SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 5
                          สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
        การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะ
การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผู้วิจัยได้นาผลการวิจัยในบทที่ 4 มาสรุป
และอภิปรายผลเฉพาะสาระสาคัญดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 สรุปผลการวิจัย
        การวิจัยนี้เป็นการวิจัยโดยวิธีสอนให้นักเรียนเขียนและอ่าน โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการ
อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2
ดังนี้

   วัตถุประสงค์ของการวิจัย
       1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้น
          มัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดยใช้แบบฝึกเสริม
          ทักษะ
       2. เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
          Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2
       3. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค
          Past Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80
       4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่
          ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense

    คาถามการวิจัย
      1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 การเขียนและการอ่านข้อความ
         ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ก่อน
         และหลังการสอนต่างกันอย่างไร
      2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย
      3. ประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 หลังการสอนเป็น
         อย่างไร สัมฤทธิ์ผลระดับไหน
      4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
         Simple Tense เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 หรือไม่
      5. นักเรียนมีความพึงพอใจหรือความคิดเห็นอย่างไรต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
         ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
36
  สมมุติฐานการวิจัย
      นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense จะมีผลสัมฤทธิ์ในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense หลังเรียนดีขึ้นกว่าก่อนเรียน

    ขอบเขตการวิจัย
     1. ประชากร
         กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกาลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 จานวนนักเรียน
ทั้งหมด 328 คน

   2. กลุ่มตัวอย่าง
         กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกาลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 จานวน 44 คน
ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
   3. เวลาที่ใช้ในการสอน
       ใช้เวลาในการสอน 1 เดือน ทั้งหมด 15 คาบ ๆ ละ 50 นาที เริ่มวันจันทร์ ที่ 8
พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ถึงวันพุธ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554

   4. เนื้อหาที่ใช้ในการสอน
        เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่เรื่อง Past Simple Tense ที่นามาจากใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก
ทักษะ และสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง The past simple tense ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง และ
จากหนังสือเรียนไวยากรณ์ (Grammar) ต่าง ๆ และจากการศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต โดยพิจารณา
ถึงความยากง่ายของคาศัพท์และรูปประโยคที่เหมาะสมกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่      3      ตาม
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2552 โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญและได้รับการ
ปรับปรุงแก้ไขแล้ว

   5. ตัวแปรที่จะศึกษา
          5.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ
              ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense และสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง
              The past simple tense
          5.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่
              5.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่
                     ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
              5.2.2 ความสามารถในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
                     Simple Tense
37
    เครื่องมือในการวิจัย
     เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด คือ
           1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 โดยใช้แบบฝึกทักษะการ
เขียนและการอ่านประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น
จานวน 1 แผน 15 คาบ
           2. แบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 12 ชุด
           3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่าน ก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre – test และ
Post – test) จานวน 2 ชุด ๆละ 10 ข้อ
           4. สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI จานวน 1 เรื่อง คือเรื่อง The Past Simple Tense

   การเก็บรวบรวมข้อมูล
       การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 การเก็บข้อมูลแต่ละครั้งใช้
เวลา 1 คาบ คาบละ 50 นาที ทั้งหมด 1 เดือน เป็นเวลาทั้งสิ้นรวม 15 คาบ เริ่มทาการเก็บ
รวบรวมข้อมูลในวันจันทร์ ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ถึงวันพุธ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554

        ขั้นตอนในการวิจัย
        1) ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จานวน 44 คน
โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียน และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense ก่อนเรียน (Pre – test) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
        2) ดาเนินการสอนเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ตาม
ขั้นตอนในแผนการจัดการเรียนรู้ตามลาดับ ใช้เวลาในการสอน 15 คาบ คาบละ 50 นาที
        3) ให้นักเรียนศึกษาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง past simple tense ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น
เพื่อประกอบการสอน
        4) ทาการทดสอบหลังเรียน (Post – test) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จานวน 44
คน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple
Tense หลังเรียน (Post – test) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
        5) ตรวจผลการทดสอบแล้วนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐาน

       การวิเคราะห์ข้อมูล
       1. เปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูป
          ของร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)
       2. หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และอ่านตามเกณฑ์ 80/80 ด้วยสูตร E1 /E2
       3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
38
       สรุปผลการวิจัย

