SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 1

                                         ระบบ (System)
ความหมายของระบบSystem

       ก่อนที่จะทาการวิเคราะห์ระบบนั้น ควรทาความเข้าใจและทาความรู้จักกับระบบก่อนว่าระบบคือ
อะไร หมายถึงอะไร มีส่วนประกอบหรือองค์ประกอบที่จะประกอบเป็นระบบได้อย่างไร ซึ่งได้มีผู้ให้จากัดความ
และความหมายของระบบเอาไว้หลายความหมายด้วยกัน ดังนี้

          ระบบ(System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมาย
เอาไว้ว้า ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อนให้เข้าลาดับประสานเป็นอัน
เดียวกันตามหลักสูตรเหตุผลทางวิชาการ หรือหมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ์ประสาน
เข้ากัน โดยกาหนดรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
          ระบบ(System) คือ กระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมีความสัมพันธ์กันระหว่าง
ขบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใดงานหนึ่งให้บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้
          ระบบ (System) คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทางานร่วมกัน เพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน
และเพื่อให้เข้าใจในความหมายของคาว่าระบบที่จะต้องทาการวิเคราะห์ จึงต้องเข้าใจลักษณะของระบบก่อน

ลักษณะของระบบ

        ระบบมีลักษณะที่ควรรู้และศึกษา ดังนี้
        1. ระบบหมายถึง การรวมของส่วนย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่ 1 ส่วนขึ้นไป เป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อ
วัตถุประสงค์ หรือมีความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบด้วยกระทวง ทะบวง
กลม และกองต่างๆ หรือ ระบบสุริยะจักรวาล ประกอบด้วย ดวงดาวต่างๆ ที่อยู่กันเป็นกลุ่มเดียวกัน
        2. ระบบ หมายถึง ระบบการทางานขององค์การต่างๆ ที่ประกอบด้วยระบบย่อยๆ หลายระบบ
รวมกันและทางาร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์หรือโดยมีวัตถุประสงค์
ร่วมกันหรือ อย่างเดียวกัน เช่น ระบบโรงเรียน ระบบโรงพยาบาล ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบห้างร้าน
เป็นต้น
        3. การทางานของหน่วยย่อยต่างๆ ของระบบ จะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องประสารกัน โดยมี
วัตถุประสงค์หรือ ความมุ่งหมาย ร่วมกันหรือ อย่างเดียวกัน ในองค์กรหนึ่ง อาจแบ่งออกเป็นหลายฝ่าย หรือ
หลายแผนก โดยแต่ล่ะฝายหรือ แต่ล่ะแผนกจะมีหน้าที่ในการทางาน ร่วมประสานเพื่อวัตถุประสงค์เดียวกัน
        4. ระบบอาจถูกจาแนกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ หลายประเภท ทั้งนี้ สุดแต่ว่าใครเป็นผู้
จาแนกจะเห็นว่าควรแบ่ง หรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็นระบบเปิด หรือ ระบบปิด ระบบเครื่องจักร
หรือ ระบบกึ่งเครื่องจักร เป็นต้น
องค์ประกอบของระบบ
           การที่จะกล่าวหรือ อธิบายถึง องค์ประกอบของระบบว่า ประกอบด้วยอะไรบ้างนั้น ขึ้นอยู่กับความคิดเห็น
ของผู้เกี่ยวข้องกับระบบ ซึ่งจะไม่เหมือนกัน แต่โดยทั่ว ๆไปแล้วมักจะแบ่งองค์ประกอบ ออกเป็น 2 องค์ประกอบใหญ่
ๆ คือ
1. องค์ประกอบแบบ 6 M
                   -Man คน
                   -Money          เงิน
                   -Material       วัสดุ
                   -Machine        เครื่องจักร
                   -Management การบริหารระบบ
                   -Morale ขวัญและกาลังใจ
                   ดังรายละเอียดต่อไปนี้
           1.1 Man หมายถึง บุคลากร หรือ ผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกะระบบงาน หรือหมายถึงทุกคนที่
เกี่ยวข้องกับระบบนั่นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่างๆ ซึ่งจะมีทั้งผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง
และระดับปฏิบัติงาน และอาจจะประกอบด้วยนักวิชาการในระดับต่างๆ แต่จะนับรวมลูกค้าหรือ ผู้บริโภค ซึ่ง
เป็นผู้ที่มีความสาคัญไม่น้อยของระบบด้วยหรือไม่ ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการทางด้านบริหารระบบจะ
ตัดสินใจ
           1.2 Moneyหมายถึง เงินหรือทรัพย์สินที่มีค่าเป็นเงินของระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน
เงินค่าใช้จ่าย หรือเงินรายรับ รายจ่ายต่างๆ เหล่านี้ เป็นต้น ถ้าการเงินของระบบไมดีพอแล้ว ระบบนั้นย่อมจะ
ประสบกับความยุ่งยากหรือ อาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะนั้น ระบบธุรกิจทุกชนิดจะต้องมีความ
ระมัดระวัง ในเรื่องของการเงินเป็นพิเศษ
           1.3 Materialหมายถึง ตัวสินค้าหรือ วัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่มี
ความสาคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้ มี 2 ประการใหญ่ๆ
                   1.3.1 ประเภทแรกเป็นการขาดแคลดวัสดุ เช่น การขาดวัตถุดิบสาหรับใช้ในการผลิตสินค้า
ของโรงงานอุตสาหกรรม
                   1.3.2 ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินต้องการ เช่น มีสินค้าที่จาหน่าย หรือขายไม่
ออกมากเกิดไปนั่นเอง
           1.4 Machineหมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงาน หรือในสานักงาน ซึ่ง
นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหา ให้กับระบบอย่างสาคัญประการหนึ่ง เหมือนกัน
           1.5 Managementหมายถึง การบริหารระบบ ซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ทาให้ระบบเกิดปัญหา เพราะ
การบริหาร ที่ไม่ดีหรือการบริหาร ที่ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ขอสภาวะแวดล้อม หรือไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
           1.6 Moraleหมายถึง ขวัญและกาลังใจของบุคคลในระบบ หรือหมายถึง ค่านิยมของคนที่มีต่อระบบ
หรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยม ของคนในระบบที่มีขวัญและกาลังใจ ในการปฏิบัติงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
           2. องค์ประกอบแบบ 4 ส่วน
           2.1 Inputข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่ใช้เข้าสู่ระบบเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ในการสารสนเทศเพื่อ
การบริหาร หรือเพื่อการตัดสินใจ ข้อมูลหลายอย่างมีอยู่หลายลักษณะด้วยกัน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสั่งซื้อ
สินค้าเป็นต้น
           2.2 Processing
                   *การปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่างๆ
                   *การควบคุมการปฏิบัติงาน
*การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน
              *การรวบรวมผลข้อมูล
              *การตรวจสอบข้อมูล
              *การ Updateข้อมูล
              *การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ Output
       2.3 Outputผลการปฏิบัติงานต่างๆ
              *ข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงาน
              *ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผล
              *ใบรายงานต่างๆ จากการปฏิบัติงาน
              *ใบบันทึกการปฏิบัติงาน
              *การทาทะเบียนและบันชีต่างๆ
       2.4 Feedbackข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่ได้จากการปฏิบัติงาน

กระบวนการ

         กระบวนการ คือ การแสดงถึงการทางานแต่ละ ขั้นตอนซึ่งอธิบายให้เห็น คือ
               - สิ่งที่ถูกกระทา
               -จะทาเมื่อไร
               -ใครเป็นคนทา
               -จะทาอย่างไร
 ซึ่งในการจะทาการศึกษาระบบใดๆ ก็ตามจะต้องทาความเข้าใจการทางานของระบบ นั้นๆ ให้ดีก่อน
โดยการอาศัย คาถามข้างต้น4 ข้อ มาถามตนเองอยู่ตลอดเวลา

