SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
Downloaden Sie, um offline zu lesen
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้
                                                   ั
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวตและครอบครัว
             ิ
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต
                                                               ั                ิ
สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
                 ่
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
                        ั
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจาอย่าง
                                                              ั
                    สม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ
                                ิ ั
                    ในการแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพ
สาระที่ ๔ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค
                                               ้
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ การป้ องกัน
                              ั
                  โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวต
                          ิ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพ
                                                                               ั
ติด และความรุ นแรง
สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
       มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

ชั้น                ตัวชี้วด
                           ั                      สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑      ๑.อธิบายลักษณะและหน้าที่         ลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอก
         ของอวัยวะภายนอก                 ที่มีการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการไป
                                         ตามวัย
                                         - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เท้า เล็บ                 -
                                         ผิวหนัง ฯลฯ
                                         - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน
                                         เหงือก)
         ๒.อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ      การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก
         ภายนอก                          - ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น ฟั น ผม มือ
                                         เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ                            -
                                         - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน
                                         เหงือก)
ป.๒      ๑.อธิบายลักษณะ และหน้าที่        ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะภายใน
         ของอวัยวะภายใน                  ที่มีการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการไป
                                         ตามวัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด                    -
                                         กระเพาะอาหาร ลาไส้ ฯลฯ)
         ๒.อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ      การดูแลรักษาอวัยวะภายใน
         ภายใน                           - การระมัดระวังการกระแทก                         -
                                         - การออกกาลังกาย
                                         - การกินอาหาร
         ๓.อธิบายธรรมชาติของชีวิต         ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ต้ งแต่เกิดจน
                                                                       ั                  -
         มนุษย์                          ตาย
ป.๓      ๑.อธิบายลักษณะและการ             ลักษณะการเจริ ญเติบโตของร่ างกาย
         เจริ ญเติบโตของร่ างกายมนุษย์   มนุษย์ ที่มีความแตกต่างกันในแต่ละ
                                         บุคคล                                            -
                                         - ลักษณะรู ปร่ าง
                                         - น้ าหนัก
                                         - ส่ วนสู ง
ชั้น                ตัวชี้วด
                           ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ๒. เปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโต  เกณฑ์มาตรฐานการเจริ ญเติบโต                    -
       ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน        ของเด็กไทย
       ๓. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ      ปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต
       เจริ ญเติบโต                   - อาหาร                                           -
                                      - การออกกาลังกาย
                                      - การพักผ่อน
ป.๔    ๑.อธิบายการเจริ ญเติบโตและ  การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของ
       พัฒนาการของร่ างกายและ         ร่ างกายและจิตใจ ตามวัย (ในช่วงอายุ               -
       จิตใจ ตามวัย                   ๙ – ๑๒ ปี )
       ๒.อธิบายความสาคัญของ            ความสาคัญของกล้ามเนื้ อ กระดูก
       กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อที่มีผล และข้อ ที่มีผลต่อสุ ขภาพ การ
       ต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต     เจริ ญเติบโตและพัฒนาการ                           -
       และพัฒนาการ
       ๓.อธิ บายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ     วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อ กระดูก
       กระดูก และข้อ ให้ทางาน         และข้อให้ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ                -
       อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ป.๕    ๑.อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร
       ย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่ และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ
       มีผลต่อสุ ขภาพ การ             การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ                       -
       เจริ ญเติบโต และพัฒนาการ
       ๒.อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อย       วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและ
       อาหารและระบบขับถ่ายให้         ระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ                        -
       ทางานตามปกติ
ป.๖    ๑.อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบสื บพันธุ์
       สื บพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบ
       และระบบหายใจ ที่มีผลต่อ        หายใจที่มีผลต่อสุ ขภาพ การ                        -
       สุ ขภาพ การเจริ ญเติบโตและ เจริ ญเติบโตและพัฒนาการ
       พัฒนาการ
       ๒.อธิบายวิธีการดูแลรักษา        วิธีดูแลรักษาระบบสื บพันธุ์
       ระบบสื บพันธุ์ ระบบไหลเวียน ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบ
       โลหิต และระบบหายใจให้ หายใจให้ทางานตามปกติ
       ทางานตามปกติ
สาระที่ ๒ ชีวตและครอบครัว
                    ิ
       มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต
                                                                      ั                ิ

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง   สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑      ๑.ระบุสมาชิกในครอบครัวและ     สมาชิกในครอบครัว
         ความรักความผูกพันของ          ความรักความผูกพันของสมาชิก                    -
         สมาชิกที่มีต่อกัน            ในครอบครัว
         ๒.บอกสิ่ งที่ช่ืนชอบ และ      สิ่ งที่ชื่นชอบและความภาคภูมิใจ               -
         ภาคภูมิใจในตนเอง             ในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง)
         ๓.บอกลักษณะความแตกต่าง        ลักษณะความแตกต่างของเพศชาย
         ระหว่างเพศชาย และเพศหญิง     เพศหญิง
                                      - ร่ างกาย                                      -
                                      - อารมณ์
                                      - ลักษณะนิสัย
ป.๒      ๑.ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเอง  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน
         และสมาชิกในครอบครัว          ครอบครัว
                                      - ตนเอง
                                      - พ่อ แม่                                       -
                                      - พี่นอง
                                             ้
                                      - ญาติ
         ๒.บอกความสาคัญของเพื่อน  ความสาคัญของเพื่อน (เช่น พูดคุย                    -
                                      ปรึ กษา เล่น ฯลฯ)
         ๓.ระบุพฤติกรรมที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ
         กับเพศ                       - ความเป็ นสุ ภาพบุรุษ                          -
                                      - ความเป็ นสุ ภาพสตรี
         ๔.อธิบายความภาคภูมิใจใน       ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรื อ                  -
         ความเป็ นเพศหญิง หรื อเพศชาย เพศชาย
ป.๓      ๑.อธิบายความสาคัญ และ         ความสาคัญของครอบครัว ความ
         ความแตกต่างของครอบครัวที่มี แตกต่างของแต่ละครอบครัว
         ต่อตนเอง                     - เศรษฐกิจ                                      -
                                      - สังคม
ชั้น             ตัวชี้วด
                        ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
                                     - การศึกษา                                     -
       ๒.อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพ   วิธีการสร้างสัมพันธภาพใน
       ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน     ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน                           -
       ๓.บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรม   พฤติกรรมที่นาไปสู่ การล่วงละเมิด
       ที่นาไปสู่ การล่วงละเมิดทาง  ทางเพศ (การแต่งกาย การเที่ยว
       เพศ                          กลางคืน การคบเพื่อน การเสพสาร
                                    เสพติด ฯลฯ)                                      -
                                     วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นาไปสู่
                                    การล่วงละเมิดทางเพศ (ทักษะปฏิเสธ
                                    และอื่น ๆ )
ป.๔    ๑.อธิบายคุณลักษณะของความ  คุณลักษณะของความเป็ นเพื่อน
       เป็ นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของ และสมาชิกที่ดีของครอบครัว                        -
       ครอบครัว
       ๒.แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของ
       กับเพศของตนตามวัฒนธรรม ตนตามวัฒนธรรมไทย                                       -
       ไทย
       ๓.ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการ  วิธีการปฏิเสธการกระทาที่เป็ น
       กระทาที่เป็ นอันตรายและไม่   อันตรายและไม่เหมาะสมในเรื่ องเพศ                 -
       เหมาะสมในเรื่ องเพศ
ป.๕    ๑.อธิบายการเปลี่ยนแปลงทาง  การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแล
       เพศ และปฏิบติตนได้
                      ั             ตนเอง
                                                                                     -
       เหมาะสม                       การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศตาม
                                    วัฒนธรรมไทย
       ๒.อธิบายความสาคัญของการมี  ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตาม
       ครอบครัวที่อบอุ่นตาม      วัฒนธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การ
                                                                                     -
       วัฒนธรรมไทย               นับถือญาติ)

       ๓.ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์  พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึง
       และไม่พงประสงค์ในการแก้ไข ประสงค์
              ึ                                                                      -
ชั้น               ตัวชี้วด
                          ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ปัญหาความขัดแย้งใน              ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งใน                  -
       ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน          ครอบครัว
ป.๖    ๑.อธิบายความสาคัญของการ          ความสาคัญของการสร้างและ
       สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับ      รักษาสัมพันธภาพกับผูอื่น
                                                              ้
       ผูอื่น
         ้                              ปั จจัยที่ช่วยให้การทางานกลุ่ม
                                       ประสบความสาเร็ จ
                                       - ความสามารถส่ วนบุคคล                          -
                                       - บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม
                                       - การยอมรับความคิดเห็น และความ
                                       แตกต่างระหว่างบุคคล
                                       - ความรับผิดชอบ
       ๒.วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ ยงที่    พฤติกรรมเสี่ ยงที่นาไปสู่ การมี
       อาจนาไปสู่ การมีเพศสัมพันธ์     เพศสัมพันธ์ การติดเชื้ อเอดส์ และ
       การติดเชื้อเอดส์ และการ         การตั้งครรภ์ก่อนวัย                             -
       ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร          อันควร
สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
                        ่
       มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
                               ั

ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง         สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑      ๑.เคลื่อนไหวร่ างกายขณะอยู่        ธรรมชาติของการเคลื่อนไหว
         กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์    ร่ างกายในชีวตประจาวัน
                                                          ิ
         ประกอบ                                       ่ ั
                                           - แบบอยูกบที่ เช่น นัง ยืน ก้มเงย
                                                                   ่
                                           เอียง ซ้าย ขวา เคลื่อนไหวข้อมือ ข้อ
                                           เท้า แขน ขา                                         -
                                           - แบบเคลื่อนที่ เช่น เดิน วิง
                                                                       ่
                                           กระโดด กลิ้งตัว
                                           - แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น จับ
                                           โยน เตะ เคาะ
         ๒.เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่ วม     กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการ
         กิจกรรมทางกายที่ใช้การ            เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ                               -
         เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ             - การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด
ป.๒      ๑.ควบคุมการเคลื่อนไหว              ลักษณะและวิธีการของการ
                        ่ ั
         ร่ างกาย ขณะอยูกบที่ เคลื่อนที่   เคลื่อนไหวร่ างกาย แบบอยูกบที่่ ั
         และใช้อุปกรณ์ประกอบ               เช่น กระโดด บิดตัว ดึง ผลัก แบบ
                                           เคลื่อนที่ เช่น กระโดดเขย่ง ก้าวชิด                 -
                                           ก้าว วิงตามทิศทางที่กาหนด และ
                                                  ่
                                           แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น คีบ
                                           ขว้าง ตี
         ๒.เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่ วม     การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และเข้าร่ วม
         กิจกรรมทางกายที่วธีเล่น อาศัย
                             ิ             กิจกรรมทางกายที่วธีเล่นอาศัยการ
                                                               ิ
         การเคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบ     เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบอยูกบที่่ ั               -
             ่ ั
         อยูกบที่ เคลื่อนที่และใช้         เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ
         อุปกรณ์ประกอบ
ป.๓      ๑.ควบคุมการเคลื่อนไหว              การเคลื่อนไหวร่ างกายแบบอยูกบ   ่ ั
                         ่ ั
         ร่ างกาย ขณะอยูกบที่ เคลื่อนที่   ที่
         และใช้อุปกรณ์ประกอบอย่างมี        เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหว                 -
         ทิศทาง                            ลาตัว การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่
                                           เช่น เดินต่อเท้า เดินถอย-หลัง
                                           กระโจน และแบบใช้อุปกรณ์
ชั้น              ตัวชี้วด
                         ั                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง           สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
                                     ประกอบโดยมีการบังคับทิศทาง เช่น
                                     ดีด ขว้าง โยน และรับ                                    -
                                      วิธีการควบคุมการเคลื่อนไหว
                                     ร่ างกายแบบต่างๆ อย่างมีทิศทาง
       ๒.เคลื่อนไหวร่ างกายที่ใช้     กิจกรรมทางกายที่ใช้ทกษะการ    ั
       ทักษะการเคลื่อนไหวแบบ         เคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทาง ในการ                         -
       บังคับทิศทาง ในการเล่นเกม เล่นเกมเบ็ดเตล็ด
       เบ็ดเตล็ด
ป.๔    ๑.ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทกษะ  การเคลื่อนไหวร่ างกายแบบ
                                 ั
       การเคลื่อนไหวในลักษณะ                                 ่ ั
                                     ผสมผสานทั้งแบบอยูกบที่ เช่น
                                ่ ั
       ผสมผสานได้ท้ งแบบอยูกบที่ กระโดดหมุนตัว กระโดด-เหยียดตัว
                         ั
       เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์      แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิ กแซ็ก วิงเปลี่ยน                  -
                                                                         ่
       ประกอบ                        ทิศทาง ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์
                                     ประกอบ เช่น บอล เชื อก
       ๒.ฝึ กกายบริ หารท่ามือเปล่า    กายบริ หารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ                     -
       ประกอบจังหวะ
       ๓.เล่นเกมเลียนแบบและ           เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด                          -
       กิจกรรมแบบผลัด
       ๔. เล่นกีฬาพื้นฐานได้อย่าง     กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์ บอล                             -
       น้อย         ๑ ชนิด           แฮนด์บอล            ห่วงข้ามตาข่าย
ป.๕    ๑.จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหว      การจัดรู ปแบบการเคลื่อนไหว
       แบบผสมผสาน และควบคุม          ร่ างกาย แบบผสมผสาน และการปฏิบติ        ั
       ตนเองเมื่อใช้ทกษะการ
                       ั             กิจกรรมทางกายทั้งแบบอยูกบที่  ่ ั
       เคลื่อนไหว          ตามแบบที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตาม                       -
       กาหนด                         แบบที่กาหนด เช่น การฝึ กกายบริ หาร
                                            ่
                                     ยืดหยุนขั้นพื้นฐาน เป็ นต้น
       ๒.เล่มเกมนาไปสู่ กีฬาที่เลือก  เกมนาไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบ
       และกิจกรรมการเคลื่อนไหว       ผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ – ส่ งสิ่ งของ                 -
       แบบผลัด                       ขว้าง และวิง ่
       ๓.ควบคุมการเคลื่อนไหวใน        การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง                       -
       เรื่ องการรับแรง การใช้แรงและ การใช้แรงและความสมดุล
ชั้น               ตัวชี้วด
                          ั                  สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง          สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ความสมดุล                                                                          -

       ๔.แสดงทักษะกลไกในการ             ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการปฏิบติ
                                                                    ั
       ปฏิบติกิจกรรมทางกายและเล่น
            ั                          กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา                            -
       กีฬา
       ๕.เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล       การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง
       ประเภทบุคคลและประเภททีม        วิงชักธง และกีฬาสากล เช่น กรี ฑา
                                        ่
       ได้อย่างละ ๑ ชนิด              ประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล                     -
                                      เทเบิลเทนนิส ว่ายน้ า
       ๖.อธิ บายหลักการ และเข้าร่ วม  หลักการและกิจกรรมนันทนาการ
       กิจกรรมนันทนาการ อย่างน้อย                                                          -
       ๑ กิจกรรม
ป.๖    ๑.แสดงทักษะการเคลื่อนไหว  การเคลื่อนไหวร่ วมกับผูอื่นแบบ   ้
       ร่ วมกับผูอ่ืนในลักษณะแบบ
                  ้                   ผลัดในลักษณะผสมผสาน ในการร่ วม
       ผลัดและแบบผสมผสานได้           กิจกรรมทางกาย เช่น กิจกรรมแบบผลัด
                            ่ ั
       ตามลาดับทั้งแบบอยูกบที่        กายบริ หารประกอบเพลง ยืดหยุนขั้น่                    -
       เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์       พื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่อง และการต่อตัว
       ประกอบ และการเคลื่อนไหว ท่าง่าย ๆ
       ประกอบเพลง
       ๒.จาแนกหลักการเคลื่อนไหวใน  การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง
       เรื่ องการรับแรง การใช้แรง และ การใช้แรง และความสมดุลกับการพัฒนา
       ความสมดุลในการเคลื่อนไหว ทักษะการเคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ
       ร่ างกายในการเล่นเกม เล่นกีฬา กีฬา                                                  -
       และนาผลมาปรับปรุ ง เพิมพูนวิธี
                                ่
       ปฏิบติของตนและผูู ู้อื่น
              ั
       ๓.เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล          การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล
       ประเภทบุคคลและประเภททีม ประเภทบุคคลและประเภททีม เช่น
       ได้อย่างละ ๑ ชนิด              กรี ฑาประเภทลู่ และลาน เปตอง                         -
                                      ว่ายน้ า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล
                                      ฟุตบอล ตะกร้อวง
       ๔.ใช้ทกษะกลไก เพื่อปรับปรุ ง  การใช้ขอมูลด้านทักษะกลไกเพื่อ
                ั                                   ้                                      -
ชั้น              ตัวชี้วด
                         ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง        สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       เพิมพูนความสามารถของตน
            ่                         ปรับปรุ งและเพิมพูนความสามารถใน
                                                     ่                                -
       และผูอ่ืนในการเล่นกีฬา
               ้                      การปฏิบติกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา
                                               ั
       ๕. ร่ วมกิจกรรมนันทนาการ        การนาความรู้และหลักการของ
       อย่างน้อย ๑ กิจกรรม แล้วนา     กิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็ นฐาน
       ความรู้และหลักการที่ได้ไปใช้   การศึกษาหาความรู้                                -
       เป็ นฐานการศึกษาหาความรู้
       เรื่ องอื่น ๆ
สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
                        ่
       มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจา
                                                                            ั
                           อย่างสม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ
                                            ิ ั
                          ในการแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพ

ชั้น                ตัวชี้วด
                           ั                  สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง            สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑       ๑.ออกกาลังกาย และเล่นเกม       การออกกาลังกาย และการเล่น
          ตามคาแนะนา อย่าง              เกมเบ็ดเตล็ด                                          -
          สนุกสนาน
          ๒.ปฏิบติตนตามกฎ กติกา
                 ั                       กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น
          ข้อตกลงในการเล่นเกมตาม        เกมเบ็ดเตล็ด                                          -
          คาแนะนา
ป.๒       ๑.ออกกาลังกาย และเล่นเกม       การออกกาลังกาย และเล่นเกม
          ได้ดวยตนเองอย่างสนุกสนาน
              ้                         เบ็ดเตล็ด                                             -
                                         ประโยชน์ของการออกกาลังกาย
                                        และการเล่นเกม
          ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาและ
                   ั                     กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกม
          ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็ น      เป็ นกลุ่ม                                            -
          กลุ่ม
ป.๓       ๑.เลือกออกกาลังกาย             แนวทางการเลือกออกกาลังกาย
          การละเล่นพื้นเมือง และเล่น    การละเล่นพื้นเมืองและเล่นเกมที่
          เกม ที่เหมาะสมกับจุดเด่น      เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อยและ                          -
          จุดด้อย และข้อจากัดของตนเอง   ข้อจากัดของแต่ละบุคคล
          ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาและ
                     ั                   การออกกาลังกาย เกม และ
          ข้อตกลงของการออกกาลังกาย      การละเล่นพื้นเมือง
          การเล่นเกม การละเล่น           กฎ กติกาและข้อตกลงในการ                             -
          พื้นเมืองได้ดวยตนเอง
                       ้                ออกกาลังกาย การเล่นเกม และ
                                        การละเล่นพื้นเมือง
ป.๔       ๑.ออกกาลังกาย เล่นเกม และ      การออกกาลังกาย เล่นเกม ตาม
          กีฬาที่ตนเองชอบและมี          ความชอบของตนเองและเล่นกีฬา
          ความสามารถในการวิเคราะห์      พื้นฐานร่ วมกับผูอื่น
                                                         ้                                    -
          ผลพัฒนาการของตนเองตาม          การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของ
ชั้น              ตัวชี้วด
                         ั                  สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ตัวอย่างและแบบปฏิบติของ
                           ั         ตนเองในการออกกาลังกาย เล่นเกม
       ผูอื่น
         ้                           และเล่นกีฬา ตามตัวอย่างและแบบ
                                     ปฏิบติของผูอื่น
                                          ั      ้                                     -
                                      คุณค่าของการออกกาลังกาย
                                     เล่นเกม และเล่นกีฬา ที่มีต่อสุ ขภาพ
       ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาการเล่น - การปฏิบติตามกฎ กติกา การเล่น
               ั                             ั
       กีฬาพื้นฐาน ตามชนิ ดกีฬาที่ กีฬาพื้นฐาน ตามชนิ ดกีฬาที่เล่น                     -
       เล่น

ป.๕    ๑.ออกกาลังกายอย่างมีรูปแบบ      หลักการและรู ปแบบการออก
       เล่นเกมที่ใช้ทกษะการคิดและ
                     ั                กาลังกาย
       ตัดสิ นใจ                       การออกกาลังกาย และการเล่น                      -
                                      เกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกมเลียนแบบ
                                      เกมนา และการละเล่นพื้นเมือง
       ๒.เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่าง  การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล
       สม่าเสมอ โดยสร้างทางเลือก ประเภทบุคคลและทีมที่เหมาะสมกับ
       ในวิธีปฏิบติของตนเองอย่าง
                  ั                   วัยอย่างสม่าเสมอ
       หลากหลาย และมีน้ าใจนักกีฬา  การสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบติใน  ั                 -
                                      การเล่นกีฬาอย่างหลากหลาย และมี
                                      น้ าใจนักกีฬา
       ๓.ปฏิบติตามกฎกติกา การเล่น  กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทย
                ั
       เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น
       ตามชนิดกีฬาที่เล่น              วิธีการรุ กและวิธีป้องกันในการ                 -
                                      เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลที่เล่น
       ๔.ปฏิบติตนตามสิ ทธิของ
              ั                        สิ ทธิของตนเองและผูอื่นในการ
                                                              ้
       ตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิ ผอื่นและ เล่นเกมและกีฬา
                              ู้
       ยอมรับในความแตกต่าง             ความแตกต่างระหว่างบุคคลใน
       ระหว่างบุคคลในการเล่นเกม การเล่นเกม และกีฬา                                     -
       และกีฬาไทย กีฬาสากล
ชั้น              ตัวชี้วดั                สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง    สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๖    ๑.อธิบายประโยชน์และ           ประโยชน์และหลักการออกกาลัง
       หลักการออกกาลังกายเพื่อ      กายเพื่อสุ ขภาพ สมรรถภาพทางกาย
       สุ ขภาพ สมรรถภาพทางกาย       และการสร้างเสริ มบุคลิกภาพ                     -
       และการสร้างเสริ มบุคลิกภาพ
       ๒.เล่นเกมที่ใช้ทกษะการ
                        ั            การเล่นเกมที่ใช้ทกษะการ
                                                       ั
       วางแผน และสามารถเพิ่มพูน     วางแผน
       ทักษะการออกกาลังกายและ        การเพิ่มพูนทักษะการออกกาลัง                  -
       เคลื่อนไหวอย่างเป็ นระบบ     กายและการเคลื่อนไหวอย่างเป็ น
                                    ระบบ
       ๓.เล่นกีฬาที่ตนเองชื่นชอบและ  การเล่นกีฬาประเภทบุคคลและ
       สามารถประเมินทักษะการเล่น ประเภททีมที่ชื่นชอบ
       ของตนเป็ นประจา               การประเมินทักษะการเล่นกีฬา                   -
                                    ของตน
       ๔.ปฏิบติตามกฎ กติกา ตาม  กฎ กติกาในการเล่นกีฬาไทย
               ั
       ชนิดกีฬาที่เล่น โดยคานึงถึง  กีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น
       ความปลอดภัยของตนเองและ                                                      -
       ผูอื่น
          ้
       ๕.จาแนกกลวิธีการรุ ก การ      กลวิธีการรุ ก การป้ องกันในการ
       ป้ องกัน และนาไปใช้ในการ เล่นกีฬา                                           -
       เล่นกีฬา
สาระที่ ๔ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค
                                                         ้
       มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ
                                       ั
                         การป้ องกันโรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ

ชั้น                ตัวชี้วด
                           ั                   สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑      ๑.ปฏิบติตนตามหลักสุ ขบัญญัติ
                 ั                      การปฏิบติตนตามหลักสุ ขบัญญัติ
                                                     ั                                   -
         แห่งชาติตามคาแนะนา            แห่งชาติ
         ๒.บอกอาการเจ็บป่ วยที่เกิด     ลักษณะอาการเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้นกับ
         ขึ้นกับตนเอง                  ตนเอง
                                       - ปวดศีรษะ
                                       - ตัวร้อน
                                                                                          -
                                       - มีน้ ามูก
                                       - ปวดท้อง
                                       - ผืนคัน (หนังศีรษะ ผิวหนัง)
                                            ่
                                       - ฟกช้ า ฯลฯ
         ๓.ปฏิบติตนตามคาแนะนาเมื่อ  วิธีปฏิบติตนเมื่อมีอาการเจ็บป่ วยที่
                  ั                                ั                                      -
         มีอาการเจ็บป่ วย              เกิดขึ้นกับตนเอง
ป.๒      ๑.บอกลักษณะของการมี            ลักษณะของการมีสุขภาพดี
         สุ ขภาพดี                     - ร่ างกายแข็งแรง
                                       - จิตใจ ร่ าเริ ง แจ่มใส                           -
                                       - มีความสุ ข
                                       - มีความปลอดภัย
         ๒.เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์  อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี                        -
                                       ประโยชน์
         ๓.ระบุของใช้และของเล่นที่มี  ของใช้และของเล่นที่มีผลเสี ยต่อ                    -
         ผลเสี ยต่อสุ ขภาพ             สุ ขภาพ
         ๔.อธิ บายอาการและวิธีป้องกัน  อาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่ วย
         การเจ็บป่ วย การบาดเจ็บที่อาจ - ตาแดง ท้องเสี ย ฯลฯ
         เกิดขึ้น                       อาการและวิธีป้องกันการบาดเจ็บ
                                       - ถูกของมีคม แมลงสัตว์กดต่อยั
                                       หกล้ม ฯลฯ
ชั้น               ตัวชี้วด
                          ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง           สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ๕.ปฏิบติตามคาแนะนาเมื่อมี
               ั                       วิธีปฏิบติตนเมื่อเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ
                                                ั                                         -
       อาการเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ
ป.๓    ๑.อธิ บายการติดต่อและวิธีการ    การติดต่อและวิธีการป้ องกันการ
       ป้ องกันการแพร่ กระจายของ      แพร่ กระจายของโรค                                    -
       โรค
       ๒.จาแนกอาหารหลัก ๕ หมู่       อาหารหลัก ๕ หมู่                                  -
       ๓.เลือกกินอาหารที่หลากหลาย    การเลือกกินอาหารที่เหมาะสม
       ครบ ๕ หมู่ ในสัดส่ วนที่     - ความหลากหลายของชนิดอาหารใน
       เหมาะสม                      แต่ละหมู่                                           -
                                    - สัดส่ วนและปริ มาณของอาหาร
                                    (ตามธงโภชนาการ)
       ๔.แสดงการแปรงฟันให้สะอาด  การแปรงฟั นให้สะอาดอย่างถูกวิธี
       อย่างถูกวิธี                 (ครอบคลุมบริ เวณขอบเหงือกและคอ                      -
                                    ฟัน)
       ๕.สร้างเสริ มสมรรถภาพทาง  การสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย
       กายได้ตามคาแนะนา             เพื่อสุ ขภาพ
                                    - วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
                                    - วิธีการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อ                   -
                                    สุ ขภาพ โดยการออกกาลังกาย การ
                                    พักผ่อน และกิจกรรมนันทนาการ
ป.๔    ๑.อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่าง  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อม * การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม
       สิ่ งแวดล้อมกับสุ ขภาพ       กับสุ ขภาพ                        ในท้องถิ่น
                                     การจัดสิ่ งแวดล้อมที่ถูก
                                    สุ ขลักษณะและเอื้อต่อสุ ขภาพ
       ๒.อธิบายสภาวะอารมณ์           สภาวะอารมณ์และความรู ้สึก เช่น
       ความรู ้สึกที่มีผลต่อสุ ขภาพ โกรธ หงุดหงิด เครี ยด เกลียด
                                    เสี ยใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว
                                    ก้าวร้าว อิจฉา ริ ษยา เบื่อหน่าย                    -
                                    ท้อแท้ ดีใจ ชอบใจ รัก ชื่นชม สนุก
                                    สุ ขสบาย
                                     ผลที่มีต่อสุ ขภาพ
ชั้น              ตัวชี้วด
                         ั                       สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
                                       ทางบวก : สดชื่น ยิมแย้ม แจ่มใส
                                                              ้
                                       ร่ าเริ ง ฯลฯ
                                       ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง                           -
                                                   เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ฯลฯ