        ตอนที่ 1
        ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
หลังการสอน ได้คะแนนสอบมากกว่าคะแนนสอบก่อนสอน ซึ่งมีค่าค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.16
คิดเป็นร้อยละ 41.60 แต่หลังการสอนนักเรียนมีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8.18 คิดเป็นร้อยละ
81.82 แสดงว่านักเรียนมีการพัฒนาขึ้นจึงทาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นด้วย และนักเรียนก็มี
ระดับคะแนนสอบหลังการสอนเพิ่มขึ้นทุกคน      แสดงว่านักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการเรียนการ
เขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เพิ่มขึ้นทุกคน

        ตอนที่ 2
        ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โดยนักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ในการ
เรียนหลังการสอนเพิ่มขึ้น โดยดูได้จากค่าคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนจะอยู่ในระดับ 70 –
100 % ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับค่อนข้างเก่ง – เก่งมาก และมีค่าเฉลี่ยในระดับ 90 - 100% อยู่ในระดับ
คุณภาพเก่งมาก เป็นส่วนใหญ่ และในระดับ 70 - 79% อยู่ในระดับคุณภาพค่อนข้างเก่ง เป็นส่วน
น้อย แสดงว่านักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย
ประโยค Past Simple Tense หลังเรียนเพิ่มขึ้น

      ตอนที่ 3
      ผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense ทั้ง 12 ชุด เมื่อทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ค่า 88.59 / 81.82 ซึ่งสูงกว่า
เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 จึงกล่าวได้ว่า แบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย
ประโยค Past Simple Tense เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ เหมาะที่จะนาไปใช้สอนได้

        ตอนที่ 4
        ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เมื่อเปรียบเทียบเป็นร้อยละ (เปอร์เซ็นต์) ได้ค่าเท่ากับ 89.5
ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับ มาก ถึง มากที่สุด
        และผลการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้แก่ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจและรู้เรื่องประโยค Past
Simple Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เอง และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค
Past Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น และการทาแบบฝึกหัดมาก ๆ จะช่วยเป็นเหมือนการทบทวนย้า
เตือนให้นักเรียนสามารถเข้าใจ จาได้และสามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง โดยที่นักเรียนต้องการให้ครูมี
การทบทวนเรื่องประโยค Past Simple Tense บ่อย ๆ หรือให้ทาแบบฝึกหัดให้มาก ๆ เพราะนักเรียน
บางคนยังลืมหลักการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 1 เป็นกริยาช่องที่ 2 หรือการเติม ed ที่คากริยาไปบ้าง จึงต้อง
มีการทบทวนและให้ใช้บ่อย ๆ
39
ส่วนที่ 2 การอภิปรายผล
          จากผลการวิจัย การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึก
ทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สามารถนาสู่การอภิปรายได้ดังนี้
          จากผลการวิจัย การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึก
ทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผลปรากฏว่า หลังการสอน นักเรียนมีคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนสอน ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ โดยก่อนสอนนักเรียนมีค่า
ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.16 คิดเป็นร้อยละ 41.60 แต่หลังการสอนนักเรียนมีค่าเฉลี่ย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8.18 คิดเป็นร้อยละ 81.82 ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ผู้วิจยจัดให้ผู้เรียนมีความหลากหลาย สอดคล้องกับแนวความคิดของ เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23)
      ั
ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนเกิด
ความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด” และสอดคล้องกับแนวความคิด
ของ วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็น
เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรง ที่ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่
แน่นอน ทาให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดีและนาไปใช้
ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้
          และสิ่งที่สาคัญที่สุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้ คือ แบบฝึกทักษะการเขียน และการ
อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นที่มีประสิทธิภาพ 88.59 /
81.82 ถือว่ามีประสิทธิภาพเหมาะที่จะนาไปใช้สอนได้ ประกอบด้วยเนื้อหาเป็นเรื่องที่เรียงจากง่ายไปหา
ยาก ผู้เรียนสามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมและแบบฝึกทักษะด้วยตนเอง สามารถแสดงความสามารถ
ในการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้ด้วยความเข้าใจ
สอดคล้องกับแนวความคิดของ ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (2524 : 20) ซึงกล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า
                                                                       ่
“ลักษณะของแบบฝึกควรสั้นและมีหลายแบบเพื่อฝึกทักษะเดียว ใช้ได้ตามสภาพความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและมีการประเมินผลการใช้แบบฝึกของนักเรียนด้วย”                และ ประชุมพร สุวรรณตรา (2527 :
61) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า “มีคาสั่งและคาอธิบายอย่างชัดเจน มีตัวอย่างที่ให้ความคิดหลาย
แนวมีภาพประกอบ และเส้นบรรทัดที่เว้นให้เติมมีขนาดพอเหมาะการฝึกฝนควรมีหลาย ๆ แบบ และ
ต้องคานึงถึงความยากง่าย และระยะเวลาในการฝึกด้วย”
          ในการทาแบบฝึกแต่ละชุดนี้ ผู้วิจัยให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติไปทีละชุดพร้อมกับเฉลย และเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ซักถาม วิพากษ์ วิจารณ์ งานตนเอง และของเพื่อน ๆ ซึ่งเป็นการ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้กล้าแสดงออกทางความคิด อันจะเป็นการเชื่อมโยงไปสู่งานเขียนของผู้เรียนเอง อันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการเขียนและการอ่านในวิชาภาษาอังกฤษต่อไป สอดคล้องกับแนวความคิดของ รัชนี ศรี
ไพรวรรณ (2527 : 18) กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกว่า… แบบฝึกต้องมีรูปแบบที่จูงใจ และ
เป็นไปตามลาดับความยากง่ายเพื่อให้เด็กมีกาลังใจทา มีจุดมุ่งหมายว่าจะฝึกด้านใดเพื่อให้เด็กเข้าใจ
แบบฝึกต้องมีการถูกต้อง ในการให้เด็กทาแบบฝึกทุกครั้งต้องให้เหมาะสมกับเวลา เหมาะกับความ
สนใจ ควรทาแบบฝึกหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้เด็กเรียนได้กว้างขวาง และส่งเสริมให้เกิดความคิด
นอกจากนั้นกระดาษที่ให้เด็กทาแบบฝึกต้องเหนียวและทนทานพอสมควร…
          และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ กันต์ดนัย วรจิตติพล (2542) ศึกษาการสร้างและการหา
ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฎนครปฐม จังหวัดนครปฐม จานวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบ
ฝึกทักษะการเขียน แบบทดสอบและแบบสอบถามความคิดเห็นพบว่าประสิทธิภาพของแบบฝึกดี มีค่าเท่ากับ
84.31/83.01 และความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังจากการทาแบบฝึกทักษะการ
เขียนสูงกว่าก่อนการทาแบบฝึกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
40
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
         ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้
         1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการวิจัย
         จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า นักเรียนที่ได้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่
ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ส่วนใหญ่เข้าใจโครงสร้างประโยคที่เป็น Past Simple
Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เองและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past
Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น เข้าใจกฏการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 2 ทั้งกริยาทั่วไปและกริยาเฉพาะ ซึ่ง
นักเรียนสามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง แต่ยังมีนักเรียนบางคน ยังไม่เข้าใจกฏการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 2
หรือ เมื่อเป็น Past Simple Tense ต้องเติม ed หรือ d หรือเปลี่ยนรูปที่ไม่เป็นไปตามกฏการเติม ed
หรือ d คากริยาช่องที่ 1 (Present Simple Tense) ไปบ้าง จึงต้องมีการทบทวนเนื้อหาของบทเรียน และ
ฝึกให้นักเรียนใช้บ่อย ๆ หรือให้ทาแบบฝึกหัดให้มาก ๆ