ประเภทของระบบ

1. ระบบธรรมชาติและระบบที่คนสร้างขึ้น
        1.1 ระบบธรรมชาติ หมายถึง ระบบทีแค่เป็นไปตามธรรมชาติ หรือปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
หรือโดยอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่
        1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น หมายถึง ระบบที่สร้างขึ้นซึ่งอาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติ หรือ
อาจจะไม่ได้ อาศัยระบบธรรมชาติเดิมก็ได้
2. ระบบเปิด ระบบปิด
        2.1 ระบบปิด หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทางาน และการแก้ไขด้วยตัวของระบบเอง โดย
ระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอก เข้าไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
        2.2 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วยตัวระบบเอง จะต้องดูแลควบคุมดูแล
ด้วยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้า ไปปฏิบัติงานได้
        3. ระบบคน ระบบเครื่องจักร และระบบเครื่องจักร-คน
        3.1 ระบบคน หมายถึง ระบบที่มีการปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะใช้แรงงานของคน หรือระบบที่ใช้แรงงาน
ของคนในการทางานโดยตรง อาจจะมีเครื่องจักรช่วยในการทางานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักรที่อยู่
ภายใต้การควบคุมดูแลของคนโดยตรง
3.2 ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักร หมายถึง ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักรโดยตรง คือ
เครื่องจักรจะเป็นผู้ทางานให้ ซึ่งอาจจะใช้คนบ้างเพื่อควบคุมให้เครื่องจักรทางานไปได้เท่านั้น
          3.3 ระบบคน-เครื่องจักร หมายถึง ระบบที่มีการทางานร่วมกัน ของคนและเครื่องจักรซึ่งจะต้องมีทั้ง
สองอย่าง จะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้
          4. ระบบหลักและระบบรอง
          4.1 ระบบหลัก หมายถึง ระบบที่ได้วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทางสาหรับ การกาหนด หรือสาหรับการ
จัดทาระบบรอง เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บางอย่าง
          4.2 ระบบรอง หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลัก ให้สมบูรณ์หรือมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
          5. ระบบใหญ่
          5.1 ระบบใหญ่ หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวบระบบย่อยๆ ตั้งแต่หนึ่ง ระบบขึ้นไป เพื่อ
ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายเดียวกัน
          5.2 ระบบย่อย หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่
          6. ระบบธุรกิจ ระบบสารสนเทศ
          6.1 ระบบธุรกิจระบบทางานเพื่อจุดประสงค์ด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธุรกิจ เพื่อ
จุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร
          6.2 ระบบสารสนเทศ ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลข
และข่าวสาร เพื่อช่วยในการดาเนินธุรกิจและการตัดสินใจ
          7. ระบบการประมวลผลข้อมูล (DS)หมายถึง ระบบข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ
ตอบสนองความต้องการ ของธุรกิจ เพื่อใช้ประมวลข้อมูลจานวนมากๆ เป็นประจา
          8. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS)หมายถึงระบบที่นาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ โดยมี
จุดประสงค์เพื่อการสร้าง ข้อมูลให้กับนักบริหาร เพื่อประกอบการตัดสินใจ
          9. ระบบช่วยการตัดสินใจ หมายถึง ระบบการทางานที่มีลักษณะ โครงสร้างการทางานคล้ายกับ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร จะแตกต่างกันตรงที่ ระบบนี้ไม่ได้มีการนาข้อมูลมาใช้เพื่อประกอบการ
ตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนาข้อมูล มาทาการวิเคราะห์พร้อมกับพิจารณา ถึงทางเลือกที่เป็นไปได้ทั้งหมด
ของธุรกิจ