       ๓.วิเคราะห์ขอมูลบนฉลาก
                     ้                  การวิเคราะห์ขอมูลบนฉลากอาหาร
                                                      ้
       อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อ   และผลิตภัณฑ์สุขภาพ                                 -
       การเลือกบริ โภค
       ๔.ทดสอบและปรับปรุ ง              การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
       สมรรถภาพทางกายตามผลการ           การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกาย
       ตรวจสอบสมรรถภาพทางกาย           ตามผลการทดสอบสมรรถภาพ                              -
                                       ทางกาย
ป.๕    ๑.แสดงพฤติกรรมที่เห็น            ความสาคัญของการปฏิบติตนตาม
                                                             ั
       ความสาคัญของการปฏิบติตนั        สุ ขบัญญัติแห่งชาติ                                -
       ตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ
       ๒.ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้  แหล่งและวิธีคนหาข้อมูลข่าวสาร
                                                      ้
       สร้างเสริ มสุ ขภาพ           ทางสุ ขภาพ
                                     การใช้ขอมูลข่าวสารในการสร้าง
                                                  ้                                       -
                                    เสริ มสุ ขภาพ
       ๓.วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการ  การตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหารและ
       ตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหาร และ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร
       ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์ดูแลสุ ขภาพ                    -
                                    ในช่องปาก ฯลฯ)
       ๔.ปฏิบติตนในการป้ องกันโรค การปฏิบติตนในการป้ องกันโรคที่
               ั                                ั
       ที่พบบ่อยในชีวตประจาวัน
                       ิ            พบบ่อยในชีวตประจาวัน
                                                    ิ
                                    - ไข้หวัด
                                    - ไข้เลือดออก                                         -
                                    - โรคผิวหนัง
                                    - ฟันผุและโรคปริ ทนต์
                                                        ั
                                            ฯลฯ
ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                 สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง       สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       ๕.ทดสอบและปรับปรุ ง            การทดสอบสมรรถภาพทางกาย                           -
       สมรรถภาพทางกายตามผลการ  การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกาย
       ทดสอบสมรรถภาพทางกาย           ตามผลการทดสอบสมรรถภาพ                              -
                                     ทางกาย
ป.๖    ๑.แสดงพฤติกรรมในการ            ความสาคัญของสิ่ งแวดล้อมที่มีผล * ความสัมพันธ์ระหว่างการ
       ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา        ต่อสุ ขภาพ                        ดารงชีวตของสิ่ งมีชีวิตกับ
                                                                                ิ
       สิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ                                   สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น
                                      ปั ญหาของสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อ
                                     สุ ขภาพ
                                      การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
                                     สิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ
       ๒.วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิด      โรคติดต่อสาคัญที่ระบาดใน
       จากการระบาดของโรคและ          ปัจจุบนั
       เสนอแนวทางการป้ องกัน          ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของ                     -
       โรคติดต่อสาคัญที่พบใน         โรค
       ประเทศไทย                      การป้ องกันการระบาดของโรค
       ๓.แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึง  พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความ
       ความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพของ    รับผิดชอบต่อสุ ขภาพของส่ วนรวม                     -
       ส่ วนรวม
       ๔.สร้างเสริ มและปรับปรุ ง      วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย
       สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ  การสร้างเสริ มและปรับปรุ ง
       อย่างต่อเนื่ อง               สมรรถภาพทางกายตามผลการ                             -
                                     ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวต ิ
       มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา
                                                                                      ั
                         สารเสพติด และความรุ นแรง

ชั้น                    ตัวชี้วด
                               ั                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง              สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
ป.๑       ๑.ระบุสิ่งที่ทาให้เกิดอันตราย    สิ่ งที่ทาให้เกิดอันตรายภายในบ้านและ
          ที่บาน โรงเรี ยน และการ
              ้                           โรงเรี ยน                                                     -
          ป้ องกัน                         การป้ องกันอันตรายภายในบ้านและ
                                          โรงเรี ยน
          ๒.บอกสาเหตุและการป้ องกัน  อันตรายจากการเล่น
          อันตรายที่เกิดจากการเล่น        - สาเหตุที่ทาให้เกิดอันตรายจากการเล่น
                                          - การป้ องกันอันตรายจากการเล่น                                -
          ๓.แสดงคาพูดหรื อท่าทางขอ  การขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุร้ายที่
          ความช่วยเหลือจากผูอื่นเมื่อเกิด บ้านและโรงเรี ยน
                                 ้
          เหตุร้ายที่บานและโรงเรี ยน
                       ้                  - บุคคลที่ควรขอความช่วยเหลือ                                  -
                                          - คาพูดและท่าทางการขอความช่วยเหลือ
ป.๒       ๑.ปฏิบติตนในการป้ องกัน
                  ั                        อุบติเหตุทางน้ า และทางบก
                                                  ั
          อุบติเหตุที่อาจเกิดขึ้นทางน้ า
              ั                           - สาเหตุของอุบติเหตุทางน้ าและทางบก
                                                           ั
          และทางบก                        - วิธีการป้ องกันอุบติเหตุทางน้ าและทางบก
                                                              ั                                         -
          ๒.บอกชื่อยาสามัญประจาบ้าน  ยาสามัญประจาบ้าน
          และใช้ยาตามคาแนะนา              - ชื่อยาสามัญประจาบ้าน
                                          - การใช้ยาตามความจาเป็ นและลักษณะ                             -
                                          อาการ
          ๓.ระบุโทษของสารเสพติด            สารเสพติดและสารอันตรายใกล้ตว      ั
          สารอันตรายใกล้ตวและวิธีการ - โทษของสารเสพติด และสารอันตรายใกล้
                             ั
          ป้ องกัน                        ตัว                                                           -
                                          - วิธีป้องกัน




          ๔.ปฏิบติตนตามสัญลักษณ์และ  สัญลักษณ์และป้ ายเตือนของสิ่ งของหรื อ
                   ั
          ป้ ายเตือนของสิ่ งของหรื อ สถานที่ที่เป็ นอันตราย
ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง          สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
       สถานที่ที่เป็ นอันตราย          - ความหมายของสัญลักษณ์และป้ ายเตือน                     -
       ๕.อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธี      อัคคีภยั
       ป้ องกันอัคคีภยและแสดงการ
                       ั               - สาเหตุของการเกิดอัคคีภย    ั
       หนีไฟ                           - อันตรายซึ่ งได้รับจากการเกิดอัคคีภย ั                  -
                                       - การป้ องกันอัคคีภย และการหนี ไฟ
                                                           ั
ป.๓    ๑.ปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัย  วิธีปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจาก
                 ั                                 ั
       จากอุบติเหตุในบ้าน โรงเรี ยน อุบติเหตุในบ้าน โรงเรี ยนและการเดินทาง
               ั                          ั                                                     -
       และการเดินทาง
       ๒.แสดงวิธีขอความช่วยเหลือ  การขอความช่วยเหลือจากบุคคลและ
       จากบุคคลและแหล่งต่าง ๆ เมื่อ แหล่งต่างๆ เมื่อเกิดเหตุร้ายหรื ออุบติเหตุ
                                                                           ั                    -
       เกิดเหตุร้าย หรื ออุบติเหตุ
                            ั
       ๓.แสดงวิธีปฐมพยาบาล เมื่อ  การบาดเจ็บจากการเล่น
       บาดเจ็บจากการเล่น               - ลักษณะของการบาดเจ็บ
                                       - วิธีปฐมพยาบาล (บาดเจ็บ ห้ามเลือด ฯลฯ)                  -
ป.๔    ๑.อธิบายความสาคัญของการ  ความสาคัญของการใช้ยา                                           -
       ใช้ยาและใช้ยาอย่างถูกวิธี        หลักการใช้ยา
       ๒.แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อ         วิธีปฐมพยาบาล
       ได้รับอันตรายจากการใช้ยาผิด - การใช้ยาผิด
       สารเคมี แมลงสัตว์กดต่อยั        - สารเคมี                                                -
       และการบาดเจ็บจากการเล่น                       ั
                                       - แมลงสัตว์กดต่อย
       กีฬา                            - การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
       ๓.วิเคราะห์ผลเสี ยของการสู บ  ผลเสี ยของการสู บบุหรี่ การดื่มสุ รา และ
       บุหรี่ และการดื่มสุ รา ที่มีต่อ การป้ องกัน
       สุ ขภาพและการป้ องกัน                                                                    -