         2. ข้อเสนอแนะที่จะทาวิจัยในครั้งต่อไป
         1. ควรมีการนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไปใช้กับกลุ่มทดลองก่อน เพื่อเป็นการหาประสิทธิภาพ
ของข้อสอบก่อน
         2. ควรมีการปรับปรุงหรือพัฒนาแบบฝึกทักษะให้เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่องที่จะนาไปใช้ในการ
สอน
         3. ควรทาวิจัยเรื่องนี้กับกลุ่มตัวอย่าง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อจะได้ทราบว่าเมื่อ
ระดับชั้นที่เปลี่ยนแปลงไป จะยังคงได้ผลเหมือนกับการทาวิจัยกับระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือไม่

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553ครู กรุณา
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยrussana
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน7roommate
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

What's hot (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 

Similar to บทที่ 5

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Krudoremon
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKrudoremon
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการphonon701
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 

Similar to บทที่ 5 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
PPP Model
PPP ModelPPP Model
PPP Model
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
ประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Caiประเภทของบทเรียน Cai
ประเภทของบทเรียน Cai
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 

More from Krudoremon

ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555
ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555
ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555Krudoremon
 
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3Krudoremon
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญKrudoremon
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานKrudoremon
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมKrudoremon
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Krudoremon
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 
สารบัญตาราง
สารบัญตารางสารบัญตาราง
สารบัญตารางKrudoremon
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8Krudoremon
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554Krudoremon
 
