตรฐานในการควบคุ ม งบประมาณ                                  การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ จาก
รวมถึง การกํา หนดความรับ ผิด ชอบในเรื่ องการบัญ ชี แ ละ            งบประมาณแบบแผนงานไปสู่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น
การเงิน                                                            ผลงาน จะมีการลดบทบาทของหน่วยงานกลางที่เคยทําหน้าที่
                 รายการทางบัญชี       (Chat of account)            ในการควบคุมการดําเนินงาน และให้หน่ วยงานมีความ
จะต้องแสดงถึงรายการที่จาเป็ นเหมาะสมเพื่อประโยชน์ในการ
                          ํ                                        คล่องตัวในการบริหารงบประมาณมากขึ้นในขณะเดียวกัน
ควบคุมงบประมาณ และคํานวณต้นทุนต่ อหน่ วย (Unit                     อาจจะส่งผลให้มการใช้งบประมาณอย่างไม่มประสิทธิภาพได้
                                                                                   ี                        ี
Cost) สําหรับการรายงานผลการดําเนินงาน รวมถึงมีระบบ                 ดังนัน การตรวจสอบภายใน จึงถือเป็ นกลไกที่สาคัญในการ
                                                                        ้                                      ํ
การอนุ มติ ตรวจสอบ เช็คกระทบยอด และการบันทึกเพื่อ
         ั                                                         ควบคุ ม การใช้ง บประมาณให้เ ป็ น ไปในทางที่ถู ก ต้อ งและ
ควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ                                       สัมฤทธิ์ผล

                 การรายงานทางการเงิ น และผลการ
ดําเนินงาน (Financial and Performance Reporting)
          การรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน และ
ส่วนหนึ่งของกระบวนการติดตามและประเมินผล เป็ นการ
แสดงความโปร่ ง ใสของการใช้จ่ า ยเงิน ประสิ ท ธิ ผ ลและ
       ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน
                                           ่    ่                                                                       หน้า 7
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรNontaporn Pilawut
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์Pajaree Nucknick
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1thanakit553
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 

Was ist angesagt? (20)

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์เรื่องวันวาเลนไทน์
เรื่องวันวาเลนไทน์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Andere mochten auch (6)

รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทยรูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
ไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทย
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 

Ähnlich wie การบริหารจัดการงบประมาณ

เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...ประพันธ์ เวารัมย์
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)pu12000srikuaklin
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556waranyuati
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณAreeluk Ngankoh
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่jab bph
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพChuchai Sornchumni
 

Ähnlich wie การบริหารจัดการงบประมาณ (20)

Plan101
Plan101Plan101
Plan101
 
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
เอกสารประกอบการเสวนาปีงบประมาณ 2560 เรื่อง แนวทางการตรวจสอบ อปท. อย่างเป็นรูป...
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
01 แบบฟอร์ม ข้อเสนอโครงการฯ (f1)
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
Money
MoneyMoney
Money
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่
 
Co 3
Co 3Co 3
Co 3
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
 
แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58
 

Mehr von WeIvy View

ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานWeIvy View
 
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราWeIvy View
 
รับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯรับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯWeIvy View
 
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556WeIvy View
 
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556WeIvy View
 
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลรายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลWeIvy View
 
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม WeIvy View
 
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001WeIvy View
 
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2WeIvy View
 
ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1WeIvy View
 
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารWeIvy View
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม TpmWeIvy View
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม TpmWeIvy View
 
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักโครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักWeIvy View
 
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา WeIvy View
 
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556WeIvy View
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559WeIvy View
 

Mehr von WeIvy View (19)

ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงานผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
ผลสอบคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานในตำแหน่งลูกจ้างเฉพาะงาน
 
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตราผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
ผลการสอบสัมภาษณ์ลูกจ้างเฉพาะงาน สังกัดกองลากเลื่อนเขตอุตรดิตถ์จำนวน 14 อัตรา
 
รับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯรับสมัครลูกจ้างฯ
รับสมัครลูกจ้างฯ
 
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1  ของปี 2556
ขอเลื่อนการประชุมด้านการเดินรถและขนส่งในส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ของปี 2556
 
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
ขอให้พิจารณาจัดส่งวาระการประชุมด้านเดินรถและขนส่ง ครั้งที่ 12556
 
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกลรายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
รายชื่อผู้ผ่านการสอบผ่านภาคปฏิบัติช่างฝีมือ 2 ฝ่ายช่างกล
 
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
ความรู้ทั่วไป รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
 
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
อบรมหลักสูตร Track ha zard mapping0001
 
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
อบรมระบบห้ามล้อรถจักร รุ่น 2
 
ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1ประกาศเดินรถ ตท.1
ประกาศเดินรถ ตท.1
 
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสารผลงานซ่อมรถโดยสาร
ผลงานซ่อมรถโดยสาร
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpm
 
เชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpmเชิญประชุม Tpm
เชิญประชุม Tpm
 
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรักโครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
โครงการประกวดเรียงความเรื่อง รถไฟที่ฉันรัก
 
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
เรื่อง การเบิกค่าทำงานวันหยุดและค่าทำงานล่วงเวลา
 
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
สมัครนักเรียนวิศวรถไฟประจำปี การศึกษา2556
 
Tpm
TpmTpm
Tpm
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
แผนรัฐวิสาหกิจ2555 2559
 