ป.๕    ๑.วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อ  ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด
       การใช้สารเสพติด                   (สุ รา บุหรี่ ยาบ้า สารระเหย ฯลฯ)
                                         - ครอบครัว สังคม เพื่อน
                                         - ค่านิยม ความเชื่ อ                                   -
ชั้น              ตัวชี้วด
                         ั                       สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง        สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น
                                       - ปัญหาสุ ขภาพ
                                       - สื่ อ ฯลฯ
       ๒.วิเคราะห์ผลกระทบของการ  ผลกระทบของการใช้ยา และสารเสพติด
       ใช้ยา และสารเสพติด ที่มีผล ที่มีต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
       ต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์        สติปัญญา                                              -
       สังคม และสติปัญญา
       ๓.ปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัย  การปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจาก
                ั                                  ั
       จากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสาร การใช้ยา
       เสพติด                           การหลีกเลี่ยงสารเสพติด                              -
       ๔.วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มี  อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรม                    -
       ต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ              สุ ขภาพ (อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ)
       ๕.ปฏิบติตนเพื่อป้ องกัน
                  ั                     การปฏิบติเพื่อป้ องกันอันตรายจากการ
                                                       ั                                     -
       อันตรายจากการเล่นกีฬา           เล่นกีฬา
ป.๖    ๑.วิเคราะห์ผลกระทบจากความ  ภัยธรรมชาติ
       รุ นแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อ - ลักษณะของภัยธรรมชาติ
       ร่ างกาย จิตใจ และสังคม         - ผลกระทบจากความรุ นแรงของภัย                         -
                                       ธรรมชาติที่มีต่อร่ างกาย จิตใจ และสังคม
       ๒.ระบุวธีปฏิบติตน เพื่อความ  การปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัย
                    ิ ั                              ั                                       -
       ปลอดภัยจากธรรมชาติ              ธรรมชาติ
       ๓.วิเคราะห์สาเหตุของการติดสาร  สาเหตุของการติดสารเสพติด
       เสพติด และชักชวนให้ผอื่น
                             ู้         ทักษะการสื่ อสารให้ผอื่นหลีกเลี่ยง
                                                                ู้
       หลีกเลี่ยงสารเสพติด             สารเสพติด                                             -

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4Ummara Kijruangsri
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3Kruthai Kidsdee
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อtassanee chaicharoen
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโตนราพร ผิวขำ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 

Was ist angesagt? (20)

03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
5
55
5
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
กำหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา และพลศึกษาป.4
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 

Ähnlich wie มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงkkkkon
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 

Ähnlich wie มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ (20)

4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
Health
HealthHealth
Health
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา2012
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการทางด้านร่างกายของเพศชายและเพศหญิง
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศพัฒนา
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเราวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ ครอบครัวของเรา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