Krudoremon @ sa school
Krudoremon @ sa schoolKrudoremon @ sa school
Krudoremon @ sa schoolKrudoremon
 
ชำนาญการ
ชำนาญการชำนาญการ
ชำนาญการKrudoremon
 

More from Krudoremon (13)

ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555
ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555
ผลสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1/2555
 
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3
ประกาศผลสอบกลางภาค ม.3
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สารบัญตาราง
สารบัญตารางสารบัญตาราง
สารบัญตาราง
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3 5-3-8
 
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554
เฉลยข้อสอบกลางภาคที่ 1 ม.3/1-3/4 พ.ศ.2554
 
Krudoremon @ sa school
Krudoremon @ sa schoolKrudoremon @ sa school
Krudoremon @ sa school
 
ชำนาญการ
ชำนาญการชำนาญการ
ชำนาญการ
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผู้วิจัยได้นาผลการวิจัยในบทที่ 4 มาสรุป และอภิปรายผลเฉพาะสาระสาคัญดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 สรุปผลการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยโดยวิธีสอนให้นักเรียนเขียนและอ่าน โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการ อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Past Simple Tense โดยใช้แบบฝึกเสริม ทักษะ 2. เพื่อสร้างแบบฝึกพัฒนาทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 3. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่จัดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense คาถามการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 การเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ก่อน และหลังการสอนต่างกันอย่างไร 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 5 การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย 3. ประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 หลังการสอนเป็น อย่างไร สัมฤทธิ์ผลระดับไหน 4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 หรือไม่ 5. นักเรียนมีความพึงพอใจหรือความคิดเห็นอย่างไรต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน ข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
  • 2. 36 สมมุติฐานการวิจัย นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense จะมีผลสัมฤทธิ์ในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense หลังเรียนดีขึ้นกว่าก่อนเรียน ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร กลุ่มประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกาลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 จานวนนักเรียน ทั้งหมด 328 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ซึ่งกาลังเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 จานวน 44 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. เวลาที่ใช้ในการสอน ใช้เวลาในการสอน 1 เดือน ทั้งหมด 15 คาบ ๆ ละ 50 นาที เริ่มวันจันทร์ ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ถึงวันพุธ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554 4. เนื้อหาที่ใช้ในการสอน เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่เรื่อง Past Simple Tense ที่นามาจากใบความรู้ ใบงาน แบบฝึก ทักษะ และสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง The past simple tense ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง และ จากหนังสือเรียนไวยากรณ์ (Grammar) ต่าง ๆ และจากการศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต โดยพิจารณา ถึงความยากง่ายของคาศัพท์และรูปประโยคที่เหมาะสมกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตาม หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2552 โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญและได้รับการ ปรับปรุงแก้ไขแล้ว 5. ตัวแปรที่จะศึกษา 5.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense และสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง The past simple tense 5.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ 5.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense 5.2.2 ความสามารถในการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense
  • 3. 37 เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด คือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ33101 โดยใช้แบบฝึกทักษะการ เขียนและการอ่านประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น จานวน 1 แผน 15 คาบ 2. แบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 12 ชุด 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่าน ก่อนเรียนและหลังเรียน (Pre – test และ Post – test) จานวน 2 ชุด ๆละ 10 ข้อ 4. สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือ CAI จานวน 1 เรื่อง คือเรื่อง The Past Simple Tense การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 การเก็บข้อมูลแต่ละครั้งใช้ เวลา 1 คาบ คาบละ 50 นาที ทั้งหมด 1 เดือน เป็นเวลาทั้งสิ้นรวม 