การบริหารจัดการงบประมาณ

  • 1. การบริหารจัดการงบประมาณ รวบรวมและจัดทําโดย กองโครงการและวางแผน แผนกบัญชีงบประมาณ ฝายการชางกล การรถไฟแหงประเทศไทย
  • 2.
  • 3. สารบัญ หนา บทนําและความหมาย 1 พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป 2-4 วิวัฒนาการดานงบประมาณ 5-15 ประเภทบัญชีและรหัสงบประมาณ 16-28 ตัวอยางคําขอตั้งงบประมาณทําการประจําป 29-46 ตัวอยางการเจียดจายงบประมาณ 47-54 ระเบียบฉบับที่ 2.4 วาดวยการยืมเงินทดรองจาย 55-56 ตัวอยางการจัดซื้อดวยเงินสด 57-64 ตัวอยางการขอยืมเงินทดรองจายแบบฉุกเฉิน 65-102
  • 4. การบริหารจัดการงบประมาณ บทนํา ทุกหนวยงานทั้งของภาครัฐและเอกชน จะตองมีการบริหารจัดการในการจัดทํางบประมาณ เพื่อที่จะไดมีการบริหาร จัดสรรงบประมาณที่ไดรับมาอยางคุมที่สุด ดังนั้นเห็นวาระดับหัวหนางานตั้งแตระดับ ผูบริหารเบื้องตน (สารวัตร),ผูบริหารระดับกลาง(หัวหนากอง) จะตองใหความสําคัญที่จะเรียนรู ศึกษา ใหเกิด ความเขาใจ แลวนําไปบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งถือวาเปนเครื่องมือที่ความสําคัญที่ใชในการ บริหารงาน ความหมาย ความหมายของงบประมาณ จะแตกตางกันออกไปตามกาลเวลาและลักษณะการใหความหมาย ของนักวิชาการแตละดาน ซึ่งมองงบประมาณแตละดานไมเหมือนกัน เชนนักเศรษฐศาสตร มอง งบประมาณในลักษณะของการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด นักบริหารจะมอง งบประมาณในลักษณะของกระบวนการหรือการบริหารงบประมาณใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบรรลุ เปาหมายของแผนงานที่วางไว นักการเมืองจะมองงบประมาณในลักษณะของการมุงใหรัฐสภาใชอํานาจ ควบคุมการปฏิบัติงานของรัฐบาล สรุปความหมายของงบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดง โครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประเมินการบริหารกิจกรรม โครงการและ คาใชจาย ตลอดจนทรัพยากรที่จําเปนสนับสนุน การดําเนินงานใหบรรลุตามแผนนี้ยอมประกอบดวยการทํางาน 3 ขั้น ตอน คือ 1.การจัดเตรียม 2. การอนุมัติ 3. การบริหาร งบประมาณมีความสําคัญและเปนประโยชนตอการบริหาร หนวยงานสามารถนําเอางบประมาณ มาใชเปนเครื่องมือในการบริหารหนวยงานใหเจริญกาวหนา ความสําคัญและประโยชนของงบประมาณมี ดังนี้ 1) เปนเครื่องมือในการบริหารหนวยงาน ตามแผนงานและกําลังเงินที่มีอยูโดยใหมีการปฏิบัติงานให สอดคลองกับแผนงานที่วางไว เพื่อปองกันการรั่วไหลและลดการปฏิบัติงานที่ไมจําเปนของ หนวยงานลง 2) เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน ถาหนวยงานจัดงบประมาณใชจายอยางถูกตองและมี ประสิทธิภาพ จะสามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญกาวหนาแกหนวยงานและสังคม โดยหนวยงาน ตองพยายามใชจายและจัดสรรงบประมาณใหเกิดประสิทธิผลไปสูโครงการที่จําเปน เปนโครงการ ลงทุนเพื่อกอใหเกิดความกาวหนาของหนวยงาน 3) เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหมีประสิทธิภาพ เนื่องจากทรัพยากรหรือ การรบริหารงบประมาณ หนา 1
  • 5. งบประมาณของหนวยงานมีจํากัด ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองใชงบประมาณเปนเครื่องมือ ในการ จัดสรรทรัพยากรหรือใชจายเงินใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนในการใชและจัดสรรเงิน งบประมาณไปในแตละดาน และมีการวางแผนปฏิบัติงานในการใชจายทรัพยากรนั้นๆ ดวย เพื่อที่จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุด 4) เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เปนธรรม งบประมาณสามารถใชเปน เครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่เปนธรรมไปสูจุดที่มีความจําเปนทั่วถึงที่จะทําใหหนวยงาน นั้น สามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) เปนเครื่องมือประชาสัมพันธ งานและผลงานของหนวยงาน เนื่องจากงบประมาณเปนที่รวม ทั้ง หมดของแผนงานและงานที่จะดําเนินการในแตละป พรอมทง ผลที่จะเกิดขึ้น ดังนั้น หนวยงาน ั้ สามารถใชงบประมาณหรือเอกสารงบประมาณที่แสดงถึงงานตางๆ ที่ทําเพื่อเผยแพรและ ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ สรุปวา งบประมาณ มีความสําคัญตอการดําเนินงานขององคกร และตอการพัฒนาประเทศ และถาขาด ซึ่งงบประมาณ ในการบริหารจัดการ ก็ไมสามารถนําพาประเทศไปสูความสําเร็จ ดังนั้น ในการบริหาร งบประมาณ ตองยึดหลักของความโปรงใส เปนธรรม ประหยัดและมีประสิทธิภาพ อางอิง : ดร.ณรงค สัจพันโรจน. 2538 การจัดทําอนุมัติและบริหารงบประมาณแผนดิน สิ่งที่ควรศึกษาเรียนรู 1.ความหมายของงบประมาณ 2.พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป 3.การวิวัฒนาการงบประมาณ 4.ประเภทของงบประมาณ 5.ประเภทบัญชีงบประมาณ/รหัสควบคุม 6.ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวของ การรบริหารงบประมาณ หนา 2