  • 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ ั สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ ชีวตและครอบครัว ิ มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต ั ิ สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ่ มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ั มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจาอย่าง ั สม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ิ ั ในการแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพ สาระที่ ๔ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค ้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ การป้ องกัน ั โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวต ิ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา สารเสพ ั ติด และความรุ นแรง
  • 2. สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.อธิบายลักษณะและหน้าที่  ลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอก ของอวัยวะภายนอก ที่มีการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการไป ตามวัย - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เท้า เล็บ - ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) ๒.อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ  การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก ภายนอก - ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น ฟั น ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) ป.๒ ๑.อธิบายลักษณะ และหน้าที่  ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะภายใน ของอวัยวะภายใน ที่มีการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการไป ตามวัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด - กระเพาะอาหาร ลาไส้ ฯลฯ) ๒.อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ  การดูแลรักษาอวัยวะภายใน ภายใน - การระมัดระวังการกระแทก - - การออกกาลังกาย - การกินอาหาร ๓.อธิบายธรรมชาติของชีวิต  ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ต้ งแต่เกิดจน ั - มนุษย์ ตาย ป.๓ ๑.อธิบายลักษณะและการ  ลักษณะการเจริ ญเติบโตของร่ างกาย เจริ ญเติบโตของร่ างกายมนุษย์ มนุษย์ ที่มีความแตกต่างกันในแต่ละ บุคคล - - ลักษณะรู ปร่ าง - น้ าหนัก - ส่ วนสู ง
  • 3. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ๒. เปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโต  เกณฑ์มาตรฐานการเจริ ญเติบโต - ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ของเด็กไทย ๓. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ  ปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต เจริ ญเติบโต - อาหาร - - การออกกาลังกาย - การพักผ่อน ป.๔ ๑.อธิบายการเจริ ญเติบโตและ  การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของ พัฒนาการของร่ างกายและ ร่ างกายและจิตใจ ตามวัย (ในช่วงอายุ - จิตใจ ตามวัย ๙ – ๑๒ ปี ) ๒.อธิบายความสาคัญของ  ความสาคัญของกล้ามเนื้ อ กระดูก กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อที่มีผล และข้อ ที่มีผลต่อสุ ขภาพ การ ต่อสุ ขภาพ การเจริ ญเติบโต เจริ ญเติบโตและพัฒนาการ - และพัฒนาการ ๓.อธิ บายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ  วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อ กระดูก กระดูก และข้อ ให้ทางาน และข้อให้ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ - อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ป.๕ ๑.อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบย่อยอาหาร ย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายที่ และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุ ขภาพ มีผลต่อสุ ขภาพ การ การเจริ ญเติบโต และพัฒนาการ - เจริ ญเติบโต และพัฒนาการ ๒.อธิ บายวิธีดูแลระบบย่อย  วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหารและ อาหารและระบบขับถ่ายให้ ระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ - ทางานตามปกติ ป.๖ ๑.อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบสื บพันธุ์ สื บพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบ และระบบหายใจ ที่มีผลต่อ หายใจที่มีผลต่อสุ ขภาพ การ - สุ ขภาพ การเจริ ญเติบโตและ เจริ ญเติบโตและพัฒนาการ พัฒนาการ ๒.อธิบายวิธีการดูแลรักษา  วิธีดูแลรักษาระบบสื บพันธุ์ ระบบสื บพันธุ์ ระบบไหลเวียน ระบบไหลเวียนโลหิ ต และระบบ โลหิต และระบบหายใจให้ หายใจให้ทางานตามปกติ ทางานตามปกติ
  • 4. สาระที่ ๒ ชีวตและครอบครัว ิ มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดาเนินชีวต ั ิ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.ระบุสมาชิกในครอบครัวและ  สมาชิกในครอบครัว ความรักความผูกพันของ  ความรักความผูกพันของสมาชิก - สมาชิกที่มีต่อกัน ในครอบครัว ๒.บอกสิ่ งที่ช่ืนชอบ และ  สิ่ งที่ชื่นชอบและความภาคภูมิใจ - ภาคภูมิใจในตนเอง ในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง) ๓.บอกลักษณะความแตกต่าง  ลักษณะความแตกต่างของเพศชาย ระหว่างเพศชาย และเพศหญิง เพศหญิง - ร่ างกาย - - อารมณ์ - ลักษณะนิสัย ป.๒ ๑.ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเอง  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน และสมาชิกในครอบครัว ครอบครัว - ตนเอง - พ่อ แม่ - - พี่นอง ้ - ญาติ ๒.บอกความสาคัญของเพื่อน  ความสาคัญของเพื่อน (เช่น พูดคุย - ปรึ กษา เล่น ฯลฯ) ๓.ระบุพฤติกรรมที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ กับเพศ - ความเป็ นสุ ภาพบุรุษ - - ความเป็ นสุ ภาพสตรี ๔.อธิบายความภาคภูมิใจใน  ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรื อ - ความเป็ นเพศหญิง หรื อเพศชาย เพศชาย ป.๓ ๑.อธิบายความสาคัญ และ  ความสาคัญของครอบครัว ความ ความแตกต่างของครอบครัวที่มี แตกต่างของแต่ละครอบครัว ต่อตนเอง - เศรษฐกิจ - - สังคม
  • 5. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น - การศึกษา - ๒.อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพ  วิธีการสร้างสัมพันธภาพใน ในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน - ๓.บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรม  พฤติกรรมที่นาไปสู่ การล่วงละเมิด ที่นาไปสู่ การล่วงละเมิดทาง ทางเพศ (การแต่งกาย การเที่ยว เพศ กลางคืน การคบเพื่อน การเสพสาร เสพติด ฯลฯ) -  วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นาไปสู่ การล่วงละเมิดทางเพศ (ทักษะปฏิเสธ และอื่น ๆ ) ป.๔ ๑.อธิบายคุณลักษณะของความ  คุณลักษณะของความเป็ นเพื่อน เป็ นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของ และสมาชิกที่ดีของครอบครัว - ครอบครัว ๒.แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของ กับเพศของตนตามวัฒนธรรม ตนตามวัฒนธรรมไทย - ไทย ๓.ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการ  วิธีการปฏิเสธการกระทาที่เป็ น กระทาที่เป็ นอันตรายและไม่ อันตรายและไม่เหมาะสมในเรื่ องเพศ - เหมาะสมในเรื่ องเพศ ป.๕ ๑.อธิบายการเปลี่ยนแปลงทาง  การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแล เพศ และปฏิบติตนได้ ั ตนเอง - เหมาะสม  การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศตาม วัฒนธรรมไทย ๒.อธิบายความสาคัญของการมี  ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่นตาม ครอบครัวที่อบอุ่นตาม วัฒนธรรมไทย (ครอบครัวขยาย การ - วัฒนธรรมไทย นับถือญาติ) ๓.ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์  พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึง และไม่พงประสงค์ในการแก้ไข ประสงค์ ึ -
  • 6. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ปัญหาความขัดแย้งใน ในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งใน - ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ครอบครัว ป.๖ ๑.อธิบายความสาคัญของการ  ความสาคัญของการสร้างและ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับ รักษาสัมพันธภาพกับผูอื่น ้ ผูอื่น ้  ปั จจัยที่ช่วยให้การทางานกลุ่ม ประสบความสาเร็ จ - ความสามารถส่ วนบุคคล - - บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม - การยอมรับความคิดเห็น และความ แตกต่างระหว่างบุคคล - ความรับผิดชอบ ๒.วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ ยงที่  พฤติกรรมเสี่ ยงที่นาไปสู่ การมี อาจนาไปสู่ การมีเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ การติดเชื้ อเอดส์ และ การติดเชื้อเอดส์ และการ การตั้งครรภ์ก่อนวัย - ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร อันควร
  • 7. สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ่ มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ั ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.เคลื่อนไหวร่ างกายขณะอยู่  ธรรมชาติของการเคลื่อนไหว กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ ร่ างกายในชีวตประจาวัน ิ ประกอบ ่ ั - แบบอยูกบที่ เช่น นัง ยืน ก้มเงย ่ เอียง ซ้าย ขวา เคลื่อนไหวข้อมือ ข้อ เท้า แขน ขา - - แบบเคลื่อนที่ เช่น เดิน วิง ่ กระโดด กลิ้งตัว - แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น จับ โยน เตะ เคาะ ๒.เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่ วม  กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการ กิจกรรมทางกายที่ใช้การ เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ - เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ - การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ป.๒ ๑.ควบคุมการเคลื่อนไหว  ลักษณะและวิธีการของการ ่ ั ร่ างกาย ขณะอยูกบที่ เคลื่อนที่ เคลื่อนไหวร่ างกาย แบบอยูกบที่่ ั และใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น กระโดด บิดตัว ดึง ผลัก แบบ เคลื่อนที่ เช่น กระโดดเขย่ง ก้าวชิด - ก้าว วิงตามทิศทางที่กาหนด และ ่ แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น คีบ ขว้าง ตี ๒.เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่ วม  การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และเข้าร่ วม กิจกรรมทางกายที่วธีเล่น อาศัย ิ กิจกรรมทางกายที่วธีเล่นอาศัยการ ิ การเคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบ เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบอยูกบที่่ ั - ่ ั อยูกบที่ เคลื่อนที่และใช้ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ อุปกรณ์ประกอบ ป.๓ ๑.ควบคุมการเคลื่อนไหว  การเคลื่อนไหวร่ างกายแบบอยูกบ ่ ั ่ ั ร่ างกาย ขณะอยูกบที่ เคลื่อนที่ ที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบอย่างมี เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหว - ทิศทาง ลาตัว การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น เดินต่อเท้า เดินถอย-หลัง กระโจน และแบบใช้อุปกรณ์
