SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 35
Downloaden Sie, um offline zu lesen
.Mean S Multi Asset Strategies
 KBank                                                                                                           Strategies
                                                                                                                 Macro / Multi Asset
  อะไร? เมื่อไร? ทําไม? และอยางไร? ในป 2012                                                                    December 2011
                                                                                                                 Volume 55

          ยุโรปเปนตลาดที่สําคัญยิ่งตอตลาดโลก เฉกเชนในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ... ความ
          กลัววาเงินยูโรจะแตกจะใหมการใหมูลคาดอลลารสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น
                                      ี                                                                          Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank
                                                                                                                 kobsidthi.s@kasikornbank.com
          ... แตในทายที่สุดแลว ธนาคารกลางของสหรัฐและยุโรป ก็ตองพิมพเงินมาใชหนี้และ
                                                                                                                 Susheel Narula – KSecurities
          ดําเนินการที่จะลดคาเงินของพวกเขาตอไป ... เรามีมุมมองตอ USD/THB ที่ 29.50 ใน                         susheel.n@kasikornsecurities.com

          สิ้นป 2555 แตก็คาดวาจะเห็นความผันผวนอยางมากในระหวางป 2555                                        Kavee Chukitkasem – KSecurities
                                                                                                                 kavee.c@kasikornsecurities.com
          ธปท.มีแนวโนมที่จะลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปที่ 3.00% และคงไวจนถึงสิ้นป 2555                            KResearch
          คาดวาตลาดตราสารหนี้ของไทยจะคอนขางดีในป 2555 แตก็ยังคงมีความกังวลสําหรับ                           kr.bd@kasikornresearch.com

          การออกพันธบัตรเพราะงบประมาณภาครัฐจะมีผลทางกฎหมายประมาณปลาย ม.ค.
                                                                                                                   Disclaimer: This report
          บรรยากาศการลงทุนในเดือนธันวาคมเปนเชิงบวกในขณะที่ตลาดทั่วโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น                             must be read with the
                                                                                                                   Disclaimer on page 35
          ตามความคาดหวังวาผูนําสหภาพยุโรปจะสามารถแกวิกฤติหนี้ยูโรโซนได เราเชื่อวากําไร                        that forms part of it

          จากดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยในขณะนี้สะทอนถึงขาวดีไปมากแลวและผลตอบแทนตาม
                                                                                                                   “KBank Multi Asset
          ความเสี่ยงในป 2555 จะมีเพียง 5% จากเปาหมายของเราที่ 1100                                               Strategies”
                                                                                                                   can now be accessed on
                                                                                                                   Bloomberg: KBCM <GO>


Key Parameters & Forecasts at Year-end
                                        2004        2005         2006     2007     2008     2009      2010     2011E         2012E
GDP, % YoY                                   6.3           4.6      5.2      4.9      2.5     -2.3       7.8       1.5              4.3
Consumption, % YoY                           6.2           4.6      3.0      1.6      2.7     -1.1       4.8       2.5              2.8
Investment Spending, % YoY                  13.2          10.5      3.9      1.3      1.2     -9.2       9.4       4.6              5.5
Govt Budget / GDP %                          -0.2          0.3     -0.7     -1.5     -1.0     -5.6      -3.2      -3.2             -4.8
Export, % YoY                               21.6          15.2     17.0     17.3     15.9    -14.0      28.5      16.7              5.0
Import, % YoY                               25.7          25.8      7.9      9.1     26.5    -25.2      36.8      23.6              5.0
Current Account (USD bn)                    2.77          -7.6      2.3     14.1      1.6     21.9      14.8      10.1             12.8
CPI % YoY, average                           2.8           4.5      4.6      2.3      5.5     -0.9       3.3       3.9              3.9
USD/THB                                     38.9          41.0     36.1     33.7     34.8     33.3      31.4     30.50           29.50
Fed Funds, % year-end                       2.25          4.25     5.25     4.25     0.25     0.25      0.25      0.25             0.25
BOT repo, % year-end                        2.00          4.00     5.00     3.25     2.75     1.25      2.00      3.25             3.00
Bond Yields
  2yr, % year-end                           2.78          4.94     5.02     3.91     1.98     2.17      2.35      3.00             3.25
    5yr, % year-end                          4.0           5.3      5.1      4.5      2.2      3.6      2.75      3.00             3.35
    10yr, % year-end                         4.9           5.5      5.4      4.9      2.7      4.3      3.25      3.25             3.50
USD/JPY                                    102.5         118.0    119.1    111.8     90.7     93.0      82.0        77               80
EUR/USD                                     1.36          1.18     1.32     1.46     1.40     1.43      1.40      1.33             1.34
SET Index                                  668.1         713.7    679.8    858.1    450.0    734.5      1040     1020             1100


Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities



11
                                                                                                     WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM
1
KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model

 Bps (actual YTM vs. model)
       20.00

       15.00

       10.00

          5.00

          0.00

          -5.00

      -10.00

      -15.00                                                                                                                                                                                                                                           3 mth avg
                                                                                                                                                                                                                                                       Now
      -20.00




                                                                                                                                                                                                                                                       LB296A
                       LB123A

                                LB133A

                                          LB137A

                                                    LB145B

                                                                  LB14DA

                                                                                 LB155A

                                                                                               LB15DA

                                                                                                        LB167A

                                                                                                                 LB16NA

                                                                                                                          LB175A

                                                                                                                                   LB183B

                                                                                                                                                  LB191A

                                                                                                                                                            LB196A

                                                                                                                                                                          LB198A

                                                                                                                                                                                        LB19DA

                                                                                                                                                                                                      LB213A

                                                                                                                                                                                                                 LB24DA

                                                                                                                                                                                                                             LB267A

                                                                                                                                                                                                                                           LB283A



                                                                                                                                                                                                                                                                    LB396A
Source: Bloomberg, KBank



KBank THB NEER Index                                                                                                               KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model

    Jan 1995 = 100                    KBank THB Trade Weighted Index                                                                                                                       KBank USD/THB model
                                                                                                                                            48
    105                                                                                                                                     46
                                                                                                                                            44
    100                                                       + 1 std                                                                       42
                                                                d                                                                           40
     95                                                                                                                                     38
                                                                                                                                            36
     90
                                           average                                                                                          34
                                                                                                                                            32
     85
                                                                                                                                            30
     80                                                            -1 std dev                                                               28
                                                                                                                                                  01       02        03        04           05         06        07         08        09        10        11         12
     75
          00      01       02        03   04       05        06            07        08          09     10       11                                                                                       actual                 model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                           Source: Bloomberg, KBank




FX reserves – USD/THB model                                                                                                        DXY – USD/THB model
 USD/THB                                                                                                                              USD/THB                                                             since 2001
  48                                                                                                                                    50
  46                                                                            y = -7.361Ln(x) + 68.817
  44                                                                                       2                                            45
                                                                                          R = 0.8883
  42
  40                                                                                                                                    40
  38
  36                                                                                                                                    35                                                                                                          y = 29.993Ln(x) - 96.882
                                                                                                                                                                                                                                                                2
  34                                                                                                                                                                                                                                                       R = 0.7698
  32                                                                                                                                    30
  30
  28                                                                                                                                    25
  26                                                                                                                                             70        75        80            85            90         95        100        105         110        115         120       125
      25           50           75        100       125            150             175            200     225      250                                                                                                                                                       DXY
     FX reserves to USD/THB mapping                current            2011 forecast                FX reserves, USD bn                                                             DXY to USD/THB mapping                              current

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                           Source: Bloomberg, KBank