15 คาบ เริ่มทาการเก็บ รวบรวมข้อมูลในวันจันทร์ ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ถึงวันพุธ ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554 ขั้นตอนในการวิจัย 1) ทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre – test) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จานวน 44 คน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียน และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ก่อนเรียน (Pre – test) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 2) ดาเนินการสอนเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ตาม ขั้นตอนในแผนการจัดการเรียนรู้ตามลาดับ ใช้เวลาในการสอน 15 คาบ คาบละ 50 นาที 3) ให้นักเรียนศึกษาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่อง past simple tense ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อประกอบการสอน 4) ทาการทดสอบหลังเรียน (Post – test) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จานวน 44 คน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense หลังเรียน (Post – test) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 5) ตรวจผลการทดสอบแล้วนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะห์ข้อมูล 1. เปรียบเทียบผลการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูป ของร้อยละ (เปอร์เซ็นต์) 2. หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียน และอ่านตามเกณฑ์ 80/80 ด้วยสูตร E1 /E2 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
  • 4. 38 สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังการสอน ได้คะแนนสอบมากกว่าคะแนนสอบก่อนสอน ซึ่งมีค่าค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.16 คิดเป็นร้อยละ 41.60 แต่หลังการสอนนักเรียนมีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8.18 คิดเป็นร้อยละ 81.82 แสดงว่านักเรียนมีการพัฒนาขึ้นจึงทาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นด้วย และนักเรียนก็มี ระดับคะแนนสอบหลังการสอนเพิ่มขึ้นทุกคน แสดงว่านักเรียนมีความรู้และความเข้าใจในการเรียนการ เขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เพิ่มขึ้นทุกคน ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โดยนักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ในการ เรียนหลังการสอนเพิ่มขึ้น โดยดูได้จากค่าคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนจะอยู่ในระดับ 70 – 100 % ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับค่อนข้างเก่ง – เก่งมาก และมีค่าเฉลี่ยในระดับ 90 - 100% อยู่ในระดับ คุณภาพเก่งมาก เป็นส่วนใหญ่ และในระดับ 70 - 79% อยู่ในระดับคุณภาพค่อนข้างเก่ง เป็นส่วน น้อย แสดงว่านักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย ประโยค Past Simple Tense หลังเรียนเพิ่มขึ้น ตอนที่ 3 ผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความ ที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ทั้ง 12 ชุด เมื่อทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้ค่า 88.59 / 81.82 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 จึงกล่าวได้ว่า แบบฝึกทักษะการเขียน และการอ่านข้อความที่ประกอบด้วย ประโยค Past Simple Tense เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ เหมาะที่จะนาไปใช้สอนได้ ตอนที่ 4 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense เมื่อเปรียบเทียบเป็นร้อยละ (เปอร์เซ็นต์) ได้ค่าเท่ากับ 89.5 ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจในระดับ มาก ถึง มากที่สุด และผลการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้แก่ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจและรู้เรื่องประโยค Past Simple Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เอง และอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น และการทาแบบฝึกหัดมาก ๆ จะช่วยเป็นเหมือนการทบทวนย้า เตือนให้นักเรียนสามารถเข้าใจ จาได้และสามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง โดยที่นักเรียนต้องการให้ครูมี การทบทวนเรื่องประโยค Past Simple Tense บ่อย ๆ หรือให้ทาแบบฝึกหัดให้มาก ๆ เพราะนักเรียน บางคนยังลืมหลักการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 1 เป็นกริยาช่องที่ 2 หรือการเติม ed ที่คากริยาไปบ้าง จึงต้อง มีการทบทวนและให้ใช้บ่อย ๆ