  • 8. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ประกอบโดยมีการบังคับทิศทาง เช่น ดีด ขว้าง โยน และรับ -  วิธีการควบคุมการเคลื่อนไหว ร่ างกายแบบต่างๆ อย่างมีทิศทาง ๒.เคลื่อนไหวร่ างกายที่ใช้  กิจกรรมทางกายที่ใช้ทกษะการ ั ทักษะการเคลื่อนไหวแบบ เคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทาง ในการ - บังคับทิศทาง ในการเล่นเกม เล่นเกมเบ็ดเตล็ด เบ็ดเตล็ด ป.๔ ๑.ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทกษะ  การเคลื่อนไหวร่ างกายแบบ ั การเคลื่อนไหวในลักษณะ ่ ั ผสมผสานทั้งแบบอยูกบที่ เช่น ่ ั ผสมผสานได้ท้ งแบบอยูกบที่ กระโดดหมุนตัว กระโดด-เหยียดตัว ั เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิ กแซ็ก วิงเปลี่ยน - ่ ประกอบ ทิศทาง ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบ เช่น บอล เชื อก ๒.ฝึ กกายบริ หารท่ามือเปล่า  กายบริ หารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ - ประกอบจังหวะ ๓.เล่นเกมเลียนแบบและ  เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด - กิจกรรมแบบผลัด ๔. เล่นกีฬาพื้นฐานได้อย่าง  กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์ บอล - น้อย ๑ ชนิด แฮนด์บอล ห่วงข้ามตาข่าย ป.๕ ๑.จัดรู ปแบบการเคลื่อนไหว  การจัดรู ปแบบการเคลื่อนไหว แบบผสมผสาน และควบคุม ร่ างกาย แบบผสมผสาน และการปฏิบติ ั ตนเองเมื่อใช้ทกษะการ ั กิจกรรมทางกายทั้งแบบอยูกบที่ ่ ั เคลื่อนไหว ตามแบบที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตาม - กาหนด แบบที่กาหนด เช่น การฝึ กกายบริ หาร ่ ยืดหยุนขั้นพื้นฐาน เป็ นต้น ๒.เล่มเกมนาไปสู่ กีฬาที่เลือก  เกมนาไปสู่ กีฬาและกิจกรรมแบบ และกิจกรรมการเคลื่อนไหว ผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ – ส่ งสิ่ งของ - แบบผลัด ขว้าง และวิง ่ ๓.ควบคุมการเคลื่อนไหวใน  การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง - เรื่ องการรับแรง การใช้แรงและ การใช้แรงและความสมดุล
  • 9. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ความสมดุล - ๔.แสดงทักษะกลไกในการ  ทักษะกลไกที่ส่งผลต่อการปฏิบติ ั ปฏิบติกิจกรรมทางกายและเล่น ั กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา - กีฬา ๕.เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล  การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง ประเภทบุคคลและประเภททีม วิงชักธง และกีฬาสากล เช่น กรี ฑา ่ ได้อย่างละ ๑ ชนิด ประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล - เทเบิลเทนนิส ว่ายน้ า ๖.อธิ บายหลักการ และเข้าร่ วม  หลักการและกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการ อย่างน้อย - ๑ กิจกรรม ป.๖ ๑.แสดงทักษะการเคลื่อนไหว  การเคลื่อนไหวร่ วมกับผูอื่นแบบ ้ ร่ วมกับผูอ่ืนในลักษณะแบบ ้ ผลัดในลักษณะผสมผสาน ในการร่ วม ผลัดและแบบผสมผสานได้ กิจกรรมทางกาย เช่น กิจกรรมแบบผลัด ่ ั ตามลาดับทั้งแบบอยูกบที่ กายบริ หารประกอบเพลง ยืดหยุนขั้น่ - เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ พื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่อง และการต่อตัว ประกอบ และการเคลื่อนไหว ท่าง่าย ๆ ประกอบเพลง ๒.จาแนกหลักการเคลื่อนไหวใน  การเคลื่อนไหวในเรื่ องการรับแรง เรื่ องการรับแรง การใช้แรง และ การใช้แรง และความสมดุลกับการพัฒนา ความสมดุลในการเคลื่อนไหว ทักษะการเคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ ร่ างกายในการเล่นเกม เล่นกีฬา กีฬา - และนาผลมาปรับปรุ ง เพิมพูนวิธี ่ ปฏิบติของตนและผูู ู้อื่น ั ๓.เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล  การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีม ประเภทบุคคลและประเภททีม เช่น ได้อย่างละ ๑ ชนิด กรี ฑาประเภทลู่ และลาน เปตอง - ว่ายน้ า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ฟุตบอล ตะกร้อวง ๔.ใช้ทกษะกลไก เพื่อปรับปรุ ง  การใช้ขอมูลด้านทักษะกลไกเพื่อ ั ้ -
  • 10. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น เพิมพูนความสามารถของตน ่ ปรับปรุ งและเพิมพูนความสามารถใน ่ - และผูอ่ืนในการเล่นกีฬา ้ การปฏิบติกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา ั ๕. ร่ วมกิจกรรมนันทนาการ  การนาความรู้และหลักการของ อย่างน้อย ๑ กิจกรรม แล้วนา กิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็ นฐาน ความรู้และหลักการที่ได้ไปใช้ การศึกษาหาความรู้ - เป็ นฐานการศึกษาหาความรู้ เรื่ องอื่น ๆ
  • 11. สาระที่ ๓ การเคลือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ่ มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจา ั อย่างสม่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ิ ั ในการแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.ออกกาลังกาย และเล่นเกม  การออกกาลังกาย และการเล่น ตามคาแนะนา อย่าง เกมเบ็ดเตล็ด - สนุกสนาน ๒.ปฏิบติตนตามกฎ กติกา ั  กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น ข้อตกลงในการเล่นเกมตาม เกมเบ็ดเตล็ด - คาแนะนา ป.๒ ๑.ออกกาลังกาย และเล่นเกม  การออกกาลังกาย และเล่นเกม ได้ดวยตนเองอย่างสนุกสนาน ้ เบ็ดเตล็ด -  ประโยชน์ของการออกกาลังกาย และการเล่นเกม ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาและ ั  กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกม ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็ น เป็ นกลุ่ม - กลุ่ม ป.๓ ๑.เลือกออกกาลังกาย  แนวทางการเลือกออกกาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และเล่น การละเล่นพื้นเมืองและเล่นเกมที่ เกม ที่เหมาะสมกับจุดเด่น เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อยและ - จุดด้อย และข้อจากัดของตนเอง ข้อจากัดของแต่ละบุคคล ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาและ ั  การออกกาลังกาย เกม และ ข้อตกลงของการออกกาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง การเล่นเกม การละเล่น  กฎ กติกาและข้อตกลงในการ - พื้นเมืองได้ดวยตนเอง ้ ออกกาลังกาย การเล่นเกม และ การละเล่นพื้นเมือง ป.๔ ๑.ออกกาลังกาย เล่นเกม และ  การออกกาลังกาย เล่นเกม ตาม กีฬาที่ตนเองชอบและมี ความชอบของตนเองและเล่นกีฬา ความสามารถในการวิเคราะห์ พื้นฐานร่ วมกับผูอื่น ้ - ผลพัฒนาการของตนเองตาม  การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของ
  • 12. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ตัวอย่างและแบบปฏิบติของ ั ตนเองในการออกกาลังกาย เล่นเกม ผูอื่น ้ และเล่นกีฬา ตามตัวอย่างและแบบ ปฏิบติของผูอื่น ั ้ -  คุณค่าของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกีฬา ที่มีต่อสุ ขภาพ ๒.ปฏิบติตามกฎ กติกาการเล่น - การปฏิบติตามกฎ กติกา การเล่น ั ั กีฬาพื้นฐาน ตามชนิ ดกีฬาที่ กีฬาพื้นฐาน ตามชนิ ดกีฬาที่เล่น - เล่น ป.๕ ๑.ออกกาลังกายอย่างมีรูปแบบ  หลักการและรู ปแบบการออก เล่นเกมที่ใช้ทกษะการคิดและ ั กาลังกาย ตัดสิ นใจ  การออกกาลังกาย และการเล่น - เกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกมเลียนแบบ เกมนา และการละเล่นพื้นเมือง ๒.เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่าง  การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล สม่าเสมอ โดยสร้างทางเลือก ประเภทบุคคลและทีมที่เหมาะสมกับ ในวิธีปฏิบติของตนเองอย่าง ั วัยอย่างสม่าเสมอ หลากหลาย และมีน้ าใจนักกีฬา  การสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบติใน ั - การเล่นกีฬาอย่างหลากหลาย และมี น้ าใจนักกีฬา ๓.ปฏิบติตามกฎกติกา การเล่น  กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬาไทย ั เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล และกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น ตามชนิดกีฬาที่เล่น  วิธีการรุ กและวิธีป้องกันในการ - เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลที่เล่น ๔.ปฏิบติตนตามสิ ทธิของ ั  สิ ทธิของตนเองและผูอื่นในการ ้ ตนเอง ไม่ละเมิดสิ ทธิ ผอื่นและ เล่นเกมและกีฬา ู้ ยอมรับในความแตกต่าง  ความแตกต่างระหว่างบุคคลใน ระหว่างบุคคลในการเล่นเกม การเล่นเกม และกีฬา - และกีฬาไทย กีฬาสากล
  • 13. ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๖ ๑.อธิบายประโยชน์และ  ประโยชน์และหลักการออกกาลัง หลักการออกกาลังกายเพื่อ กายเพื่อสุ ขภาพ สมรรถภาพทางกาย สุ ขภาพ สมรรถภาพทางกาย และการสร้างเสริ มบุคลิกภาพ - และการสร้างเสริ มบุคลิกภาพ ๒.เล่นเกมที่ใช้ทกษะการ ั  การเล่นเกมที่ใช้ทกษะการ ั วางแผน และสามารถเพิ่มพูน วางแผน ทักษะการออกกาลังกายและ  การเพิ่มพูนทักษะการออกกาลัง - เคลื่อนไหวอย่างเป็ นระบบ กายและการเคลื่อนไหวอย่างเป็ น ระบบ ๓.เล่นกีฬาที่ตนเองชื่นชอบและ  การเล่นกีฬาประเภทบุคคลและ สามารถประเมินทักษะการเล่น ประเภททีมที่ชื่นชอบ ของตนเป็ นประจา  การประเมินทักษะการเล่นกีฬา - ของตน ๔.ปฏิบติตามกฎ กติกา ตาม  กฎ กติกาในการเล่นกีฬาไทย ั ชนิดกีฬาที่เล่น โดยคานึงถึง กีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น ความปลอดภัยของตนเองและ - ผูอื่น ้ ๕.จาแนกกลวิธีการรุ ก การ  กลวิธีการรุ ก การป้ องกันในการ ป้ องกัน และนาไปใช้ในการ เล่นกีฬา - เล่นกีฬา
  • 14. สาระที่ ๔ การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค ้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดารงสุ ขภาพ ั การป้ องกันโรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.ปฏิบติตนตามหลักสุ ขบัญญัติ ั  การปฏิบติตนตามหลักสุ ขบัญญัติ ั - แห่งชาติตามคาแนะนา แห่งชาติ ๒.บอกอาการเจ็บป่ วยที่เกิด  ลักษณะอาการเจ็บป่ วยที่เกิดขึ้นกับ ขึ้นกับตนเอง ตนเอง - ปวดศีรษะ - ตัวร้อน - - มีน้ ามูก - ปวดท้อง - ผืนคัน (หนังศีรษะ ผิวหนัง) ่ - ฟกช้ า ฯลฯ ๓.ปฏิบติตนตามคาแนะนาเมื่อ  วิธีปฏิบติตนเมื่อมีอาการเจ็บป่ วยที่ ั ั - มีอาการเจ็บป่ วย เกิดขึ้นกับตนเอง ป.๒ ๑.บอกลักษณะของการมี  ลักษณะของการมีสุขภาพดี สุ ขภาพดี - ร่ างกายแข็งแรง - จิตใจ ร่ าเริ ง แจ่มใส - - มีความสุ ข - มีความปลอดภัย ๒.เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์  อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี - ประโยชน์ ๓.ระบุของใช้และของเล่นที่มี  ของใช้และของเล่นที่มีผลเสี ยต่อ - ผลเสี ยต่อสุ ขภาพ สุ ขภาพ ๔.อธิ บายอาการและวิธีป้องกัน  อาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่ วย การเจ็บป่ วย การบาดเจ็บที่อาจ - ตาแดง ท้องเสี ย ฯลฯ เกิดขึ้น  อาการและวิธีป้องกันการบาดเจ็บ - ถูกของมีคม แมลงสัตว์กดต่อยั หกล้ม ฯลฯ