22

2
KBank BOT repo model                                                                                                SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield
    %                                                                                                                 %
    5.5
    5.0                                                                                                               9
    4.5                                                                                                               8
    4.0                                                                                                               7
    3.5                                                                                                               6
    3.0                                                                                                               5
    2.5                                                                                                               4
    2.0                                                                                                               3
    1.5                                                                                                               2
    1.0                                                                                                               1
    0.5                                                                                                               0
    0.0
                                                                                                                          03          04        05             06            07           08           09        10        11
          01   02       03       04     05     06       07       08       09     10     11      12        13
                                                                                                                                                         10yr yields                       SET forward dividend yields
                                               actual             model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                            Source: Bloomberg, KBank




Thai inflation parameters                                                                                           Thai contribution to GDP growth
     25%                                                                                                              % yoy/ contribution
     20%                                                                                                              15

     15%                                                                                                              10
     10%
                                                                                                                          5
      5%
      0%                                                                                                                  0
     -5%
                                                                                                                       -5
    -10%                                                                                                                                                               Private consumption                   Government Consumption
                                                                                                                      -10                                              Gross fixed capital formation         Inventory change
    -15%
                                                                                                                                                                       Net exports                           GDP yoy
        Jan-05          Jan-06        Jan-07      Jan-08         Jan-09        Jan-10        Jan-11
                                                                                                                      -15
                                 CPI yoy                PPI yoy                Core CPI yoy                                    1Q09             3Q09                       1Q10                3Q10               1Q11                3Q11

Source: CEIC, KBank                                                                                                 Source: NESDB, KBank




Implied forward curve: swaps                                                                                        Implied forward curve: TGBs
     %                                         Implied forward rate shifts (IRS)                                          %                 Implied bond yield curve shifts (current market's pricing)
    4.00                                                                                                               4.00

                                                                                                                       3.75
    3.50                                                                                                               3.50

                                                                                                                       3.25
    3.00
                                                                                                                       3.00

                                                                                                                       2.75
    2.50
                                                                                                                               0      1     2        3        4        5      6       7        8       9    10     11     12     13     14
           0        1        2          3        4           5        6          7       8            9        10
               Dec-11                 Mar-12             Jun-12                Dec-12            tenor (yrs)                       Dec-11                    Mar-12                       Jun-12                 Dec-12         tenor (yrs)

Source: Bloomberg, KBank                                                                                            Source: Bloomberg, KBank




33

3
US 2yr yields and implied forward                                                                                     US 5yr yields and implied forward

    7.0                                                                                                                 8
    6.0                                                                                                                 7

    5.0                                                                                                                 6
                                                                                                                        5
    4.0
                                                                                                                        4
    3.0
                                                                                                                        3
    2.0                                                                                                                 2
    1.0                                                                                                                 1
    0.0                                                                                                                 0
          00    01        02   03   04     05        06    07      08     09     10    11   12   13    14        15         00        01    02   03    04        05    06       07      08     09        10    11   12   13    14        15

                                         2yr yields, %                   implied forwards                                                                   5yr yields, %                     implied forwards

Source: Bloomberg, KBank                                                                                              Source: Bloomberg, KBank



KBank EUR/THB model                                                                                                   KBank JPY/THB model

                                                          EUR/THB                                                                                                                   JPY/THB
                                                                                                                        43.0
    56.0
    54.0                                                                                                                41.0
    52.0                                                                                                                39.0
    50.0                                                                                                                37.0
    48.0
    46.0                                                                                                                35.0
    44.0                                                                                                                33.0
    42.0                                                                                                                31.0
    40.0                                                                                                                29.0
    38.0
    36.0                                                                                                                27.0
    34.0                                                                                                                25.0
           01        02        03    04         05        06        07      08        09    10    11        12                    01       02     03        04        05        06       07         08        09    10    11        12

                                                 actual                  model                                                                                             actual              model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                              Source: Bloomberg, KBank

KBank GBP/THB model                                                                                                   KBank CNY/THB model

                                                           GBP/THB                                                                                                                     CNY/THB
                                                                                                                        5.8
    78.0
                                                                                                                        5.6
    73.0                                                                                                                5.4
    68.0                                                                                                                5.2
    63.0                                                                                                                5.0
    58.0                                                                                                                4.8
                                                                                                                        4.6
    53.0
                                                                                                                        4.4
    48.0                                                                                                                4.2
    43.0                                                                                                                4.0
           01        02        03    04         05        06        07      08        09    10    11        12                   01        02    03     04            05       06        07         08        09    10    11        12

                                                               actual            model                                                                                              actual               model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                              Source: Bloomberg, KBank

KBank THB/VND model                                                                                                   KBank AUD/THB model
                                                                THB/VND                                                                                                             AUD/THB
    800
                                                                                                                        35.0
    750
    700                                                                                                                 33.0
    650                                                                                                                 31.0
    600
                                                                                                                        29.0
    550
    500                                                                                                                 27.0
    450                                                                                                                 25.0
    400
    350                                                                                                                 23.0
    300                                                                                                                 21.0
           01        02        03   04          05        06        07      08        09    10    11        12                    01       02     03        04        05        06       07         08        09    10    11        12

                                                               actual            model                                                                                              actual               model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                              Source: Bloomberg, KBank




44

4
อะไร? เมื่อไร? ทําไม? และอยางไร? ในป 2012

                                                                                                                           Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank
สิ่งที่คุณไมทราบจะไมสามารถทํารายคุณได ... พวกเขากลาวไวอยางนั้น                                                      kobsidthi.s@kasikornbank.com

ในขณะที่ป 2554 กําลังจะสิ้นสุดลงทามกลางสภาพแวดลอมที่ถดถอยทั้งทางดานสังคมและเศรษฐกิจ ผล                                 Nalin Chutchotitham – Kasikornbank
                                                                                                                           nalin.c@kasikornbank.com
สํา รวจความคิดเห็น ของนั กวิ เ คราะหสว นใหญ ผิดพลาดเนื่อ งจากการมองโลกในแงดีจ นเกิน ไป ทํา ให
                                                                                                                           Amonthep Chawla, Ph.D. – Kasikornbank
นักวิเคราะหนาจะเอาหัวหมกในทรายอยางเชนที่นกกระจอกเทศทํา กฎของเมอรฟ (Murphy’s Law)                                    amonthep.c@kasikornbank.com

ประชดการมองโลกในแงดีข นาดนั้น ดว ยประโยคที่วา “สิ่ งใดใดก็ตามหากผิดพลาดได ก็จ ะผิดพลาด”                                Puttikul Ackarachalanonth - Kasikornbank
                                                                                                                           puttikul.a@kasikornbank.com
เหตุการณในยุโรปและผลกระทบที่มีตอเศรษฐกิจโลกจะคอยจํากัดรูปแบบของการมองโลกในแงดี ซึ่งใน
ขณะเดียวกันตลาดตางการเงินก็ยังคงผันผวนและแกวงตัวไปตามความผอนคลายและความกังวลที่เขามา
เปนระยะ ๆ

ในทางคณิตศาสตรสูตรตอไปนี้เปนจริง :
-1 x -1 = 1 หรือในทางคําพูดจํานวนลบคูณกับจํานวนลบจะไดผลบวก

นักการเมืองและผูกําหนดนโยบายทั้งหลายกําลังพยายามที่จะใชบรรทัดฐานทางความคิดเดียวกันในทาง
เศรษฐศาสตรคือ การแกปญหาหนี้ตองสรางหนี้เพิ่มเติม