  • 5. 39 ส่วนที่ 2 การอภิปรายผล จากผลการวิจัย การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน สามารถนาสู่การอภิปรายได้ดังนี้ จากผลการวิจัย การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผลปรากฏว่า หลังการสอน นักเรียนมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนสอน ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ โดยก่อนสอนนักเรียนมีค่า ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.16 คิดเป็นร้อยละ 41.60 แต่หลังการสอนนักเรียนมีค่าเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8.18 คิดเป็นร้อยละ 81.82 ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ผู้วิจยจัดให้ผู้เรียนมีความหลากหลาย สอดคล้องกับแนวความคิดของ เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524 : 23) ั ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนเกิด ความสนใจ และช่วยให้ครูทราบผลการเรียนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด” และสอดคล้องกับแนวความคิด ของ วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็น เครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรง ที่ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายที่ แน่นอน ทาให้นักเรียนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน สามารถเรียนรู้ และจดจาสิ่งที่เรียนได้ดีและนาไปใช้ ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้ และสิ่งที่สาคัญที่สุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้ คือ แบบฝึกทักษะการเขียน และการ อ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นที่มีประสิทธิภาพ 88.59 / 81.82 ถือว่ามีประสิทธิภาพเหมาะที่จะนาไปใช้สอนได้ ประกอบด้วยเนื้อหาเป็นเรื่องที่เรียงจากง่ายไปหา ยาก ผู้เรียนสามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมและแบบฝึกทักษะด้วยตนเอง สามารถแสดงความสามารถ ในการเขียนและการอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้ด้วยความเข้าใจ สอดคล้องกับแนวความคิดของ ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (2524 : 20) ซึงกล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า ่ “ลักษณะของแบบฝึกควรสั้นและมีหลายแบบเพื่อฝึกทักษะเดียว ใช้ได้ตามสภาพความแตกต่างระหว่าง บุคคลและมีการประเมินผลการใช้แบบฝึกของนักเรียนด้วย” และ ประชุมพร สุวรรณตรา (2527 : 61) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกที่ดีว่า “มีคาสั่งและคาอธิบายอย่างชัดเจน มีตัวอย่างที่ให้ความคิดหลาย แนวมีภาพประกอบ และเส้นบรรทัดที่เว้นให้เติมมีขนาดพอเหมาะการฝึกฝนควรมีหลาย ๆ แบบ และ ต้องคานึงถึงความยากง่าย และระยะเวลาในการฝึกด้วย” ในการทาแบบฝึกแต่ละชุดนี้ ผู้วิจัยให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติไปทีละชุดพร้อมกับเฉลย และเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ซักถาม วิพากษ์ วิจารณ์ งานตนเอง และของเพื่อน ๆ ซึ่งเป็นการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้กล้าแสดงออกทางความคิด อันจะเป็นการเชื่อมโยงไปสู่งานเขียนของผู้เรียนเอง อันจะ เป็นประโยชน์ต่อการเขียนและการอ่านในวิชาภาษาอังกฤษต่อไป สอดคล้องกับแนวความคิดของ รัชนี ศรี ไพรวรรณ (2527 : 18) กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกว่า… แบบฝึกต้องมีรูปแบบที่จูงใจ และ เป็นไปตามลาดับความยากง่ายเพื่อให้เด็กมีกาลังใจทา มีจุดมุ่งหมายว่าจะฝึกด้านใดเพื่อให้เด็กเข้าใจ แบบฝึกต้องมีการถูกต้อง ในการให้เด็กทาแบบฝึกทุกครั้งต้องให้เหมาะสมกับเวลา เหมาะกับความ สนใจ ควรทาแบบฝึกหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้เด็กเรียนได้กว้างขวาง และส่งเสริมให้เกิดความคิด นอกจากนั้นกระดาษที่ให้เด็กทาแบบฝึกต้องเหนียวและทนทานพอสมควร… และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ กันต์ดนัย วรจิตติพล (2542) ศึกษาการสร้างและการหา ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตสถาบันราชภัฎนครปฐม จังหวัดนครปฐม จานวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบ ฝึกทักษะการเขียน แบบทดสอบและแบบสอบถามความคิดเห็นพบว่าประสิทธิภาพของแบบฝึกดี มีค่าเท่ากับ 84.31/83.01 และความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังจากการทาแบบฝึกทักษะการ เขียนสูงกว่าก่อนการทาแบบฝึกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
  • 6. 40 ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการวิจัย จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า นักเรียนที่ได้เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านข้อความที่ ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ส่วนใหญ่เข้าใจโครงสร้างประโยคที่เป็น Past Simple Tense มากยิ่งขึ้น สามารถเขียนแต่งประโยคได้เองและอ่านข้อความที่ประกอบด้วยประโยค Past Simple Tense ได้เข้าใจมากขึ้น เข้าใจกฏการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 2 ทั้งกริยาทั่วไปและกริยาเฉพาะ ซึ่ง นักเรียนสามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง แต่ยังมีนักเรียนบางคน ยังไม่เข้าใจกฏการเปลี่ยนกริยาช่องที่ 2 หรือ เมื่อเป็น Past Simple Tense ต้องเติม ed หรือ d หรือเปลี่ยนรูปที่ไม่เป็นไปตามกฏการเติม ed หรือ d คากริยาช่องที่ 1 (Present Simple Tense) ไปบ้าง จึงต้องมีการทบทวนเนื้อหาของบทเรียน และ ฝึกให้นักเรียนใช้บ่อย ๆ หรือให้ทาแบบฝึกหัดให้มาก ๆ 2. ข้อเสนอแนะที่จะทาวิจัยในครั้งต่อไป 1. ควรมีการนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไปใช้กับกลุ่มทดลองก่อน เพื่อเป็นการหาประสิทธิภาพ ของข้อสอบก่อน 2. ควรมีการปรับปรุงหรือพัฒนาแบบฝึกทักษะให้เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละเรื่องที่จะนาไปใช้ในการ สอน 3. ควรทาวิจัยเรื่องนี้กับกลุ่มตัวอย่าง ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อจะได้ทราบว่าเมื่อ ระดับชั้นที่เปลี่ยนแปลงไป จะยังคงได้ผลเหมือนกับการทาวิจัยกับระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือไม่