SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 7
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ภาษา Fortran
          จัดทาโดย
  นางสาว กรกช      แก้ววิเชียร

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5   เลขที่ 8

              เสนอ

      คุณครู สมร ตาระพัน
ภาษาฟอร์แทรน (Fortran)

        ภาษาฟอร์แทรน หรือ FORTRAN เป็นชื่อที่ย่อมาจาก                FOR
mular TRAN slation ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อกลางทศวรรษที่ 1950 ด้วยฝีมือ
ของพนักงานบริษัทไอบีเอ็ม นับเป็นภาษาชั้นสูงภาษาแรกที่ได้มีการใช้แพร่หลาย จึง
ได้มบัญญัติ ภาษาฟอร์แทรนฉบับมาตรฐานขึ้นในเวลาต่อมาโดย ANSI
    ี
(American National Standard Institute)

       ฟอร์แทรนถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
และคณิตศาสตร์ อันเป็นงานที่มักใช้งานประมวลที่ซับซ้อน
ชุดคาสั่งภาษาฟอร์แทรน

          เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับการใช้งานทางด้าน
การคานวณ ตัวแปลชุดคาสั่งจะทาหน้าที่อ่านชุดคาสั่งที่เป็น
ภาษาฟอร์แทรน ที่เราเขียนขึ้น และแปลเป็นภาษาเครื่องที่
ชุดคาสั่งควบคุมสามารถรับได้ คาสั่งในภาษาฟอร์แทรนแต่ละ
คาสั่งเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า statement ซึ่งแบ่งเป็นดังนี้
คาสั่งรับส่งข้อมูล (input-output statement)
ได้แก่ READ, WRITE หรือ PRINT, FORMAT
             คาสั่งคานวณ (arithmetic statement) ได้แก่
                   คาสั่งที่เป็นการคานวณ โดยทางซ้ายมือเป็นตัวแปร ทาง
ขวามือเป็นการคานวณ เช่น X = A + B + 5
                   คาสั่งตรรกะ (logical statement) เป็นคาสั่ง
ประเภทควบคุม ได้แก่ คาสั่งที่ใช้ในการทดสอบ ค่าเช่น IF (A.EQ.B) GO TO
15 หรือ GO TO (1, 2, 3,4, 5) และ I เป็นต้น
ฟอร์แทรนเป็นภาษาระดับสูงที่ใช้เขียนคาสั่งงานเพื่อควบคุมการ
ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่อง
เมนเฟรม (Mainframe Computer) เป็นภาษาที่ใช้
แก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ ภาษา FORTRAN จึงเหมาะสาหรับเขียน
โปรแกรมเกี่ยวกับสูตร สมการ หรือฟังก์ชันทางวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์
ตัวอย่างของภาษา FORTRAN บางส่วน มีดังนี้
READ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN
         PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X
ELSE
         PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’

ความหมายของคาสั่งงาน
READ X หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X
IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่
อ่านค่า เข้ามาว่าอยู่ระหว่าง 0-100 หรือไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสั่งหลัง THEN ถ้า
ไม่ใช่ให้ทาคาสั่งหลัง ELSE
จบการนาเสนอ
 ขอขอบคุณค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์Nattawat Cjd
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์Chitanan Seehanon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Monberry NooNan
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Panupong Ampho
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 
การทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาคการทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาคsawitta
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภpiraya suklap
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 

Was ist angesagt? (15)

49 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-749 ปัณณพร 3-7
49 ปัณณพร 3-7
 
ภาษาคอม
ภาษาคอมภาษาคอม
ภาษาคอม
 
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
สอบกลางภาค วิชาคอมพิเตอร์
 
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
งานนำเสนอ น.ส.จินตนา ศรีหานนท์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
การทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาคการทดสอบกลางภาค
การทดสอบกลางภาค
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 4
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 

Mehr von Korakot Kaevwichian

กรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรกรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรKorakot Kaevwichian
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8Korakot Kaevwichian
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 

Mehr von Korakot Kaevwichian (7)

กรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียรกรกช แก้ววิเชียร
กรกช แก้ววิเชียร
 
น.ส.ศุภิส..
น.ส.ศุภิส..น.ส.ศุภิส..
น.ส.ศุภิส..
 
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8
 
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
ใบงาน 3.1 ชื่อน.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 

กรกช แก้ววิเชียร เลขที่8

  • 1. ภาษา Fortran จัดทาโดย นางสาว กรกช แก้ววิเชียร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 8 เสนอ คุณครู สมร ตาระพัน
  • 2. ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) ภาษาฟอร์แทรน หรือ FORTRAN เป็นชื่อที่ย่อมาจาก FOR mular TRAN slation ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อกลางทศวรรษที่ 1950 ด้วยฝีมือ ของพนักงานบริษัทไอบีเอ็ม นับเป็นภาษาชั้นสูงภาษาแรกที่ได้มีการใช้แพร่หลาย จึง ได้มบัญญัติ ภาษาฟอร์แทรนฉบับมาตรฐานขึ้นในเวลาต่อมาโดย ANSI ี (American National Standard Institute) ฟอร์แทรนถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อันเป็นงานที่มักใช้งานประมวลที่ซับซ้อน
  • 3. ชุดคาสั่งภาษาฟอร์แทรน เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับการใช้งานทางด้าน การคานวณ ตัวแปลชุดคาสั่งจะทาหน้าที่อ่านชุดคาสั่งที่เป็น ภาษาฟอร์แทรน ที่เราเขียนขึ้น และแปลเป็นภาษาเครื่องที่ ชุดคาสั่งควบคุมสามารถรับได้ คาสั่งในภาษาฟอร์แทรนแต่ละ คาสั่งเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า statement ซึ่งแบ่งเป็นดังนี้
  • 4. คาสั่งรับส่งข้อมูล (input-output statement) ได้แก่ READ, WRITE หรือ PRINT, FORMAT คาสั่งคานวณ (arithmetic statement) ได้แก่ คาสั่งที่เป็นการคานวณ โดยทางซ้ายมือเป็นตัวแปร ทาง ขวามือเป็นการคานวณ เช่น X = A + B + 5 คาสั่งตรรกะ (logical statement) เป็นคาสั่ง ประเภทควบคุม ได้แก่ คาสั่งที่ใช้ในการทดสอบ ค่าเช่น IF (A.EQ.B) GO TO 15 หรือ GO TO (1, 2, 3,4, 5) และ I เป็นต้น
  • 5. ฟอร์แทรนเป็นภาษาระดับสูงที่ใช้เขียนคาสั่งงานเพื่อควบคุมการ ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่อง เมนเฟรม (Mainframe Computer) เป็นภาษาที่ใช้ แก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ภาษา FORTRAN จึงเหมาะสาหรับเขียน โปรแกรมเกี่ยวกับสูตร สมการ หรือฟังก์ชันทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
  • 6. ตัวอย่างของภาษา FORTRAN บางส่วน มีดังนี้ READ X IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X ELSE PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’ ความหมายของคาสั่งงาน READ X หมายถึง การอ่านค่าลงในตัวแปรชื่อ X IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN หมายถึง การตรวจสอบค่า X ที่ อ่านค่า เข้ามาว่าอยู่ระหว่าง 0-100 หรือไม่ ถ้าใช่ให้ทาคาสั่งหลัง THEN ถ้า ไม่ใช่ให้ทาคาสั่งหลัง ELSE