รูปที่ 1. ผลสํารวจความเห็นของนักวิเคราะหสวนใหญในปจจุบันผาน
                                                                   รูปที่ 2. ความเห็นของนักวิเคราะหสวนใหญไมไดบงชี้วาจะมีภาวะ
การไตรตรองแลวหรือ?                                                 ถดถอยในเศรษฐกิจโลก

                                                                         6
                                                                         5
                                                                         4
                                                                         3
                                                                         2
                                                                         1
                                                                         0
                                                                        -1 98   99   00   01   02    03   04    05    06     07   08   09   10   11   12
                                                                        -2
                                                                        -3
                                                                        -4
                                                                        -5
                                                                        -6

                                                                                               global quarterly GDP        consensus


Source: http://www.ostrichheadinsand.com/                           Source: Bloomberg, CEIC, KBank




วิกฤตหนี้ x การเพิ่มหนี้ = การกูคืนเศรษฐกิจ? ที่จริงแลว ...ไมใช หนึ่งในเสาหลักของตนกําเนิดของเงิน
ยูโรอยูที่สนธิสัญญามาสทริกต (Maastricht Treaty) ซึ่งกําหนดขอตกลงไวเนื่องจากการขาดกลไกทาง
การเงินรวมกัน โดยสมาชิกประเทศที่ใชเงินยูโรตองจํากัดหนี้สาธารณะเมื่อเทียบกับจีดีพีไวที่ 60% แตทําไม




55

5
ถึงเปน 60% ละ? แผนภูมิตอไปนี้อาจจะชวยคลายความสงสัยไดบาง รูปที่ 3 แสดงหนี้ตอจีดีพีของญี่ปุน
เที ยบกับการเจริญ เติบ โตของจีดีพีใ นญี่ปุน จุดสีเขี ย วนํา เสนอถึง ขอ มูลจริง ในชว งป 2524 ถึง ป 2553
ในขณะที่จุดสีแดงเปนการคาดการณของ IMF รูปดานลางแสดงใหเห็น (ทางสถิติ) คอนขางจะชัดเจนวาเมื่อ
หนี้สาธารณะตอจีดีพีเกิน 60% การเติบโตทางเศรษฐกิจจะเริ่มสะดุด รูปแบบของจุดสีแดงอาจแยงสิ่งที่เรา
ชี้ใหเห็นในตอนแรกเกี่ยวกับการมองเศรษฐกิจในแงดีเกินไป ขอมูลของสหรัฐฯ ก็แสดงใหเห็นถึงรูปแบบที่
คลายกันที่วาการเติบโตทางเศรษฐกิจจะเริ่มลดลงเมื่อหนี้ตอจีดีพีเกิน 60%

                                                                                                   รูปที่ 4. หนี้ตอจีดีพีของสหรัฐฯ เทียบกับการเจริญเติบโตของจีดีพีใน
รูปที่ 3. หนี้ตอจีดีพีของญี่ปุนเทียบกับการเจริญเติบโตของจีดีพีในญี่ปุน
                                                                                                   สหรัฐฯ
     GDP                  mapping of Japan's GDP growth as a function of debt / GDP ratio             GDP             mapping of US GDP growth as a function of debt / GDP ratio
                                                                                                      14.0%
     16.0%
     14.0%                                                                                             12.0%
     12.0%                                                                                             10.0%
     10.0%
      8.0%                                                                                              8.0%
      6.0%                                                                                              6.0%
      4.0%
                                                                                                        4.0%
      2.0%
      0.0%                                                                                              2.0%
     -2.0% 0    20   40      60    80   100 120 140 160 180 200 220 240 260 280                         0.0%
     -4.0%
     -6.0%
                                                                                   debt / GDP, %       -2.0% 0   10    20    30     40    50     60    70     80    90    100      110   120   130

     -8.0%                                                                                             -4.0%                                                                         debt / GDP, %


Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                                     Source: Bloomberg, CEIC, KBank




สิ่งนี้สะทอนใหเห็นถึงศัพททางเศรษฐกิจ “crowding out” ซึ่งวิกิพีเดียไดใหคํานิยามที่เหมาะไววา:

               ในทางเศรษฐศาสตร crowding out เกิดขึ้นเมื่อนโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary
               fiscal policy) ทําใหอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหการใชจายภาคเอกชนลดลง นั่น
               หมายความวาการเพิ่มขึ้นของการใชจายภาครัฐทําใหการใชจายดานการลงทุนลดลง

หากระบอบการปกครองของรั ฐบาลมีการเอนเอี ยงอยางมากไปทางสังคมนิยม นโยบายการคลังแบบ
ขยายตัวก็จะนําไปสูหนี้ขนาดใหญ หากกรีซไมไดเปนสวนหนึ่งของยูโรโซน กรีซก็จะมีปญหาในการหาเงิน
มาใชในการดําเนินการที่เนนสังคมนิยมซึ่งจะทําใหปญหาถึงจุดระเบิด พูดในอีกแงนึงคือ เรื่องบางอยางจะ
กระทําเพียงฝายเดียวไมได กลาวคือ เอเชียมีความสุขที่จะซื้อตราสารหนี้ใด ๆ ของยูโรโซน ซึ่งเอเชียใชเปน
แหลงลงทุนของเงินเกินดุลบัญชีเดินสะพัด




66

6
การพิมพเงินมาใชหนี้ คือ วิธีการลดหนี้อยางลับ ๆ ลอ ๆ
ในรายงานบับเดือนสิงหาคม เราไดกลาววาประเทศที่พัฒนาแลวตองการที่จะพิมพเงินมาใชหนี้มากกวา
วิธีการอื่น อยางเชน มาตรการลดรายจายภาครัฐ เพราะสังคมจะตอตานและนําไปสูจุดจบทางการเมืองของ
นักการเมืองหลายคน ในสวนที่ตามมาคุณอมรเทพจะกลาวถึงรายละเอียดของความซับซอนของการ
แกปญหาวิกฤติหนี้ยูโรโซน

แตกอนที่จะไปถึงจุดนั้น เราอยากจะชี้ใหเห็นถึงแนวโนมของอัตราแลกเปลี่ยนในป 2555 ที่จะมีความผัน
ผวนมากขึ้น ถาเหตุการณในป 2551-2552 พอจะเปนแนวทางได เงินดอลลารสหรัฐฯ ก็อาจจะอยูไดรับ
พรีเมี่ยมที่จะมาพรอมกับคํากลาวที่วา "ทุกวิกฤตินั้นมีโอกาส" สิ่งที่จะตองขยายความก็คือวิกฤติของใคร
และโอกาสของใคร นับตั้งแตมีการเริ่มใชเงินยูโร สวนแบงทางตลาดของเงินยูโรในฐานะเงินสํารองระหวาง
ประเทศไดเพิ่มขึ้นในขณะที่ดอลลารสหรัฐฯ ไดลดบทบาทลงในฐานะเงินสํารองระหวางประเทศ ดังนั้นจะไม
แปลกที่ทั่วโลกจะยอนกลับไปใชดอลลารมากขึ้นเชนเดิม หลังจากที่ไดทดลองใชเงินยูโร (ซึ่งเปนการใช
หลายสกุลเงินมาเปนสกุลเงินเดียว) ในทุนสํารองระหวางประเทศมาแลว การใชเงินดอลลารสหรัฐฯเปนทุน
สํารองระหวางประเทศไดเปนที่โตแยงนับตั้งแตธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ไดพิมพเงินดอลลารในการลาง
หนี้มากขึ้นผานการผอนคลายเชิงปริมาณ (Q.E.) นายดรากีประธานของธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ได
พยายามที่จะลบความคิดในการใช QE ดังกลาวออกไปจากทางเลือกแมจะมีนโยบายลดดอกเบี้ยไป
0.50% ตั้งแตเขามารับตําแหนง รูปที่ 6. แสดงใหเห็นถึงงบดุลของเฟดและอีซีบี ซึ่งชี้ใหเห็นวาธนาคารกลาง
ทั้งสองเริ่มใช QE ตั้งแต Lehman Brothers ลมละลายและตลาดการเงินไดสะดุดลง และเฟดไดกลับมาใช
QE อีกในเดือนพฤศจิกายน 2010 (QE2) ซึ่งอีซีบีก็ไดใช QE ในรูปแบบของความพยายามที่จะไมไดตนทุน
การกูยืมของรัฐบาลเพิ่มขึ้นตามการกรีซที่ประสบปญหาทางการเงิน

รูปที่ 5. ยูโรไดเพิ่มสัดสวนในเงินทุนสํารองตางประเทศ                                         รูปที่ 6. งบดุลของเฟดและอีซีบี
                              World's breakdown of reserve currency
     74                                                                                   30       3,000
     72                                                                                   28       2,500
     70                                                                                   26
                                                                                                   2,000
     68                                                                                   24
                                                                                                   1,500
     66                                                                                   22
                                                                                                   1,000
     64                                                                                   20
                                                                                                     500
     62                                                                                   18
     60                                                                 16                           -
       1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011                                    02   03       04        05           06   07      08        09        10

                % holding in USD (left axis)              % holding in EUR (right axis)                           Fed's balance sheet, USD bn        ECB balance sheet, EUR bn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                                 Source: Bloomberg, CEIC, KBank




77

7
การที่โลกกําหนดระดับพรีเมี่ยมหรือสวนลดของดอลลารสหรัฐฯ จะเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดทิศทาง
ของดอลลาร/บาท ... มากกวาความสัมพันธระหวางกระแสเงินสดตางประเทศของไทย ซึ่งก็คือ เงินทุน
สํารองระหวางประเทศและดอลลาร/บาท

รูปที่ 7. EUR/USD เทียบกับ USD/THB                                                  รูปที่ 8. เงินทุนสํารองตางประเทศเทียบกับ USD/THB
    USD/THB                                                                            USD/THB
    48                                                                                  48
    46                                                                                  46                                                 y = -7.361Ln(x) + 68.817
    44                                                y = -18.455x + 59.943             44                                                          2
                                                                                                                                                 R = 0.8883
    42                                                       2                          42
                                                           R = 0.672
    40                                                                                  40
                                                                                        38
    38
                                                                                        36
    36
                                                                                        34
    34                                                                                  32
    32                                                                                  30
                                                 1.3393
    30                                                                                  28
    28                                                                                  26
       0.80   0.90   1.00   1.10   1.20   1.30    1.40     1.50      1.60    1.70           25      50      75       100    125      150      175       200     225      250
                                                                         EUR/USD         FX reserves to USD/THB mapping    current    2012 forecast      FX reserves, USD bn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                      Source: Bloomberg, CEIC, KBank




จะเห็นไดวาทิศทางของดอลลาร/บาทไดเคลื่อนไหวอยางใกลชิดตามวิธีการที่ยูโรโซนจัดการกับวิกฤตหนี้
ของตน กระแสเงินไหลมีแนวโนมที่จะไมไหลเขาไปในสินทรัพยเสี่ยงและยายไปยังสินทรัพยที่อยูในรูปของ
สกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ หากความเสี่ยงของตลาดยังคงผันผวน ถาประเทศยูโรโซนสามารถหาวิธีการ
แกปญหาเพื่อใหสมาชิกคงอยูในสหภาพยูโรในไดในขณะที่ปญหาหนี้คอย ๆ ไดรับการแกไข กระแสเงินทุนก็
จะไหลเขามาสูประเทศในแถบเอเชียอีกครั้ง นอกเหนือจากสภาพแวดลอมในการลงทุนที่ดีขึ้นในปถัดไป
สหรั ฐ ฯ มี แ นวโน ม ที่ จ ะทํ า การผ อ นคลายเชิ ง ปริ ม าณ (QE3) การผ อ นคลายเชิ ง ปริ ม าณไม น า จะมี
ประสิทธิภาพพอที่จะการกระตุนการจางงานและเศรษฐกิจในสหรัฐฯ แตการผอนคลายเชิงปริมาณที่ยังเปน
กลไกที่มีประสิทธิภาพในการอัดฉีดเงินเพื่อชําระหนี้สินเมื่อคาเงินดอลลารสหรัฐฯ ออนคาอยางตอเนื่อง
ดังนั้น เรานาจะไดเห็นดอลลาร/บาทปรับตัวลดลง ดังที่คาดการณไววาจะไปแตะที่ระดับ 29.50 ในปลายป
2555 แมวาเราคาดวาดอลลาร/บาทจะปรับตัวลง แตตลาดก็จะเห็นความผันผวนที่ยังคงมีอยู โดยเฉพาะ
ในช วงครึ่ง แรกของป 2555 เพราะประเทศในยูโ รโซนนา จะยัง ไมส ามารถบรรลุขอ ตกลงไดใ นเร็ว ๆ นี้
โดยเฉพาะอยางยิ่งถาบางประเทศจําเปนจะตองจัดการลงประชามติในการที่จะแกไขรัฐธรรมนูญ ผูสงออก
และผูนําในประเทศไทยควรจะจับตามองดูความเคลื่อนไหวในตลาดอยางใกลชิดเนื่องจากอาจมีความ
กังวลเกี่ยวกับสภาพคลองของเงินดอลลารสหรัฐฯ อีกครั้งเมื่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรเพิ่มขึ้นหรือเมื่อมี
ปญหาเกี่ยวกับการเพิ่มทุนของธนาคารในยูโรโซน




88

8
ไขหวัดสเปน 2012

      ECB จะสามารถปองกันไมใหตนทุนการกูยืมของรัฐบาลอิตาลีและสเปนเพิ่มขึ้นไดนานสัก
      เทาใด
      สิ่งที่นาสนใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ออนแอของยูโรโซน คือ ตลาดแรงงานที่ขาดประสิทธิภาพ
      ที่ขดขวางการปรับตัวเพื่อรับมือกับปญหาวิกฤติเศรษฐกิจ
          ั
      ยูโรโซนไมมีเวลามากพอที่จะแกไขปญหาตลาดแรงงานของตนเพื่อสรางการเติบโตทาง
      เศรษฐกิจ ทั้งนี้เพราะยูโรโซนอาจแตกออกจากกันกอนที่เศรษฐกิจที่แทจริงจะฟนตัว
      ใครคือผูท่จะมาชวยเงินยูโรในป 2012 นี้?
                 ี
      เรามารวมกันสํารวจความเปนไปไดเหลานี้กันที่น่ี

ไขหวัด(ทางการเงิน) สเปน
ไขหวัดสเปนหรือที่เรียกกันวาโรคระบาดไขหวัดใหญ 1918 ถูกบันทึกวาเปนโรคระบาดรายแรงที่สุดใน
ประวัติศาสตรโลก เชื่อกันวาประมาณ 3% ของประชากรโลกตองเสียชีวิตดวยโรคระบาดดังกลาว โรค
ระบาดนี้อุบัติขึ้นในชวงปลายของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงผลกระทบตอทั้งประเทศฝายพันธมิตร (อัน
ไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา) และอํานาจกลาง Central Powers (อันไดแก เยอรมนี ออสเตรีย
และฮังการี) อยางไรก็ดี ขาวสารเกี่ยวกับโรคระบาดและเหยื่อผูเคราะหรายกลับถูกเก็บงําเปนความลับ
เพราะเกรงวามันอาจบั่นทอนกําลังใจของเหลาทหารหาญ ทวา สเปนซึ่งในขณะนั้นเปนประเทศที่เปนกลาง
และไมมีการปดบังขาวสารของโรคระบาดดังกลาวรวมทั้งผลพวงของมหันตภัยที่ตามมา ทําใหโรคระบาด
ไขหวัดใหญ 1918 นี้แมจะไมไดถือกําเนิดหรือแพรระบาดมาจากสเปน กลับเปนที่รูจักในชื่อวา “ไขหวัด
สเปน”

ไดมีการรําลึกครบรอบหนึ่งปของการใหความชวยเหลือจากกองทุนการเงินระหวงประเทศ IMF และสหภาพ
ยุโรป EU ตอไอรแลนดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ที่สงผลใหเศรษฐกิจที่ออนแอของไอรแลนดกลับมาฟน
ตัวอยางชาๆ โปรตุเกสดําเนินมาตรการความเขมงวดทางการเงินเพื่อลดบทบาทของภาครัฐอันนําไปสูการ
ปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ และกรีซซึ่งกําลังรอรับความชวยเหลือทางการเงินครั้งถัดไปภายหลังจากที่
ไดรับการอนุมัติเงินชวยเหลือจากกลุมผูบริหารการเงินยูโรโซน เสนทางทางเศรษฐกิจในอนาคตของประเทศ
ทั้งสามนี้เริ่มดีขึ้นหลังจากที่เงินยูโรผานภาวะสั่นคลอนและไดเกิดความวุนวายทางการเงินทั่วโลกในชวงปที่
ผานมา อยางไรก็ดี อาจกลาวไดวาจํานวนหนี้สินที่ประเทศทั้งสามคางชําระอยูดูจะไมสลักสําคัญเลยเทียบ
กับของอิตาลีและสเปน ในชวงเดือนพฤศจิกายนที่ผานมา บรรดานักลงทุนตางมีความกังวลเกี่ยวกับการ
เพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีและสเปนที่แตะผานระดับ 7% ECB ไดพยายามอยางยิ่งยวด




99

9
ที่จะซื้อพันธบัตรเหลานี้เพื่อลดตนทุนการกูยืมของรัฐบาล ECB จะสามารถปองกันไมใหตนทุนการกูยืม
ของรัฐบาลอิตาลีและสเปนเพิ่มขึ้นไดนานเทาใด อิตาลีและสเปนถูกจับตามองวากําลังเรงเพิ่มมาตรการ
ความเขมงวดทางการคลังเพื่อเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนในตลาดพันธบัตร ไมเชนนั้นแลว พวกเขาก็มี
แนวโนมที่จะถูกจัดอยูในกลุมเดียวกันกับสามประเทศที่กลาวมาขางตนที่ในที่สุดแลวจําตองรองขอการ
สนับสนุนทางการเงินจาก IMF และ ECB ความแตกตางที่สําคัญอยูที่เม็ดเงินที่อิตาลีและสเปนตองการนั้น
อาจสู ง กว า ประเทศทั้ ง สามเหล า นี้ ดั ง นั้ น จึ ง นั บ เป น เรื่ อ งที่ ท า ทายผู นํ า ยู โ รโซนให ข บคิ ด เกี่ ย วกั บ การ
สนับสนุนทางการเงินแกประเทศทั้งสองนี้ หากรัฐบาลในยูโรโซนลมเหลวในการควบคุมการเพิ่มขึ้นของ
อัต ราผลตอบแทนพัน ธบัต รแลว ปญ หาหนี้ยูโ รโซนก็มีแ นวโนมวา จะยา งเข า สู ภ าวะวิกฤติท างการเงิ น
ระหวางประเทศอยางเต็มตัวในทันทีที่อิตาลีและสเปนประกาศไมสามารถชําระหนี้ได สถาบันการเงินใน
ยุโรป สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่น ๆ จะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงเพราะเงินทุนของพวกเขาจะลดลง
ธนาคารตางๆจําเปนตองระดมทุนโดยการกูยืมเงินจาก IMF, EFSF และสถาบันการเงินอื่น ๆ ธนาคารใน
เยอรมันีและฝรั่งเศสก็มีแนวโนมที่จะลดการใหงินกูยืมลงอันอาจสงผลกระทบตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน
กลุมยูโรโซน สรุปแลวไขหวัดสเปนจะกลับมายุโรปอีกครั้งหรือไม อาจเปนไปไดวาไขหวัดจะแพรกระจายไป
ยังประเทศตางๆทั่วโลกอีกครั้งในปหนา คราวนี้เราลองมาสํารวจหาทางที่นาจะมีประสิทธิภาพในการ
เยียวยาวิกฤติหนี้สินนี้กอนที่มันจะยางกรายเขามาในประเทศไทยกัน

รากเหงาของปญหาทางเศรษฐกิจ
หลายคนสงสัยวาอะไรคือรากเหงาของปญหาทางเศรษฐกิจในยูโรโซนอันกอใหเกิดปญหาความวุนวายทาง
การเงิ น คํ า ตอบมี อ ยู ม ากมายด ว ยกั น เช น การจั ด เก็ บ ภาษีน อ ยเกิ น ไป ภาครั ฐ มีภ าระค า ใช จ า ยเพื่ อ
สวัสดิการสังคมสูงเกินไป การเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนที่เขมงวดเกินไปเพราะระบบสกุลเงินเดียว
เปนตน อาจกลาวไดวาคําตอบเหลานี้ถูกตองทั้งหมด และนอกจากนี้ นักวิชาการหลายทานยังมีการถกเถียง
กั น เกี่ยวกับ การละทิ้ง เงิน ยูโ รเพื่อ เพิ่มศัก ยภาพการแข ง ขัน ของประเทศที่เป น หนี้ สิ่ง ที่น า สนใจที่นา จะ
กลาวถึงก็คือ ตลาดแรงงานที่ขาดศักยภาพในยูโรโซนไดชะลอการปรับตัวเพื่อรับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจ
ป ญ หาหนี้ สิ น ในยู โ รโซนจะดี ขึ้ น หากเศรษฐกิ จ ของประเทศเหล า นี้ ข ยายตั ว อย า งไรก็ ดี ป ญ หาใน
ตลาดแรงงานทําใหเศรษฐกิจมีแนวโนมที่จะยังคงซบเซาในชวงระยะเวลาหนึ่ง

อัต ราการวา งงานยั ง คงพุ ง สูง ในยู โ รโซน โดยเฉพาะอยา งยิ่ง ในสเปน ภายหลัง จากที่ วิก ฤติการเงิ น ซั ด
กระหน่ําสหรัฐอเมริกา ประเทศตางๆในยูโรโซนก็ถูกผลกระทบอยางรุนแรง ทําใหเศรษฐกิจของพวกเขาหด
ตัวลงในขณะที่อัตราการวางงานเพิ่มสูงขึ้น คนวัยหนุมสาวเปนกลุมที่ไดรับผลกระทบอยางมาก เพราะแมวา
ระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจจะใกลเคียงกับประเทศอื่น ๆ แตอัตราการวางงานของหนุมสาวชาวสเปนสูง
เกือบถึง 50% อัตราการวางงานที่มีระดับสูงเชนนี้กระทบตอโครงสรางทางสังคมของสเปนอันจะนําไปสู
ปญหาทางเศรษฐกิจในระยะยาว นายจางในประเทศที่มีอัตราการวางงานสูงมักจะไมฝกอบรมแรงงานของ




1010

10
พวกเขา ทําใหการเติบโตทางประสิทธิภาพการผลิตลดลง และแมวาประเทศเหลานี้จะผานรอนผานหนาว
 ทางเศรษฐกิจมาก็ตามแตแรงงานหนุมสาวเหลานี้ก็ไมอาจมีทักษะพรอมพอจะรองรับการเติบโตทางธุรกิจ
 ได จึงอาจทําใหพวกเขาวางงานนานยิ่งขึ้น หรือบางทีพวกเขาอาจจําเปนตองเขารับการฝกอบรมกอนกลับ
 เขาสูตลาดแรงงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน อัตราการวางงานที่สูงยังมีผลกระทบตอความยั่งยืน
 ทางการคลัง รายรับของรัฐบาลมีแนวโนมที่จะลดลง ประเทศที่มีการจางงานต่ํามีแนวโนมที่จะเก็บภาษี
 รายไดต่ํา และเมื่อประชาชนมีรายไดต่ําหรือวางงาน พวกเขามีแนวโนมที่จะจับจายลดนอยลง ทําใหภาษี
 การบริโภคลดลงเชนกัน ในทางตรงกันขาม คาใชจายของภาครัฐดูเหมือนจะสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง
 ผลประโยชนที่อาจไดรับจากการวางงานรวมทั้งสวัสดิการสังคมอื่นๆ เมื่อรายรับต่ํากวารายจาย รัฐบาลก็
 จําตองสรางภาระหนี้เพิ่มมากขึ้น ดวยเหตุนี้เอง ตลาดแรงงานที่ไรประสิทธิภาพจึงถูกมองวามีผลกระทบตอ
 หนี้ภาครัฐซึ่งมีแนวโนมที่จะทําใหระดับหนี้สาธารณะของยูโรโซนเพิ่มมากขึ้นดวย

รูปที่ 9. อัตราการวางงาน                                                               รูปที่ 10. อัตราการวางงานคนวัยหนุมสาว
                            Unemployment rate (%)                                                      Unemployment rate people under 25 year of age (%)
  24                                                                                      50
                                                                                          45
  19                                                                                      40
                                                                                          35
                                                                                          30
  14
                                                                                          25
                                                                                          20
   9                                                                                      15
                                                                                          10
   4                                                                                       5
   Sep-06        Sep-07       Sep-08           Sep-09            Sep-10        Sep-11       Oct-06        Oct-07       Oct-08           Oct-09            Oct-10            Oct-11
            Germany        Spain       Italy            France            Greece                     Germany       Spain        Italy            France            Greece

Source: Bloomberg, KBank                                                                Source: Bloomberg, KBank




 แลวจะแกไขตลาดแรงงานที่ขาดประสิทธิภาพไดอยางไร กอนอื่น เราตองเขาใจถึงรากเหงาของปญหา ใน
 หลักเศรษฐศาสตรแรงงาน สถานการณในยูโรโซนเรียกวา “ปญหาที่เกิดขึ้นของคนวงใน (insider) และคน
 วงนอก (outsider)” บรรดาผูที่มีงานทําหรือลูกจางถาวร (คนวงใน) ตองการคาจางที่สูงขึ้น ในขณะที่ผูที่ไมมี
 งาน (คนวงนอก) ไม ส ามารถผ า นพ น อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยคนวงในจึ ง ทํ า ให พ วกเขายั ง คงว า งงาน
 ตัวอยางเชน สหภาพแรงงานกดดันบริษัทใหเพิ่มเงินเดือนใหกับลูกจาง รวมทั้งมอบผลประโยชนที่ควรไดรับ
 ในกรณี ที่ ว า งงาน ในบางประเทศ เช น ในสเปน บริษั ท จะตอ งแบกรับ ค า ใช จ า ยมหาศาลหากเลิก จา ง
 ลูกจางประจํา กลาวคือ ตองจายถึง 33-45 วันตอปท่ีทํางาน หรืออาจมากถึง 42 เดือนของเงินเดือนสําหรับ
 กรณีของการเลิกจางขาดความชอบธรรม คาแรงที่สูงทําใหนายจางไมสนใจที่จะจางแรงงานใหม และ
 นายจางก็มีแนวโนมที่จะจางแรงงานชั่วคราวเพื่อหลีกเลี่ยงการที่รัฐปกปองแรงงานประจํา อยางไรก็ ดี
 สัญญาวาจางชั่วคราวไมคอยไดรับความสนใจจากลูกจางเทาใดนักเพราะผลประโยชนที่ลูกจางเหลานี้ไดรับ
 มีเพียงนอยนิดเทานั้น ทั้งนี้ เนื่องจากคนที่วางงานจะไดรับสิทธิประโยชนจากการวางงานทําใหพวกเขาไม




 1111

 11
สนใจทํางานที่ไดคาจางต่ํา สหภาพแรงงานเองก็ปองกันไมใหบริษัทลดคาจางเมื่อบริษัทมีรายรับลดนอยลง
 ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อเปนการปองกันความยืดหยุนของคาจาง ดังนั้น เมื่อบริษัทไมมีทางเลือกจึง
 จําตองไลคนงานออก วิธีการแกปญหาอัตราการวางงานสูงที่รวดเร็วมีดังนี้คือ หนึ่ง ลดสิทธิประโยชนอันเกิด
                                 
 จากการวางงาน สอง เพิ่มแรงจูงใจใหกับแรงงานชั่วคราว สาม เพิ่มความยืดหยุนของคาจาง คําถามตอมา
 ก็คือ จะตองใชเวลาเทาไหรจึงจะแกปญหาเหลานี้ได ดูเหมือนวาปญหาของตลาดแรงงานจะตองใชเวลา
 และความรวมมือจากสวนตางๆในการแกไข ซึ่งบางครั้งอาจไมทันเวลาที่จะสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจ
 และแกปญ หาวิกฤตหนี้ในยูโรโซนได สมาชิกของยูโรโซนจํานวนหนึ่งอาจลาออกสหภาพการเงิน ยุโรป
 (EMU) ซึ่งอาจถูกมองวาเปนการทําลายความเชื่อมั่นในระบบสกุลเงินยูโรอยางคอยเปนคอยไป

รูปที่ 11. โครงสรางอายุประชากร                                                                     รูปที่ 12. การเติบโตทางเศรษฐกิจ
  22
                                                                                                                                    Economic growth rate (%)
                                                                                                       8
  21
                                                                                                       6
  20
                                                                                                       4
  19                                                                                                   2
  18                                                                                                   0
                                                                                                      -2
  17
                                                                                                      -4
  16
                                                                                                      -6
  15                                                                                                  -8
          Germany          Spain                Italy               France            Greece           Sep-06           Sep-07          Sep-08             Sep-09            Sep-10            Sep-11
                                   Population abov e 65 y ears old (%)
                                                                                                                  Germany           Spain          Italy            France            Greece

Source: Bloomberg, KBank                                                                            Source: Bloomberg, KBank




รูปที่ 13. หนี้ภาครัฐ                                                                               รูปที่ 14. ดุลการคลัง
                               Public debt (% of GDP)                                                                               Budget balance (% of GDP)
  160                                                                                                      4
  140
                                                                                                           0
  120
  100                                                                                                  -4

   80                                                                                                  -8
   60
                                                                                                      -12
   40
   20                                                                                                 -16
    Dec-06       Dec-07     Dec-08           Dec-09          Dec-10          Dec-11        Dec-12              2000   2001   2002   2003    2004    2005     2006     2007     2008   2009      2010
             Germany         Spain             Italy             France           Greece                          Germany           Spain          Italy            France            Greece

Source: Bloomberg, KBank                                                                            Source: Bloomberg, KBank




 ใครคือผูที่จะมาชวยเงินยูโรในป 2012 นี้?
 ยูโรโซนไมมีเวลามากพอที่จะแกไขปญหาตลาดแรงงานเพื่อกระตุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและภาระหนี้สิน
 เพราะยูโรโซนอาจแตกออกจากกันกอนที่สภาพเศรษฐกิจที่แทจริงจะฟนคืน นักลงทุนมองวาพวกเขากําลัง
 รอคอยวิธีการแกปญหาในการลดตนทุนการกูยืมของอิตาลีและสเปน เพราะเกรงวาสองประเทศนี้จะไม




 1212

 12
สามารถชําระดอกเบี้ยหรือเงินตนอันอาจนําไปสูปญหาการชําระหนี้ที่สั่นคลอนตลาดการเงินโลก เวลาของ
เราใกลหมดลงเมื่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรของอิตาลีกําลังเอื้อมแตะระดับ 8% ในไมชา และยูโรโซน
อาจจะลมสลายในปหนาดวยไขหวัดสเปน ดังนั้น ใครจะเปนผูที่ชวยเงินยูโรในป 2012 ลองมาสํารวจความ
เปนไปไดเหลานี้กันวาจะเปน ECB-EFSF-IMF, BRICS, Fed หรือ Eurobonds

ทางเลือกที่เปนไปไดทางหนึ่งดูเหมือนจะเปนความรวมมือกันระหวาง ECB, EFSF และ IMF
ปลายเดือนที่แลวพบวามีความพยายามที่จะเพิ่มศักยภาพของ IMF เพื่อสนับสนุนทางการเงินใหกับประเทศ
ที่ประสบปญหาใหปฏิบัติตามเงื่อนไขในการชําระหนี้ใหมากยิ่งขึ้น ECB รวมกับ IMF อัดฉีดเงินทุนเพิ่มเติม
ใหกับ EFSF สัญญาในการค้ําประกันอาจเพิ่มจาก 7.8 แสนลานยูโร เปน 1 ลาน ลานยูโร EFSF สามารถ
ออกพันธบัตรที่มีสิทธิ์เปนหลักทรัพยค้ําประกันในการดําเนินงานทางการเงินของ ECB พันธบัตรเหลานี้
สามารถนํามาระดมทุนเพื่อชวยธนาคารที่มีปญหาดวยการลดคุณภาพสินทรัพยหรือลดราคาพันธบัตร แลว
มันจะสัมฤทธิ์ผลไดอยางไร ลองคิดดูวานี่คือการฟอกเงินอยางหนึ่ง ECB ไมสามารถซื้อพันธบัตรรัฐบาล
โดยตรงจากสมาชิกรัฐบาลอื่นๆได หรือพูดไดวาเปน "ไมมีการชวย bailout " สําหรับประเทศที่ลมจม ดังนั้น
ECB จําตองใหการสนับสนุนทางการเงินกับ EFSF หรือตองผานการตรวจสอบจาก IMF จากนั้น EFSF จะ
ซื้อพันธบัตรจากประเทศที่ประสบปญหาเพื่อลดอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอันเปนกระบวนการของการลด
ตนทุนการกูยืมและเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาใหกับนักลงทุน แมวา ECB จะไมไดใชเงินภาษีเพื่อชวย
PIIGS โดยตรง พวกเขาไดรับความชวยเหลือจาก EFSF และ IMF ไมมากก็นอย และที่สุด EFSF อาจสง
เงินใหกับรัฐบาล PIIGS หรืออนุญาตใหพวกเขาเขาถึงตลาดทุนดวยอัตราดอกเบี้ยที่สมเหตุสมผล

คําถามก็คอ วิธีการนี้จะสัมฤทธิ์ผลไหม บางทีคําตอบคือ ไม และดูเหมือนจะมีแนวโนมวาการสนับสนุนจาก
           ื
EFSF จะสิ้นสุดทันทีหลังจากที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรยังคงเพิ่มสูงขึ้น ราคาพันธบัตรที่ลดลงกําลัง
สงผลกระทบตอเงินทุนของธนาคารในยุโรป ธนาคารจําเปนตองเพิ่มทุนเพื่อชวยแกไขปญหา อยางไรก็ดี
ธนาคารอาจจะตัดการใหกูยืมซึ่งสงผลใหเกิดภาวะถดถอยหรือการชะลอตัวทางเศรษฐกิจในยูโรโซน หนี้ตอ
จีดีพีมีแนวโนมที่จะยังคงอยูในระดับสูงหรืออาจมีการเพิ่มขึ้นของหนี้และการลดลงของ GDP ไมมีวิธีการ
แกปญหาระยะยาวที่จะชวยลดหนี้สาธารณะหรือการเพิ่มวินัยทางการคลังได ดังนั้น วิธีการแกปญหา
ดังกลาวจึงเปนการยื้อปญหามากกวาที่จะเปนการแกไข อีกอยางหนึ่งก็คือเราอาจสงสัยวา ใครคือคนที่จะ
ชวยสนับสนุน EFSFหากเราพิจารณาจากองคประกอบของกองทุน EFSF จะเห็นวา กวาสามในสี่มาจาก
เยอรมนี (29%), ฝรั่งเศส (22%), อิตาลี (19%) และสเปน (13%) ธนาคารของประเทศกําลังประสบปญหา
เชนกัน มันไมนาเปนไปไดที่ประเทศเหลานี้จะชวยสนับสนุนกองทุน EFSF เพราะประเทศเหลานี้จําตอง
แกปญหาในประเทศของพวกเขากอนที่จะชวยเหลือผูอื่น




1313

13
รูปที่ 15. ภาระหนี้ตางประเทศ                                                                          รูปที่ 16. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล
 USD bn                Foreign claims on public debt by nationality of reporting banks
  180                                                                                                                             Government 10-year bonds (%)
  160                                                                                                    7.5
  140
  120
                                                                                                           6
  100
   80
   60                                                                                                    4.5
   40
   20
                                                                                                           3
    0
              Dec-10                      Mar-11                     Dec-10                   Mar-11
                                                                                                         1.5
                         French banks                                          German banks                Jan-11      Mar-11        May-11      Jul-11           Sep-11    Nov-11
                  Portugal              Ireland            Italy          Greece          Spain                     Germany              Spain            Italy            France

Source: BIS Quarterly Review, June 2011 and September 2011                                             Source: Bloomberg, KBank