ระดับของผู้ใช้ระบบ

         เมื่อมีระบบเกิดขึ้นมาแล้วก็ย่อมต้องมีผู้ใช้ระบบเกิดตามขึ้นมาด้วย ผู้ใช้ระบบในที่นี้ หมายถึง บุคคลซึ่ง
เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์ระบบ ประเภทของผู้ใช้ ระบบสามารถแบ่งออกตามขอบเขตหน้าที่
และความรับผิดชอบอย่างกว้างๆ เป็น 4 กลุ่ม คือ
         1.เสมียนพนักงานและผู้ให้บริการ หมายถึง พนักงานที่มีหน้าที่เกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมหรือ จัด
กิจกรรมหรือ จัดทาข้อมูลในลักษณะที่ใช้ประจาวัน ในธุรกิจหรือหน่วยงานที่สังกัดอยู่
         2.หัวหน้าหน่วยหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมที่เกิดขึ้นประจาวันของ
ธุรกิจ หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ บุคคลกลุ่มนี้ จะทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานในกลุ่มของพนักงาน
เสมียนและผู้ให้บริการ
3.ผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง บุคคลที่ทางานเกี่ยวกับแผนงานธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่
จะเป็นแผนงานระยะสั้น ทาหน้าที่ คอยควบคุมและจัดการ ให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานที่มีเป็นไปตาม
แผนงานระยะสั้น ที่ได้วางเอาไว้
       4.ผู้อานวยการหรือผู้บริหารระดับสูง หมายถึง บุคคลที่รับผิดชอบต่อการวางแผนระยะยาว และการ
กาหนดนโยบาย เพื่อให้ธุรกิจนั้นดาเนินไปได้ อย่างมีเป้าหมาย เป็นบุคคลที่จะมองธุรกิจไปข้างหน้าเสมอ

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศหน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศNuNa DeeNa
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-designNuNa DeeNa
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศPatipan Infinity
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs Min Kannita
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Jaohjaaee
 

What's hot (9)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศหน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
บทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm lบทที่ 3 lkilogm l
บทที่ 3 lkilogm l
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Similar to Chapter 01

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 

Similar to Chapter 01 (20)

ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
E R P2 Meaning
E R P2 MeaningE R P2 Meaning
E R P2 Meaning
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 

More from Komsun See

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้Komsun See
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศKomsun See
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางKomsun See
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงKomsun See
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaKomsun See
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational cultureKomsun See
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 

More from Komsun See (14)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทาง
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittaya
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
Operation
OperationOperation
Operation
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 

Chapter 01

  • 1. บทที่ 1 ระบบ (System) ความหมายของระบบSystem ก่อนที่จะทาการวิเคราะห์ระบบนั้น ควรทาความเข้าใจและทาความรู้จักกับระบบก่อนว่าระบบคือ อะไร หมายถึงอะไร มีส่วนประกอบหรือองค์ประกอบที่จะประกอบเป็นระบบได้อย่างไร ซึ่งได้มีผู้ให้จากัดความ และความหมายของระบบเอาไว้หลายความหมายด้วยกัน ดังนี้ ระบบ(System) มีความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมาย เอาไว้ว้า ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อนให้เข้าลาดับประสานเป็นอัน เดียวกันตามหลักสูตรเหตุผลทางวิชาการ หรือหมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ์ประสาน เข้ากัน โดยกาหนดรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ระบบ(System) คือ กระบวนการต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ขบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใดงานหนึ่งให้บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ ระบบ (System) คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทางานร่วมกัน เพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน และเพื่อให้เข้าใจในความหมายของคาว่าระบบที่จะต้องทาการวิเคราะห์ จึงต้องเข้าใจลักษณะของระบบก่อน ลักษณะของระบบ ระบบมีลักษณะที่ควรรู้และศึกษา ดังนี้ 1. ระบบหมายถึง การรวมของส่วนย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่ 1 ส่วนขึ้นไป เป็นหน่วยเดียวกัน เพื่อ วัตถุประสงค์ หรือมีความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบด้วยกระทวง ทะบวง กลม และกองต่างๆ หรือ ระบบสุริยะจักรวาล ประกอบด้วย ดวงดาวต่างๆ ที่อยู่กันเป็นกลุ่มเดียวกัน 2. ระบบ หมายถึง ระบบการทางานขององค์การต่างๆ ที่ประกอบด้วยระบบย่อยๆ หลายระบบ รวมกันและทางาร่วมกัน ซึ่งจะต้องมีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อประโยชน์หรือโดยมีวัตถุประสงค์ ร่วมกันหรือ อย่างเดียวกัน เช่น ระบบโรงเรียน ระบบโรงพยาบาล ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบห้างร้าน เป็นต้น 3. การทางานของหน่วยย่อยต่างๆ ของระบบ จะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องประสารกัน โดยมี วัตถุประสงค์หรือ ความมุ่งหมาย ร่วมกันหรือ อย่างเดียวกัน ในองค์กรหนึ่ง อาจแบ่งออกเป็นหลายฝ่าย หรือ หลายแผนก โดยแต่ล่ะฝายหรือ แต่ล่ะแผนกจะมีหน้าที่ในการทางาน ร่วมประสานเพื่อวัตถุประสงค์เดียวกัน 4. ระบบอาจถูกจาแนกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือ หลายประเภท ทั้งนี้ สุดแต่ว่าใครเป็นผู้ จาแนกจะเห็นว่าควรแบ่ง หรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็นระบบเปิด หรือ ระบบปิด ระบบเครื่องจักร หรือ ระบบกึ่งเครื่องจักร เป็นต้น องค์ประกอบของระบบ การที่จะกล่าวหรือ อธิบายถึง องค์ประกอบของระบบว่า ประกอบด้วยอะไรบ้างนั้น ขึ้นอยู่กับความคิดเห็น ของผู้เกี่ยวข้องกับระบบ ซึ่งจะไม่เหมือนกัน แต่โดยทั่ว ๆไปแล้วมักจะแบ่งองค์ประกอบ ออกเป็น 2 องค์ประกอบใหญ่ ๆ คือ
  • 2. 1. องค์ประกอบแบบ 6 M -Man คน -Money เงิน -Material วัสดุ -Machine เครื่องจักร -Management การบริหารระบบ -Morale ขวัญและกาลังใจ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.1 Man หมายถึง บุคลากร หรือ ผู้ที่จะต้องเกี่ยวข้องกะระบบงาน หรือหมายถึงทุกคนที่ เกี่ยวข้องกับระบบนั่นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่างๆ ซึ่งจะมีทั้งผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดับปฏิบัติงาน และอาจจะประกอบด้วยนักวิชาการในระดับต่างๆ แต่จะนับรวมลูกค้าหรือ ผู้บริโภค ซึ่ง เป็นผู้ที่มีความสาคัญไม่น้อยของระบบด้วยหรือไม่ ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการทางด้านบริหารระบบจะ ตัดสินใจ 1.2 Moneyหมายถึง เงินหรือทรัพย์สินที่มีค่าเป็นเงินของระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน เงินค่าใช้จ่าย หรือเงินรายรับ รายจ่ายต่างๆ เหล่านี้ เป็นต้น ถ้าการเงินของระบบไมดีพอแล้ว ระบบนั้นย่อมจะ ประสบกับความยุ่งยากหรือ อาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะนั้น ระบบธุรกิจทุกชนิดจะต้องมีความ ระมัดระวัง ในเรื่องของการเงินเป็นพิเศษ 1.3 Materialหมายถึง ตัวสินค้าหรือ วัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่มี ความสาคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้ มี 2 ประการใหญ่ๆ 1.3.1 ประเภทแรกเป็นการขาดแคลดวัสดุ เช่น การขาดวัตถุดิบสาหรับใช้ในการผลิตสินค้า ของโรงงานอุตสาหกรรม 1.3.2 ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินต้องการ เช่น มีสินค้าที่จาหน่าย หรือขายไม่ ออกมากเกิดไปนั่นเอง 1.4 Machineหมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงาน หรือในสานักงาน ซึ่ง นับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหา ให้กับระบบอย่างสาคัญประการหนึ่ง เหมือนกัน 1.5 Managementหมายถึง การบริหารระบบ ซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ทาให้ระบบเกิดปัญหา เพราะ การบริหาร ที่ไม่ดีหรือการบริหาร ที่ไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ขอสภาวะแวดล้อม หรือไม่ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง 1.6 Moraleหมายถึง ขวัญและกาลังใจของบุคคลในระบบ หรือหมายถึง ค่านิยมของคนที่มีต่อระบบ หรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยม ของคนในระบบที่มีขวัญและกาลังใจ ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. องค์ประกอบแบบ 4 ส่วน 2.1 Inputข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่ใช้เข้าสู่ระบบเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ในการสารสนเทศเพื่อ การบริหาร หรือเพื่อการตัดสินใจ ข้อมูลหลายอย่างมีอยู่หลายลักษณะด้วยกัน เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบสั่งซื้อ สินค้าเป็นต้น 2.2 Processing *การปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่างๆ *การควบคุมการปฏิบัติงาน
  • 3. *การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน *การรวบรวมผลข้อมูล *การตรวจสอบข้อมูล *การ Updateข้อมูล *การประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้ Output 2.3 Outputผลการปฏิบัติงานต่างๆ *ข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงาน *ข้อมูลที่ได้จากการประมวลผล *ใบรายงานต่างๆ จากการปฏิบัติงาน *ใบบันทึกการปฏิบัติงาน *การทาทะเบียนและบันชีต่างๆ 2.4 Feedbackข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่ได้จากการปฏิบัติงาน กระบวนการ กระบวนการ คือ การแสดงถึงการทางานแต่ละ ขั้นตอนซึ่งอธิบายให้เห็น คือ - สิ่งที่ถูกกระทา -จะทาเมื่อไร -ใครเป็นคนทา -จะทาอย่างไร ซึ่งในการจะทาการศึกษาระบบใดๆ ก็ตามจะต้องทาความเข้าใจการทางานของระบบ นั้นๆ ให้ดีก่อน โดยการอาศัย คาถามข้างต้น4 ข้อ มาถามตนเองอยู่ตลอดเวลา ประเภทของระบบ 1. ระบบธรรมชาติและระบบที่คนสร้างขึ้น 1.1 ระบบธรรมชาติ หมายถึง ระบบทีแค่เป็นไปตามธรรมชาติ หรือปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ 1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น หมายถึง ระบบที่สร้างขึ้นซึ่งอาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติ หรือ อาจจะไม่ได้ อาศัยระบบธรรมชาติเดิมก็ได้ 2. ระบบเปิด ระบบปิด 2.1 ระบบปิด หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทางาน และการแก้ไขด้วยตัวของระบบเอง โดย ระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอก เข้าไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2.2 ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วยตัวระบบเอง จะต้องดูแลควบคุมดูแล ด้วยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้า ไปปฏิบัติงานได้ 3. ระบบคน ระบบเครื่องจักร และระบบเครื่องจักร-คน 3.1 ระบบคน หมายถึง ระบบที่มีการปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะใช้แรงงานของคน หรือระบบที่ใช้แรงงาน ของคนในการทางานโดยตรง อาจจะมีเครื่องจักรช่วยในการทางานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักรที่อยู่ ภายใต้การควบคุมดูแลของคนโดยตรง