  • 6. 0 รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ ------------------------- มาตรา ๑๖๖ งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถา พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณออกไมทันปงบประมาณ ใหม ใหใชกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั้นไปพลาง กอน มาตรา ๑๖๗ ในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณตองมี เอกสารประกอบซึ่งรวมถึงประมาณการรายรับ และวัตถุประสงค กิจกรรม แผนงาน โครงการในแตละรายการ ของการใชจายงบประมาณใหชัดเจน รวมทั้งตองแสดงฐานะการเงินการคลังของประเทศเกี่ยวกับภาพรวม ของภาวะเศรษฐกิจที่เกิดจากการใชจายและการจัดหารายได ประโยชนและการขาดรายไดจากการยกเวน ภาษีเฉพาะรายในรูปแบบตาง ๆ ความจําเปนในการตั้งงบประมาณผูกพันขามป ภาระหนี้และการกอหนี้ของ รัฐและฐานะการเงินของรัฐวิสาหกิจ ในปที่ขออนุมัติงบประมาณนั้นและปงบประมาณที่ผานมาเพื่อใช ประกอบการพิจารณาดวย หากรายจายใดไมสามารถจัดสรรงบประมาณใหแกหนวยราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นใด ของรัฐไดโดยตรง ใหจัดไวในรายการรายจายงบกลาง โดยตองแสดงเหตุผลและความจําเปนในการกําหนด งบประมาณรายจายงบกลางนั้นดวย ใหมีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อกําหนดกรอบวินัยการเงินการคลัง ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑเกี่ยวกับการ วางแผนการเงินระยะปานกลาง การจัดหารายได การกําหนดแนวทางในการจัดทํางบประมาณรายจายของ แผนดิน การบริหารการเงินและทรัพยสิน การบัญชี กองทุนสาธารณะ การกอหนี้หรือการดําเนินการที่ผูกพัน ทรัพยสินหรือภาระทางการเงินของรัฐ หลักเกณฑการกําหนด วงเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน และการอื่นที่เกี่ยวของ ซึ่งจะตองใชเปนกรอบในการ จัดหารายได กํากับการใชจายเงินตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน และความ เปนธรรมในสังคม มาตรา ๑๖๘ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ รางพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย สภาผูแทนราษฎรจะตอง วิเคราะหและพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยหาวันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติดังกลาวมาถึงสภา ผูแทนราษฎร ถาสภาผูแทนราษฎรพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้นไมแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาที่กลาวในวรรค หนึ่ง ใหถือวาสภาผูแทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั้นและใหเสนอรางพระราชบัญญัติ ดังกลาวตอวุฒิสภา ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือไมใหความเห็นชอบภายในยี่สิบวัน นับแตวันที่รางพระราชบัญญัตินั้นมาถึงวุฒิสภา โดยจะแกไขเพิ่มเติมใด ๆ มิได ถาพนกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั้น ในกรณี เชนนี้และในกรณีที่วุฒิสภาใหความเห็นชอบ ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ การรบริหารงบประมาณ หนา 3
  • 7. ถารางพระราชบัญญัติดังกลาววุฒิสภาไมเห็นชอบดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔๘ วรรคสองมาใช บังคับโดยอนุโลม ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ รางพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะแปรญัตติ เพิ่มเติมรายการหรือจํานวนในรายการมิได แตอาจแปรญัตติในทางลดหรือตัดทอนรายจายซึ่งมิใชรายจาย ตามขอผูกพันอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้ (๑) เงินสงใชตนเงินกู (๒) ดอกเบี้ยเงินกู (๓) เงินที่กําหนดใหจายตามกฎหมาย ในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือของคณะกรรมาธิการ การเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทําดวยประการใด ๆ ที่มีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการมีสวน ไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในการใชงบประมาณรายจาย จะกระทํามิได ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวน สมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา เห็นวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหกใหเสนอความเห็น ตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา และศาลรัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับ ความเห็นดังกลาว ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหก ใหการ เสนอ การแปรญัตติหรือการกระทําดังกลาวสิ้นผลไป รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญศาล ยุติธรรม ศาลปกครองและองคกรตามรัฐธรรมนูญ ในการพิจารณางบประมาณรายจายของรัฐสภา ศาล และองคกรตามวรรคแปด หากหนวยงานนั้นเห็น วางบประมาณรายจายที่ไดรับการจัดสรรใหนั้นไมเพียงพอ ใหสามารถเสนอคําขอแปรญัตติตอ คณะกรรมาธิการไดโดยตรง มาตรา ๑๖๙ การจายเงินแผนดินจะกระทํา ไดก็เฉพาะที่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณ รายจาย กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวดวยการโอนงบประมาณหรือกฎหมายวาดวยเงิน คงคลัง เวนแตในกรณีจําเปนเรงดวนรัฐบาลจะจายไปกอนก็ได แตตองเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเชนวานี้ตองตั้งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังในพระราชบัญญัติโอนเงิน งบประมาณรายจาย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ใหกําหนดแหลงที่มาของรายไดเพื่อชดใชรายจายที่ไดใชเงินคงคลังจายไป กอนแลวดวย ในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะสงครามหรือการรบ คณะรัฐมนตรีมีอํานาจโอนหรือนํารายจายที่ กําหนดไวสําหรับหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจใดไปใชในรายการที่แตกตางจากที่กําหนดไวใน พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปไดทันที และใหรายงานรัฐสภาทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่มีการโอนหรือนํารายจายตามงบประมาณที่กําหนดไวในรายการใดไปใชในรายการอื่นของ หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ใหรัฐบาลรายงานรัฐสภาเพื่อทราบทุกหกเดือน มาตรา ๑๗๐ เงินรายไดของหนวยงานของรัฐใดที่ไมตองนําสงเปนรายไดแผนดินใหหนวยงานของ รัฐนั้นทํารายงานการรับและการใชจายเงินดังกลาว เสนอตอคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปงบประมาณทุกป และให คณะรัฐมนตรีทํารายงานเสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาตอไป การรบริหารงบประมาณ หนา 4
  • 9. บทความ เรื่อง... ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุ่งเน้นผลงาน ่ เรียบเรียงโดย : นางสาวอาภรณ์ แก้วสลับศรี เจ้าหน้าที่บริหารงาน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ บทความเรื่องนี้ ผูเ้ ขียนอยากให้ผูอ่านได้ทราบถึง ้ สอดคลองกับนโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ้ ความเป็ นมาของระบบงบประมาณในประเทศไทย เพื่อจะได้ แห่งชาติในระยะยาว ทราบถึงพัฒนาการร่วมกันว่าระบบงบประมาณของเรามีความ ระบบงบประมาณที่นามาใช้ในประเทศไทยตังแต่ ํ ้ เป็ นมาอย่างไร จึงได้มการรวบรวม เรียบเรียงมาให้ทราบกัน ี เริ่มมีการจัดทํางบประมาณจนถึงปัจจุบนจําแนกได้เป็ น 4 ั แต่ ก่ อ นอื่น เรามาทราบกัน ก่ อ นดีก ว่า ว่า ระบบงบประมาณ ประเภทใหญ่ ๆ คือ หมายถึงอะไร งบประมาณแบบแสดงรายการ (Line - ระบบงบประมาณ (Budget) หมายถึง Item Budgeting) กระบวนการวางแผนเกี่ ยวกับ ตัว เลขทางการเงิน อย่ า งมี งบประมาณแบบแสดงผลงาน ระเบียบ ในระยะเวลาหนึ่ง โดยจะต้องคํานึงถึงทรัพยากรที่มี ( Performance Budgeting ) อยู่ อย่ างจํากัด เพื่อให้องค์กรได้รบผลตอบแทนกลับคืนมา ั งบประมาณแบบการวางแผน ตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ํ การวางโครงการ และการทํางบประมาณ ( Planning - การจัดทํางบประมาณของประเทศไทยสําหรับส่วน Programming - Budgeting System : PPBS ) ราชการ มีแนวคิดในการจัด ทํามาแลวหลายรู ปแบบ มีก าร ้ งบประมาณแบบมุงเน้นผลงาน ่ ปรับ ปรุ ง เปลี่ย นแปลงระบบการจัด ทํา งบประมาณมาอย่ า ง ( Performance Based Budgerting : PBB ) ต่อเนื่อง ในอดีตมีการใช้ระบบงบประมาณที่มลกษณะการรวม ี ั เรามาทราบถึงลักษณะของระบบงบประมาณแต่ละ แบบ เริ่มตังแต่แบบแรกกันเลย ้ อํานาจ ไม่สามารถสนองตอบการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ สภาพแวดลอม จึงเป็ นแรงผลักดันให้มีการปรับปรุ งระบบ ้ งบประมาณ เพื่อให้งบประมาณเป็ นเครื่องมือในการพัฒนา เศรษฐกิ จ และเอื้ อ ต่ อ การแก้ป ัญ หาเศรษฐกิ จ ได้อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ รวมทังเพื่อเสริมสร้างให้มกลยุทธ์ในการจัดสรร ้ ี ทรัพยากรที่เหมาะสม รวมทังมีการจัดลําดับความสําคัญที่ ้ ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 1
  • 10. งบประมาณแบบแสดงรายการ จากข อ จํา กัด ดัง กล่ า ว ทํา ให้มีก ารปรับ ปรุ ง ระบบ ้ (Line – Item Budgeting) งบประมาณแบบใหม่ โดยนําหลักการและแนวทางการจัดทํา งบประมาณแบบแสดงรายการ มีวตถุประสงค์ท่ จะ ั ี งบประมาณแบบแสดงผลงาน มาใช้ผ สมผสานกับ ระบบ งบประมาณแบบแสดงรายการ ใช้เป็ นเครื่องมือในการควบคุมการใช้จ่ายเงิน ไม่ให้มการใช้ ี จ่ายเงินเกินไปจากที่กาหนดหรือแตกต่างไปจากที่กาหนดไว้ ํ ํ งบประมาณแบบแสดงผลงาน ให้ความสําคัญกับการควบคุ มปัจจัยนําเข้า (Input) แต่ ละ (Performance Budgeting) รายการ ลักษณะของระบบงบประมาณแบบนี้ คือ งบประมาณแบบแสดงผลงาน ( Performance มุ่ง เน้น ในเรื่ องการควบคุ ม และตรวจสอบ Budgeting )เป็ นระบบงบประมาณที่ม่งเน้นด้านประสิทธิภาพ ุ Input ให้เป็ นไปตามที่กาหนด (Control Orientation) ํ ในการบริหารงาน โดยได้รบอิทธิพลแนวความคิดมาจากการ ั จําแนกค่าใช้จ่ายตามหมวดค่าใช้จ่าย และ จัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) ซึ่งมี รายการใช้จ่ายในการของบประมาณ จะต้องกําหนดรายการ แนวคิดว่า "การบริหารงานต้องทําโดยมีหลักเกณฑ์ ซึ่งกําหนด ตามหมวดค่าใช้จ่ายให้ชดเจนและใช้งบประมาณตามรายการที่ ั ขึ้นจากการศึกษาวิเคราะห์โดยรอบคอบเพื่อให้มีวธีท่ ีดีท่ ีสุด ิ กําหนดไว้ จะใช้งบประมาณผิดหมวดหรือต่างไปจากรายการที่ กําหนดไม่ได้ (The one best way) ในอันที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพใน ประเมินความสําเร็จหรือความลมเหลวของ ้ การผลิตมากขึ้น" เป็ นระบบที่ม่งให้มการเชื่อมโยงการจัดสรร ุ ี งบประมาณจากความสามารถที่จะใช้งบประมาณที่ได้รบให้ ั งบประมาณเข้า กับ การวางแผน อัน จะทํา ให้ก ารจัด สรร หมดไป ไม่ได้ให้ความสําคัญกับประสิทธิภาพการบริหารและ งบประมาณเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล ระบบงบประมาณแบบ ผลงานที่เกิดจากการใช้งบประมาณ นี้ ริ เ ริ่ มขึ้น ครัง แรกในประเทศสหรัฐ อเมริ ก า ลัก ษณะของ ้ ขาดการยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการ งบประมาณแบบนี้ คือ ปฏิบตงาน ัิ จําแนกงบประมาณตามลักษณะงาน ข้อดี ( Functional Classification ) หรือวัตถุประสงค์ของงาน ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ ช่ วยในการ ( Objective Classification ) เช่น จําแนกงบประมาณเป็ น ควบคุ ม การใช้จ่ า ยของหน่ ว ยงานได้ดี เพราะมีก ารแสดง ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ฯลฯ ค่าใช้จ่ายไวอย่างชัดเจน จึงง่ายต่อการปฏิบตในการปรับ เพิ่ม/ ้ ัิ มีการวัดประสิทธิภาพของการดําเนินงาน ลดรายการ ( เปรียบเทียบ Output กับ Input ) เพื่อหาวิถทางที่ดท่ สุดใน ี ีี ข้อเสีย การปฏิบติงาน Output จะเป็ นตัวชี้ประสิทธิภาพในการ ั ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ จะไม่สามารถ ปฏิบตงาน ัิ วัดผลสําเร็จของงานได้ เพราะการอนุ มติเงินประจํางวดจะ ั กําหนดมาตรการในการวัดงาน ( Work อนุ มติตามหมวดรายจ่าย ไม่ได้อนุ มติตามแผนงาน/โครงการ ั ั Measurement ) และระบบบัญชีแสดงราคาต่อหน่วย ( Cost ทําให้ไม่สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรที่ Accounting System ) สําหรับคํานวณค่าใช้จ่ายของงาน จัดสรรให้แก่งาน/โครงการหนึ่ง ๆ กับผลที่ตองการให้เกิดขึ้น ้ ต่าง ๆ อันเป็ นอุปสรรคต่อการประเมินผลสําเร็จของการดําเนินงาน ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 2
  • 11. ข้อดี รอง โครงการหลัก โครงการรอง และกิจกรรม และจําแนก - ช่วยให้เกิดการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ งบประมาณตามแผนงาน / โครงการ และคุมค่า ้ ต้องกําหนดและวิเคราะห์วตถุประสงค์ของ ั - ช่วยให้ฝ่ายบริการเกิดความคล่องตัวในการ โครงการ ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นของโครงการ บริหารงานและการจัดซื้อวัสดุอปกรณ์ท่ มงต่อการผลิตผลงาน ุ ี ุ่ วิเคราะห์ทางเลือกต่าง ๆ เพื่อเลือกวิถทางที่มี ี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล สู ง สุ ด ใ น ก า ร บ ร ร ลุ ข้อจํากัด วัตถุประสงค์ของโครงการ - ต้องใช้ขอมูลที่แสดงถึงผลการดําเนินงานใน ้ พิจารณาค่าใช้จ่ายทังหมดของโครงการ ้ อดีต ซึ่งอาจจะหาข้อมูลค่อนขา้ งยาก เน้นการวิเคราะห์ ซึ่งมีเทคนิคการวิเคราะห์ - การพิจารณา “ความคุมค่า” อาจกระทําได้ ้ ต่าง ๆ ที่นามาใช้ ได้แก่ System analysis, Zero base ํ ลําบาก budget analysis, Quantitative analysis, Qualitative จากขอจํากัดดังกล่าว ทําให้ได้มีการพยายามที่จะ ้ analysis, Marginal analysis และ Cost effectiveness พัฒนาระบบงบประมาณให้มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงได้มการ ี ี หรือ Cost - benefit analysis นําเอาระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงานมาใช้ร่วมกับระบบ การเสนอของบประมาณต้องจัดทําเอกสาร 3 งบประมาณแบบแสดงรายการ ชุด คือ 1) Program Memorandum ( PM ) เป็ นเอกสารที่ แสดงให้เ ห็ น โครงสร้า งของสายงาน งบประมาณแบบการวางแผน การวางโครงการ ความสัมพันธ์ของแผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์ ผลงาน และการทํางบประมาณ และผลที่คาดว่าจะได้รบจากโครงการ ั (Planning – Programming – Budgeting 2) Program Financial Plan ( PFP ) System : PPBS ) เป็ นแผนการใช้จ่ายของโครงการที่ตองการเงิน-งบประมาณใน ้ ระยะยาว เพื่อเป็ นหลักประกันว่าโครงการจะดําเนินต่อไปได้ ระบบงบประมาณแบบนี้ หรือบางครังเรียกว่า ้ ในปี ต่อ ๆ ไป งบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting ) เริ่ม 3) Special Study ( SS ) เป็ นเอกสาร ที่แสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์โครงการและทางเลือกโครงการ ใช้ครังแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1964 PPB หรือ ้ ต่าง ๆ PPBS มีลกษณะสําคัญ คือ ั ข้อดี นําเอาการวางแผนระยะยาว ( 3 - 5 ปี ) มาใช้ - สามารถวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของแผนงาน ในการกําหนดวงเงินงบประมาณ การวางแผนจะเชื่อมโยงกับ ในระยะยาว นโยบาย เป้ าหมายของรัฐบาล และเห็นภาพการดําเนินงานที่ - ส่งเสริมการพัฒนาประเทศโดยมีแผนรองรับ ต่อเนื่องไปในอนาคต - สามารถวิเคราะห์การใช้ทรัพยากรที่มอยู่อย่าง ี จัดทําแผนงานแยกตามนโยบายของรัฐบาลใน แต่ละด้าน เช่น นโยบายด้านเศรษฐกิจ การศึกษา ฯลฯ จํากัดให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จําแนกแผนงานเป็ นแผนงานหลัก แผนงาน ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 3
  • 12. ข้อจํากัด ตัดสินใจให้กบผูบริหารของหน่วยงาน ั ้ - มุงแต่ตนทุนทางด้านบัญชีและประโยชน์ทาง ่ ้ จัดสรรงบประมาณเป็ นวงเงินรวม ( Block เศรษฐกิจ ไม่ใช้ดุลพินิจหรือเหตุผลทางสังคมและการเมืองมา Grant ) ทําให้เกิดความยืดหยุ่นในการใช้งบประมาณ พิจารณา คํานวณค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณจากผลผลิต หรือกิจกรรม - ต้องใช้เวลามากในการดําเนินการ ต้องให้การ กําหนดวงเงินงบประมาณล่วงหน้า (Medium อบรม และมีเ ครื่องมือ พร้อ มสํา หรับ การวิเ คราะห์ ทํา ให้มี term Expenditure Framework : ( MTEF ) ปัญหาในขันการนําไปใช้ ้ ใช้ระบบบัญชีพงรับพึงจ่าย ( Accrual Basis ) ึ - มีระเบียบขันตอนซับซ้อนยุ่งยากเกินกว่าที่จะ ้ เน้นการควบคุมภายใน เขา้ ใจ การรายงานผลจะเชื่อมโยงระหว่างการ - มาตรฐานการวัดผลงานไม่ชดเจน ั ดําเนินงานกับนโยบายของหน่วยงานและรัฐบาล ด้วยข้อจํากัดดังกล่าว จึงได้มการพัฒนาระบบ ี ระบบงบประมาณแบบมุงเน้นผลงานทําให้มนใจ ่ ่ั งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมาใช้ในการจัดสรรงบประมาณ ได้วา ่ เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 1) ผลผลิตที่เกิดขึ้นมีความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ และผลลัพธ์สอดคลองกับเป้ าหมายและนโยบาย ้ 2) ผลผลิตที่ตองการมีปริมาณ ราคาและคุณภาพ ้ งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน เหมาะสมสอดคลองกัน้ (Performance Based Budgeting : PBB) 3) กลุมเป้ าหมายที่เหมาะสม ่ เป็ นผูไ้ ด้รบ ั ประโยชน์จากผลผลิตนัน ภายในเวลาที่ตองการ ้ ้ เป็ นระบบงบประมาณที่มงเน้นผลสําเร็จของผลผลิต ุ่ ประโยชน์ท่ หน่วยงานจะได้รบจากระบบงบประมาณ ี ั และผลลัพธ์ มีการกํา หนดเป้ าหมายที่เ ป็ นรู ปธรรม มีแผน แบบมุงเน้นผลงาน คือ ่ ยุ ท ธศาสตร์ท่ ี ชัด เจน มีต ว ชี้ ว ด ผลสัม ฤทธิ์ ข องงาน และ ั ั - ทราบผลลัพธ์ท่ รฐบาลต้องการ ีั สามารถวัดและประเมินผลการทํางานได้ โดยมีความยืดหยุ่น - ระบุเป้ าประสงค์ และวัดผลผลิตได้ ในกระบวนการทํา งานเพื่อ ให้ส อดคล อ งกับ สถานการณ์ ท่ ี ้ - จัดลําดับความสําคัญของรายจ่ายและเชื่อมโยง เปลี่ยนแปลงไป เน้นความรับผิดชอบของผูบริหารแทนการ ้ ผลผลิตกับผลลัพธ์ได้ ควบคุมรายละเอียดในการเบิกจ่าย ลักษณะสําคัญของ PBB - แสดงให้เห็นว่าผลผลิตที่เกิดขึ้นส่งผลให้ เกิดผลลัพธ์อย่างไร คือ - สามารถตรวจวัดผลผลิตที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง ให้ความสําคัญกับ Output และ Outcome ในเชิง ปริมาณ ต้นทุน เวลา คุณภาพ ซึ่งสอดคลองกับนโยบายและเป้ าหมายของรัฐบาล ้ จากประโยชน์ขา้ งต้นทําให้หน่วยงานสามารถดําเนินกิจกรรม/ ใช้การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) โครงการให้สอดคลองกับผลลัพธ์ดงกล่าวได้ ้ ั เป็ นเครื่องมือในการกําหนด Output Outcome และ งบประมาณ กระจายอํานาจ ( Devolution )ในการ ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 4
  • 13. ในเวลาต่ อมา ประเทศไทยก็ได้มการพัฒนาระบบ ี หัว หน้า หน่ ว ยงานรับ ผิด ชอบต่ อ ความสํา เร็ จ ของผลผลิต งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์มาใช้ในการ (Outputs) ที่หน่ วยงานนันรับผิดชอบในการดําเนินงาน ซึ่ง ้ จัด สรรงบประมาณ เพื่ อให้ก ารจัด สรรงบประมาณมี ผลผลิต ดัง กล่ า ว เป็ น องค์ป ระกอบสํา คัญ ในข้อ ตกลงการ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เริ่มดําเนินการมาตังแต่ปี 2545 จนถึง ้ จัดทําผลผลิต (Service Delivery Agreement – SDA) ที่ ปัจจุบน ดังนัน เราจึงควรมาทําความรูจกกับระบบงบประมาณ ั ้ ้ั จัดทําขึ้นระหว่างรัฐมนตรีท่ กากับดูแลกับหัวหน้าหน่วยปฏิบติ ีํ ั แบบมุงเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์กนให้มากกว่านี้กนดีกว่า ่ ั ั หลักการ (1) ให้รฐบาลสามารถใช้วธีการ และกระบวนการ ั ิ งบประมาณ เป็ นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร ให้เกิดผล งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ สําเร็จตามนโยบาย และให้เห็นผลลัพธ์ท่ ประชาชนได้รบจาก ี ั (Strategic Performance Based Budgeting : นโยบายนัน ้ SPBB ) (2) การมุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ โดย คํานึงถึงความโปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล งบประมาณแบบมุ่ง เน้น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร์ (3) ให้หน่ วยปฏิบติมความคล่องตัวในการจัดทํา ั ี (Strategic Performance based budgeting) และบริหารงบประมาณ ขณะเดียวกันหน่ วยปฏิบติก็ตองมี ั ้ หมายถึง ระบบงบประมาณที่ให้ความสําคัญกับการกําหนด ความรับผิดชอบ (Accountability) ในการนํางบประมาณไป พันธกิจ (Mission) ขององค์กร จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ ใช้ใ ห้เ กิด ผลงานตามยุ ท ธศาสตร์ และสอดคลอ งกับ ความ ้ กลยุทธ์ แผนงาน งาน/โครงการ อย่างเป็ นระบบมีการติดตาม ต้อ งการของประชาชน โดยผ่ า นระบบตรวจสอบผลการ และประเมิน ผลสมํ่า เสมอ เพื่อ วัด ผลสํา เร็ จ ของงานตาม ปฏิบตงาน และผลทางการเงินที่รวดเร็ว ทันสมัย ัิ เป้ าหมายเชิงยุ ทธศาสตร์ระดับชาติ มีการกระจายอํานาจ (4) มีการคาดการณ์การใช้จ่ายงบประมาณล่วงหน้า และความรับผิดชอบในการวางแผนจัดการ และบริหารงาน (5) ใช้นโยบาย/ยุทธศาสตร์เป็ นตัวนําและจัดลําดับ แก่ ก ระทรวง ทบวง กรมต่ า ง ๆ โดยสามารถแสดงความ ความสําคัญของเป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์ รับผิดชอบของฝ่ ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องออกเป็ น 3 ระดับ ขอบเขตในการจัด การงบประมาณแบบมุ่ง เน้น ได้แก่ ระดับชาติ ระดับกระทรวง ระดับกรม ดังนี้ ผลงานตามยุทธศาสตร์ ระดับชาติ หรือระดับรัฐบาล โดยมีความ 1) การจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม รับ ผิด ชอบต่ อ ความสํา เร็ จ ของเป้ าหมายเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ จะกําหนดยุทธศาสตร์บูรณาการที่ครอบคลุมทัง ้ ระดับชาติ ( Strategic Delivery Target ) ซึ่งใช้กาหนด ํ 3 มิติ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ในการจัดสรรงบประมาณประจําปี ของประเทศ มิตงานตามยุทธศาสตร์กระทรวงและ ิ ระดับกระทรวง หรือระดับความสําเร็จตาม หน่ ว ยงาน (Function) เป็ น ภารกิ จ หลัก ที่มีเ ป้ าหมายที่ ยุทธศาสตร์ของกระทรวง โดยมีรฐมนตรีเป็ นผูรบผิดชอบต่อ ั ้ั ชัดเจน ภายใต้ขอบเขต อํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ เป้ าหมายสําเร็จที่ เรียกว่า เป้ าหมายการให้บริการสาธารณะ ของกระทรวง / กรม โดยต้องสอดคลองกับเป้ าหมายและ ้ (Service Delivery Target ) ซึ่งเป็ นองค์ประกอบสําคัญใน ยุ ท ธศาสตร์ ร ะดับ ชาติ และยุ ท ธศาสตร์ ก ารจัด สรร ข้อ ตกลงการให้บ ริ ก ารสาธารณะ (Public Service งบประมาณรายจ่ายประจําปี Agreement : PSA) ที่จดระหว่างคณะกรรมการนโยบาย ั งบประมาณกับรัฐมนตรีท่ เี กี่ยวข ้อง ระดับกรมหรือระดับหน่ วยปฏิบติ ั โดยมี ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 5
  • 14. มิติงานตามตามยุทธศาสตร์เฉพาะของ ผลิตและผลลัพธ์จากการดําเนินงาน จะใช้ส่ งใดเป็ นตัวชี้วดผล ิ ั รัฐบาล (Agenda) เป็ นภารกิจหรือนโยบายเฉพาะเรื่องที่ การดําเนินงาน รัฐบาลมอบหมาย ไม่ได้เป็ นภารกิจของกระทรวงใดกระทรวง กลยุทธ์ท่ ได้จากการดําเนินการจัดทําแผน ี หนึ่ งโดยเฉพาะ เป็ น การมุ่ง เน้น การมีเ ป้ าหมายและการ กลยุทธ์ดงกล่าว จะต้องนํามาแปลงสู่แผนการดําเนินงานหรือ ั ดําเนินงานร่ วมกัน มีเจ้าภาพ/ผูรบผิดชอบ และผู สนับสนุ น ้ั ้ กลยุทธ์ในการปฏิบตงาน พร้อมจัดทํานโยบายใช้จ่ายในแต่ละ ัิ อย่างชัดเจน หรือที่เรียกว่า การบริหารเชิงบูรณาการ เช่น แผนงาน งาน/โครงการ ตามประเภทค่าใช้จ่ายที่กาหนด และ ํ นโยบายการปราบปรามยาเสพติด นโยบายการแก้ไขความ ครอบคลุมแหล่งเงินงบประมาณ รวมถึงการประมาณการ ยากจน เป็ นต้น ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าสําหรับการดําเนินงานอีก 3 ปี งบประมาณ มิตงานตามยุทธศาสตร์พ้ นที่ (area) เช่น ิ ื เพื่อเป็ นการประกันได้วาหากสถานการณ์ไม่มการเปลี่ยนแปลง ่ ี จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ภารกิจต่างประเทศ ซึ่งเป็ นเป้ าหมายและ หน่ วยงานจะสามารถดําเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่องและทํา ยุทธศาสตร์ท่ ีเน้นเฉพาะในพื้นที่ หรืออาจสรุปได้ว่าเป็ นการ ให้บรรลุเป้ าหมายตามที่กาหนดไว้ ํ บริหารแบบ CEO เช่น ผูวาราชการจังหวัด CEO ้่ 2) เน้นการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้ การคํานวนต้นทุนผลผลิด (Output Costing) ( Adaptive Management ) มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ต้นทุนการผลิต เป็ นสิ่งที่จาเป็ นอย่างหนึ่ง ํ กระจายอํานาจ และทันเหตุการณ์ สําหรับการจัดทํา และบริหารงบประมาณเพราะต้นทุนผลผลิต 3) ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good เป็ นตัวที่แสดงถึงราคาของผลผลิตที่รฐบาลจะต้องจัดซื้อจาก ั Governance) เป็ นการบริหารงานที่มประสิทธิภาพ ทันสมัย ี หน่ วยงานเป็ นตัวชี้วดอย่างหนึ่งในการวัดประสิทธิภาพในการ ั โปร่งใส และตรวจสอบได้ ดําเนินงาน รวมถึงประโยชน์ในการพิจารณาทบทวนการ กรอบแนวคิดในการจัดทํา ดําเนินงานของหน่ วยงานว่า งาน/โครงการดังกล่าวจะ เพื่อให้การจัดการงบประมาณเป็ นเครื่องมือในการ ดําเนินการต่อไปหรือหยุดการดําเนินการหากดําเนินงานไม่มี ขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล และเพื่อให้การดําเนินงานของ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ หน่ ว ยปฏิบ ติ เ ป็ น ไปอย่ า งมีป ระสิท ธิ ภ าพและประสิท ธิ ผ ล ั ดังนัน หน่วยงานจําเป็ นต้องจัดวางระบบใน ้ ภายใต้ง บประมาณที่จ า กัด จึง กํา หนดกรอบในการจัด การ ํ การคิดต้นทุน ผลผลิต ที่เ หมาะสมและสามารถแสดงผลได้ งบประมาณ โดยต้องดําเนินการภายใต้เงื่อนไขการจัดการทาง รวดเร็ว เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการดําเนินงานและการ การเงิน ที่เรียกว่า “มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ด้าน ติด ตามตรวจสอบ นอกจากนัน จะต้อ งมีร ะบบการบริ ห าร ้ (Hurdles) ดังนี้ ต้นทุนที่จะแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ก า ร ว า ง แ ผ น ง บ ป ร ะ ม า ณ ( Budget Planing) การจัดงบประมาณของประเทศที่มอยู่อย่าง ี จํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ประชาชน ส่วนราชการ จําเป็ นต้องดําเนินการในสิ่งที่เป็ นพันธกิจหลักของหน่ วยงาน เพื่อสนองตอบต่ อเป้ าหมายขององค์กรและเป้ าหมายในการ พัฒนาประเทศ ดังนันสิ่งที่จาเป็ นต้องดําเนินการเป็ นสิ่งแรกก็ ้ ํ คือ การจัดแผนกลยุทธ์ เพื่อนํากลยุทธ์ท่ ีได้ไปใช้ในการ ปฏิบติงานให้บรรลุวตถุประสงค์ท่ วางไว้ และจะต้องได้ผล ั ั ี ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 6
  • 15. ประสิทธิภาพในการปฏิบติ เป็ นเครื่องมือที่ใช้กากับการ ั ํ การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ดําเนินงานขององค์กรต่าง ๆ เพื่อจะบ่งชี้ถงผลการดําเนินงาน ึ (Procurement Management) และการใช้จ่ายในแต่ละช่วงแวลา รวมถึงเป็ นขอมูลเพื่อการ ้ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง เป็ นสิ่งสําคัญอย่างหนึ่งที่ วิเ คราะห์ใ นการตัด สิน ใจของฝ่ ายบริ ห ารว่ า ควรจะดํา เนิ น ก่อให้เกิดการประหยัดในการใช้จ่ายงบประมาณ และจะมี กิจกรรมหรือมีหน่วยงานนันต่อไปหรือไม่อย่างไร ้ ผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนของการผลิต กระบวนการจัดซื้อ จัดจ้างที่ดี โปร่งใส ยุตธรรม และตรวจสอบได้ จะช่วยลดการ ิ ก า ร บ ริ ห า ร สิ น ท รั พ ย์ ( Asset สู ญเสียงบประมาณ ดังนัน หน่ วยงานจะต้องจัดระบบการ ้ Management) จัดซื้อจัดจ้างที่ดี มีแผนในการจัดซื้อจัดจ้างที่จะบ่งบอกว่าจะ สินทรัพย์ นับเป็ นปัจจัยสําคัญยิ่งในการ จัดซื้อจัดจ้างพัสดุชนิดไหน จํานวนเท่าไร ในเวลาใด และจะ ดําเนินงานของทุกองค์กร หากองค์กรมีการใช้สนทรัพย์ท่ ไม่ ิ ี จัดอย่างไร เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรที่ใช้ในการดําเนินงานได้ คุมค่าหรือไม่มประสิทธิภาพ ก็จะเป็ นผลให้มตนทุนในการ ้ ี ี ้ ทันเวลา มีปริมาณ คุณภาพ ราคาที่เหมาะสมและสมประโยชน์ ดําเนินการสูงกว่าที่ควรจะเป็ น สาเหตุทวไปของการสิ้นเปลือง ่ั ในการใช้ งบประมาณอันเนื่องมาจากการใช้สนทรัพย์ ได้แก่ ไม่มการ ิ ี บํารุงรักษาสินทรัพย์ ความสูญหาย การจัดซื้อสินทรัพย์ใหม่ การบริหารทางการเงินและควบคุม ในขณะที่สนทรัพย์เดิมยังสามารถใช้งานได้ การขาดความ ิ งบประมาณ (Financial Mangement and Budget ชัดเจนของกฏระเบียบในการขายสินทรัพย์เดิมไม่ก่อให้เกิด Control) ผลผลิต รวมถึงการขาดการบริหารสินทรัพย์ท่ มอยู่ให้บงเกิด ี ี ั การควบคุมงบประมาณ เป็ นกลไกที่จะ ผลประโยชน์สูงสุด ดังนัน องค์กรภาครัฐจึงจําเป็ นต้องมีการ ้ ประกันว่า ความคล่องตัวทางการงบประมาณที่หน่ วยงาน บริหารสินทรัพย์ท่ ีมีอยู่ ให้สมฤทธิผล ั และมีการจัดซื้อ ได้รบ (จากการกระจายอํานาจและผ่อนคลายการควบคุม) ั สินทรัพย์ใหม่เท่าที่จาเป็ นอย่างแท้จริง ํ จากหน่วยงานกลางนัน จะไม่นาไปสู่การกระจายงบประมาณที่ ้ ํ ไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนัน ภายในหน่วยงาน ้ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) แต่ ล ะระดับ จะต้อ งมีม าตรฐานในการควบคุ ม งบประมาณ การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ จาก รวมถึง การกํา หนดความรับ ผิด ชอบในเรื่ องการบัญ ชี แ ละ งบประมาณแบบแผนงานไปสู่ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น การเงิน ผลงาน จะมีการลดบทบาทของหน่วยงานกลางที่เคยทําหน้าที่ รายการทางบัญชี (Chat of account) ในการควบคุมการดําเนินงาน และให้หน่ วยงานมีความ จะต้องแสดงถึงรายการที่จาเป็ นเหมาะสมเพื่อประโยชน์ในการ ํ คล่องตัวในการบริหารงบประมาณมากขึ้นในขณะเดียวกัน ควบคุมงบประมาณ และคํานวณต้นทุนต่ อหน่ วย (Unit อาจจะส่งผลให้มการใช้งบประมาณอย่างไม่มประสิทธิภาพได้ ี ี Cost) สําหรับการรายงานผลการดําเนินงาน รวมถึงมีระบบ ดังนัน การตรวจสอบภายใน จึงถือเป็ นกลไกที่สาคัญในการ ้ ํ การอนุ มติ ตรวจสอบ เช็คกระทบยอด และการบันทึกเพื่อ ั ควบคุ ม การใช้ง บประมาณให้เ ป็ น ไปในทางที่ถู ก ต้อ งและ ควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ สัมฤทธิ์ผล การรายงานทางการเงิ น และผลการ ดําเนินงาน (Financial and Performance Reporting) การรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน และ ส่วนหนึ่งของกระบวนการติดตามและประเมินผล เป็ นการ แสดงความโปร่ ง ใสของการใช้จ่ า ยเงิน ประสิ ท ธิ ผ ลและ ระบบงบประมาณ : จากแบบแสดงรายการ...สูแบบมุงเน้นผลงาน ่ ่ หน้า 7