  • 15. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ๕.ปฏิบติตามคาแนะนาเมื่อมี ั  วิธีปฏิบติตนเมื่อเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ ั - อาการเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ ป.๓ ๑.อธิ บายการติดต่อและวิธีการ  การติดต่อและวิธีการป้ องกันการ ป้ องกันการแพร่ กระจายของ แพร่ กระจายของโรค - โรค ๒.จาแนกอาหารหลัก ๕ หมู่  อาหารหลัก ๕ หมู่ - ๓.เลือกกินอาหารที่หลากหลาย  การเลือกกินอาหารที่เหมาะสม ครบ ๕ หมู่ ในสัดส่ วนที่ - ความหลากหลายของชนิดอาหารใน เหมาะสม แต่ละหมู่ - - สัดส่ วนและปริ มาณของอาหาร (ตามธงโภชนาการ) ๔.แสดงการแปรงฟันให้สะอาด  การแปรงฟั นให้สะอาดอย่างถูกวิธี อย่างถูกวิธี (ครอบคลุมบริ เวณขอบเหงือกและคอ - ฟัน) ๕.สร้างเสริ มสมรรถภาพทาง  การสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย กายได้ตามคาแนะนา เพื่อสุ ขภาพ - วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย - วิธีการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อ - สุ ขภาพ โดยการออกกาลังกาย การ พักผ่อน และกิจกรรมนันทนาการ ป.๔ ๑.อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่าง  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อม * การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อมกับสุ ขภาพ กับสุ ขภาพ ในท้องถิ่น  การจัดสิ่ งแวดล้อมที่ถูก สุ ขลักษณะและเอื้อต่อสุ ขภาพ ๒.อธิบายสภาวะอารมณ์  สภาวะอารมณ์และความรู ้สึก เช่น ความรู ้สึกที่มีผลต่อสุ ขภาพ โกรธ หงุดหงิด เครี ยด เกลียด เสี ยใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว ก้าวร้าว อิจฉา ริ ษยา เบื่อหน่าย - ท้อแท้ ดีใจ ชอบใจ รัก ชื่นชม สนุก สุ ขสบาย  ผลที่มีต่อสุ ขภาพ
  • 16. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ทางบวก : สดชื่น ยิมแย้ม แจ่มใส ้ ร่ าเริ ง ฯลฯ ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง - เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ฯลฯ ๓.วิเคราะห์ขอมูลบนฉลาก ้  การวิเคราะห์ขอมูลบนฉลากอาหาร ้ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อ และผลิตภัณฑ์สุขภาพ - การเลือกบริ โภค ๔.ทดสอบและปรับปรุ ง  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายตามผลการ  การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกาย ตรวจสอบสมรรถภาพทางกาย ตามผลการทดสอบสมรรถภาพ - ทางกาย ป.๕ ๑.แสดงพฤติกรรมที่เห็น  ความสาคัญของการปฏิบติตนตาม ั ความสาคัญของการปฏิบติตนั สุ ขบัญญัติแห่งชาติ - ตามสุ ขบัญญัติแห่งชาติ ๒.ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้  แหล่งและวิธีคนหาข้อมูลข่าวสาร ้ สร้างเสริ มสุ ขภาพ ทางสุ ขภาพ  การใช้ขอมูลข่าวสารในการสร้าง ้ - เสริ มสุ ขภาพ ๓.วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการ  การตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหารและ ตัดสิ นใจเลือกซื้ ออาหาร และ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล เครื่ องสาอาง ผลิตภัณฑ์ดูแลสุ ขภาพ - ในช่องปาก ฯลฯ) ๔.ปฏิบติตนในการป้ องกันโรค การปฏิบติตนในการป้ องกันโรคที่ ั ั ที่พบบ่อยในชีวตประจาวัน ิ พบบ่อยในชีวตประจาวัน ิ - ไข้หวัด - ไข้เลือดออก - - โรคผิวหนัง - ฟันผุและโรคปริ ทนต์ ั ฯลฯ
  • 17. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ๕.ทดสอบและปรับปรุ ง  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย - สมรรถภาพทางกายตามผลการ  การปรับปรุ งสมรรถภาพทางกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตามผลการทดสอบสมรรถภาพ - ทางกาย ป.๖ ๑.แสดงพฤติกรรมในการ  ความสาคัญของสิ่ งแวดล้อมที่มีผล * ความสัมพันธ์ระหว่างการ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา ต่อสุ ขภาพ ดารงชีวตของสิ่ งมีชีวิตกับ ิ สิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ สิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น  ปั ญหาของสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อ สุ ขภาพ  การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา สิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อสุ ขภาพ ๒.วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิด  โรคติดต่อสาคัญที่ระบาดใน จากการระบาดของโรคและ ปัจจุบนั เสนอแนวทางการป้ องกัน  ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของ - โรคติดต่อสาคัญที่พบใน โรค ประเทศไทย  การป้ องกันการระบาดของโรค ๓.แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึง  พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความ ความรับผิดชอบต่อสุ ขภาพของ รับผิดชอบต่อสุ ขภาพของส่ วนรวม - ส่ วนรวม ๔.สร้างเสริ มและปรับปรุ ง  วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ  การสร้างเสริ มและปรับปรุ ง อย่างต่อเนื่ อง สมรรถภาพทางกายตามผลการ - ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  • 18. สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวต ิ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ยา ั สารเสพติด และความรุ นแรง ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น ป.๑ ๑.ระบุสิ่งที่ทาให้เกิดอันตราย  สิ่ งที่ทาให้เกิดอันตรายภายในบ้านและ ที่บาน โรงเรี ยน และการ ้ โรงเรี ยน - ป้ องกัน  การป้ องกันอันตรายภายในบ้านและ โรงเรี ยน ๒.บอกสาเหตุและการป้ องกัน  อันตรายจากการเล่น อันตรายที่เกิดจากการเล่น - สาเหตุที่ทาให้เกิดอันตรายจากการเล่น - การป้ องกันอันตรายจากการเล่น - ๓.แสดงคาพูดหรื อท่าทางขอ  การขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุร้ายที่ ความช่วยเหลือจากผูอื่นเมื่อเกิด บ้านและโรงเรี ยน ้ เหตุร้ายที่บานและโรงเรี ยน ้ - บุคคลที่ควรขอความช่วยเหลือ - - คาพูดและท่าทางการขอความช่วยเหลือ ป.๒ ๑.ปฏิบติตนในการป้ องกัน ั  อุบติเหตุทางน้ า และทางบก ั อุบติเหตุที่อาจเกิดขึ้นทางน้ า ั - สาเหตุของอุบติเหตุทางน้ าและทางบก ั และทางบก - วิธีการป้ องกันอุบติเหตุทางน้ าและทางบก ั - ๒.บอกชื่อยาสามัญประจาบ้าน  ยาสามัญประจาบ้าน และใช้ยาตามคาแนะนา - ชื่อยาสามัญประจาบ้าน - การใช้ยาตามความจาเป็ นและลักษณะ - อาการ ๓.ระบุโทษของสารเสพติด  สารเสพติดและสารอันตรายใกล้ตว ั สารอันตรายใกล้ตวและวิธีการ - โทษของสารเสพติด และสารอันตรายใกล้ ั ป้ องกัน ตัว - - วิธีป้องกัน ๔.ปฏิบติตนตามสัญลักษณ์และ  สัญลักษณ์และป้ ายเตือนของสิ่ งของหรื อ ั ป้ ายเตือนของสิ่ งของหรื อ สถานที่ที่เป็ นอันตราย
  • 19. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น สถานที่ที่เป็ นอันตราย - ความหมายของสัญลักษณ์และป้ ายเตือน - ๕.อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธี  อัคคีภยั ป้ องกันอัคคีภยและแสดงการ ั - สาเหตุของการเกิดอัคคีภย ั หนีไฟ - อันตรายซึ่ งได้รับจากการเกิดอัคคีภย ั - - การป้ องกันอัคคีภย และการหนี ไฟ ั ป.๓ ๑.ปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัย  วิธีปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจาก ั ั จากอุบติเหตุในบ้าน โรงเรี ยน อุบติเหตุในบ้าน โรงเรี ยนและการเดินทาง ั ั - และการเดินทาง ๒.แสดงวิธีขอความช่วยเหลือ  การขอความช่วยเหลือจากบุคคลและ จากบุคคลและแหล่งต่าง ๆ เมื่อ แหล่งต่างๆ เมื่อเกิดเหตุร้ายหรื ออุบติเหตุ ั - เกิดเหตุร้าย หรื ออุบติเหตุ ั ๓.แสดงวิธีปฐมพยาบาล เมื่อ  การบาดเจ็บจากการเล่น บาดเจ็บจากการเล่น - ลักษณะของการบาดเจ็บ - วิธีปฐมพยาบาล (บาดเจ็บ ห้ามเลือด ฯลฯ) - ป.๔ ๑.อธิบายความสาคัญของการ  ความสาคัญของการใช้ยา - ใช้ยาและใช้ยาอย่างถูกวิธี  หลักการใช้ยา ๒.แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อ  วิธีปฐมพยาบาล ได้รับอันตรายจากการใช้ยาผิด - การใช้ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กดต่อยั - สารเคมี - และการบาดเจ็บจากการเล่น ั - แมลงสัตว์กดต่อย กีฬา - การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ๓.วิเคราะห์ผลเสี ยของการสู บ  ผลเสี ยของการสู บบุหรี่ การดื่มสุ รา และ บุหรี่ และการดื่มสุ รา ที่มีต่อ การป้ องกัน สุ ขภาพและการป้ องกัน - ป.๕ ๑.วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิ พลต่อ  ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้สารเสพติด การใช้สารเสพติด (สุ รา บุหรี่ ยาบ้า สารระเหย ฯลฯ) - ครอบครัว สังคม เพื่อน - ค่านิยม ความเชื่ อ -
  • 20. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิ่น - ปัญหาสุ ขภาพ - สื่ อ ฯลฯ ๒.วิเคราะห์ผลกระทบของการ  ผลกระทบของการใช้ยา และสารเสพติด ใช้ยา และสารเสพติด ที่มีผล ที่มีต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ ต่อร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา - สังคม และสติปัญญา ๓.ปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัย  การปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจาก ั ั จากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสาร การใช้ยา เสพติด  การหลีกเลี่ยงสารเสพติด - ๔.วิเคราะห์อิทธิพลของสื่ อที่มี  อิทธิ พลของสื่ อที่มีต่อพฤติกรรม - ต่อพฤติกรรมสุ ขภาพ สุ ขภาพ (อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๕.ปฏิบติตนเพื่อป้ องกัน ั  การปฏิบติเพื่อป้ องกันอันตรายจากการ ั - อันตรายจากการเล่นกีฬา เล่นกีฬา ป.๖ ๑.วิเคราะห์ผลกระทบจากความ  ภัยธรรมชาติ รุ นแรงของภัยธรรมชาติที่มีต่อ - ลักษณะของภัยธรรมชาติ ร่ างกาย จิตใจ และสังคม - ผลกระทบจากความรุ นแรงของภัย - ธรรมชาติที่มีต่อร่ างกาย จิตใจ และสังคม ๒.ระบุวธีปฏิบติตน เพื่อความ  การปฏิบติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัย ิ ั ั - ปลอดภัยจากธรรมชาติ ธรรมชาติ ๓.วิเคราะห์สาเหตุของการติดสาร  สาเหตุของการติดสารเสพติด เสพติด และชักชวนให้ผอื่น ู้  ทักษะการสื่ อสารให้ผอื่นหลีกเลี่ยง ู้ หลีกเลี่ยงสารเสพติด สารเสพติด -