  • 4. 3.2 ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักร หมายถึง ระบบการทางานที่ใช้เครื่องจักรโดยตรง คือ เครื่องจักรจะเป็นผู้ทางานให้ ซึ่งอาจจะใช้คนบ้างเพื่อควบคุมให้เครื่องจักรทางานไปได้เท่านั้น 3.3 ระบบคน-เครื่องจักร หมายถึง ระบบที่มีการทางานร่วมกัน ของคนและเครื่องจักรซึ่งจะต้องมีทั้ง สองอย่าง จะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้ 4. ระบบหลักและระบบรอง 4.1 ระบบหลัก หมายถึง ระบบที่ได้วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทางสาหรับ การกาหนด หรือสาหรับการ จัดทาระบบรอง เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บางอย่าง 4.2 ระบบรอง หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลัก ให้สมบูรณ์หรือมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5. ระบบใหญ่ 5.1 ระบบใหญ่ หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวบระบบย่อยๆ ตั้งแต่หนึ่ง ระบบขึ้นไป เพื่อ ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายเดียวกัน 5.2 ระบบย่อย หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่ 6. ระบบธุรกิจ ระบบสารสนเทศ 6.1 ระบบธุรกิจระบบทางานเพื่อจุดประสงค์ด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธุรกิจ เพื่อ จุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร 6.2 ระบบสารสนเทศ ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลข และข่าวสาร เพื่อช่วยในการดาเนินธุรกิจและการตัดสินใจ 7. ระบบการประมวลผลข้อมูล (DS)หมายถึง ระบบข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ ตอบสนองความต้องการ ของธุรกิจ เพื่อใช้ประมวลข้อมูลจานวนมากๆ เป็นประจา 8. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS)หมายถึงระบบที่นาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ โดยมี จุดประสงค์เพื่อการสร้าง ข้อมูลให้กับนักบริหาร เพื่อประกอบการตัดสินใจ 9. ระบบช่วยการตัดสินใจ หมายถึง ระบบการทางานที่มีลักษณะ โครงสร้างการทางานคล้ายกับ ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร จะแตกต่างกันตรงที่ ระบบนี้ไม่ได้มีการนาข้อมูลมาใช้เพื่อประกอบการ ตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนาข้อมูล มาทาการวิเคราะห์พร้อมกับพิจารณา ถึงทางเลือกที่เป็นไปได้ทั้งหมด ของธุรกิจ ระดับของผู้ใช้ระบบ เมื่อมีระบบเกิดขึ้นมาแล้วก็ย่อมต้องมีผู้ใช้ระบบเกิดตามขึ้นมาด้วย ผู้ใช้ระบบในที่นี้ หมายถึง บุคคลซึ่ง เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์ระบบ ประเภทของผู้ใช้ ระบบสามารถแบ่งออกตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบอย่างกว้างๆ เป็น 4 กลุ่ม คือ 1.เสมียนพนักงานและผู้ให้บริการ หมายถึง พนักงานที่มีหน้าที่เกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมหรือ จัด กิจกรรมหรือ จัดทาข้อมูลในลักษณะที่ใช้ประจาวัน ในธุรกิจหรือหน่วยงานที่สังกัดอยู่ 2.หัวหน้าหน่วยหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมที่เกิดขึ้นประจาวันของ ธุรกิจ หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ บุคคลกลุ่มนี้ จะทาหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานในกลุ่มของพนักงาน เสมียนและผู้ให้บริการ
  • 5. 3.ผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง บุคคลที่ทางานเกี่ยวกับแผนงานธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ จะเป็นแผนงานระยะสั้น ทาหน้าที่ คอยควบคุมและจัดการ ให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานที่มีเป็นไปตาม แผนงานระยะสั้น ที่ได้วางเอาไว้ 4.ผู้อานวยการหรือผู้บริหารระดับสูง หมายถึง บุคคลที่รับผิดชอบต่อการวางแผนระยะยาว และการ กาหนดนโยบาย เพื่อให้ธุรกิจนั้นดาเนินไปได้ อย่างมีเป้าหมาย เป็นบุคคลที่จะมองธุรกิจไปข้างหน้าเสมอ