 ทางเลือกที่สองคือการขอการสนับสนุนทางการเงินจาก BRICS
 มันอาจฟงดูนาขบขันหากประเทศที่ไดชื่อวาเปน ประเทศที่รํ่ารวย จะขอความชวยเหลือทางการเงินใหกับผู
 ที่วางงานรวมทั้งเงินบํานาญจากประเทศกําลังพัฒนา นี่เปนเรื่องธรรมดาๆที่อาจเกิดขึ้นไดเพราะบรรดาคน
 ร่ํารวยไมตองการจายภาษีหรือปฏิบัติตามมาตรการที่เขมงวด BRICS เพลิดเพลินกับการเติบโตทาง
 เศรษฐกิจที่สูงขึ้นในขณะที่พวกเขาสะสมเงินสํารองตางประเทศจํานวนมาก ตัวอยางเชน ประเทศจีนเพียง
 ประเทศเดียวมีเงินทุนสํารองมากกวา 3.2 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จีนสามารถกระจายการลงทุนสินทรัพย
 สกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ ของพวกเขามาเปนสกุลเงินยูโร แตอะไรคือผลประโยชนอื่น ที่ BRICS จะไดรับจาก
 ใหความชวยเหลือยูโรโซน BRICS อาจใชทรัพยากรเหลานี้ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศของ
 ตนเพื่อชวยลดความยากจน สมมติวาพวกเขาตกลงชวยเหลือโดยการซื้อพันธบัตรของสมาชิกยูโรโซน
 BRICS อาจตองการซื้อหุนบางสวนของธนาคารเพื่อใชเปนวิธีในการระดมทุนในยูโรโซน แตก็เปนไปไมไดที่
 สมาชิกยูโรโซนจะยอมให BRICS โดยเฉพาะอยางยิ่ง การที่ใหประเทศจีนมีอํานาจควบคุมธนาคารของพวก
 เขา ดังนั้นจึงเหลืออีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนั่นก็คือ BRICS จะตองซื้อพันธบัตรของสมาชิกยูโรโซน BRICS
 สามารถอัดฉีดเงินผาน EFSF เพื่อเปนวิธีการทางออมในการซื้อพันธบัตร นอกจากนี้ นี่อาจเปนโอกาสที่ดี
 สําหรับประเทศจีนที่จะมีอํานาจควบคุม IMF มากขึ้นโดยการขอโควตาการออกเสียงลงคะแนนมากขึ้น ยูโร
 โซนจะตองลองคิ ดดู วาพวกเขาจะยอมสู ญเสียอํานาจในการควบคุมธนาคารของพวกเขาหรือ จะยอม
 สูญเสียการควบคุมของ IMF ผลลัพธที่อาจเกิดขึ้นยังคงไมสามารถเรียกความเชื่อมั่นของเงินยูโรคืนได
 เพราะมันเปนเพียงอีกวิธีทางแกไขปญหาชั่วคราวเพื่อเหนี่ยวรั้งการเพิ่มขึ้นของตนทุนการกูยืมของ PIIGS
 เทานั้น




 1414

 14
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th
KBank Multi Asset Strategies dec 2011   th

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

K bank capital market perspectives mar 9
K bank capital market perspectives mar 9K bank capital market perspectives mar 9
K bank capital market perspectives mar 9KBank Fx Dealing Room
 
ตารางการประชุม Cb ปี 2011
ตารางการประชุม Cb ปี 2011ตารางการประชุม Cb ปี 2011
ตารางการประชุม Cb ปี 2011KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomcKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Fx Dealing Room
 

Andere mochten auch (9)

KBank Market watch Dec 27,2010
KBank Market watch Dec 27,2010KBank Market watch Dec 27,2010
KBank Market watch Dec 27,2010
 
K bank capital market perspectives mar 9
K bank capital market perspectives mar 9K bank capital market perspectives mar 9
K bank capital market perspectives mar 9
 
KBank FX & Rate Strategies
KBank FX & Rate StrategiesKBank FX & Rate Strategies
KBank FX & Rate Strategies
 
K bank econ update mar 2011
K bank econ update mar 2011K bank econ update mar 2011
K bank econ update mar 2011
 
ตารางการประชุม Cb ปี 2011
ตารางการประชุม Cb ปี 2011ตารางการประชุม Cb ปี 2011
ตารางการประชุม Cb ปี 2011
 
KBank Market watch dec 14
KBank Market watch dec 14KBank Market watch dec 14
KBank Market watch dec 14
 
K bank econ update feb 2011
K bank econ update feb 2011K bank econ update feb 2011
K bank econ update feb 2011
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
 
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
 

Ähnlich wie KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th

KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thaiKBank Fx Dealing Room
 
TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfSCBEICSCB
 
SIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomySIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomyIsriya Paireepairit
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
KBank capital market perspectives sep fomc
KBank capital market perspectives sep   fomcKBank capital market perspectives sep   fomc
KBank capital market perspectives sep fomcKBank Fx Dealing Room
 
K bank capital market perspectives sep fomc
K bank capital market perspectives sep   fomcK bank capital market perspectives sep   fomc
K bank capital market perspectives sep fomcKBank Fx Dealing Room
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfSCBEICSCB
 

Ähnlich wie KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th (12)

KBank multi asset strategies sept 2011 thai
KBank multi asset strategies   sept 2011 thaiKBank multi asset strategies   sept 2011 thai
KBank multi asset strategies sept 2011 thai
 
TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdf
 
SIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomySIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global Economy
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
KBank capital market perspectives sep fomc
KBank capital market perspectives sep   fomcKBank capital market perspectives sep   fomc
KBank capital market perspectives sep fomc
 
K bank capital market perspectives sep fomc
K bank capital market perspectives sep   fomcK bank capital market perspectives sep   fomc
K bank capital market perspectives sep fomc
 
Power point feanix
Power point feanixPower point feanix
Power point feanix
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
 

Mehr von KBank Fx Dealing Room

KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focusKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012KBank Fx Dealing Room
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...KBank Fx Dealing Room
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 tradeKBank Fx Dealing Room
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15KBank Fx Dealing Room
 

Mehr von KBank Fx Dealing Room (20)

KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greece
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
 
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)
 
KBank Economics update Mar 2012
KBank Economics update   Mar 2012KBank Economics update   Mar 2012
KBank Economics update Mar 2012
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
 
Prariwat feb23
Prariwat feb23Prariwat feb23
Prariwat feb23
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012
 
KBank Econ update jan 2012
KBank Econ update   jan 2012KBank Econ update   jan 2012
KBank Econ update jan 2012
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 trade
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
 
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
Cmb seminar khun kitti  2011 12-15Cmb seminar khun kitti  2011 12-15
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
 
K bank daily nov 22
K bank daily nov 22K bank daily nov 22
K bank daily nov 22
 

KBank Multi Asset Strategies dec 2011 th

  • 1. .Mean S Multi Asset Strategies KBank Strategies Macro / Multi Asset อะไร? เมื่อไร? ทําไม? และอยางไร? ในป 2012 December 2011 Volume 55 ยุโรปเปนตลาดที่สําคัญยิ่งตอตลาดโลก เฉกเชนในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ... ความ กลัววาเงินยูโรจะแตกจะใหมการใหมูลคาดอลลารสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น ี Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank kobsidthi.s@kasikornbank.com ... แตในทายที่สุดแลว ธนาคารกลางของสหรัฐและยุโรป ก็ตองพิมพเงินมาใชหนี้และ Susheel Narula – KSecurities ดําเนินการที่จะลดคาเงินของพวกเขาตอไป ... เรามีมุมมองตอ USD/THB ที่ 29.50 ใน susheel.n@kasikornsecurities.com สิ้นป 2555 แตก็คาดวาจะเห็นความผันผวนอยางมากในระหวางป 2555 Kavee Chukitkasem – KSecurities kavee.c@kasikornsecurities.com ธปท.มีแนวโนมที่จะลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปที่ 3.00% และคงไวจนถึงสิ้นป 2555 KResearch คาดวาตลาดตราสารหนี้ของไทยจะคอนขางดีในป 2555 แตก็ยังคงมีความกังวลสําหรับ kr.bd@kasikornresearch.com การออกพันธบัตรเพราะงบประมาณภาครัฐจะมีผลทางกฎหมายประมาณปลาย ม.ค. Disclaimer: This report บรรยากาศการลงทุนในเดือนธันวาคมเปนเชิงบวกในขณะที่ตลาดทั่วโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น must be read with the Disclaimer on page 35 ตามความคาดหวังวาผูนําสหภาพยุโรปจะสามารถแกวิกฤติหนี้ยูโรโซนได เราเชื่อวากําไร that forms part of it จากดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยในขณะนี้สะทอนถึงขาวดีไปมากแลวและผลตอบแทนตาม “KBank Multi Asset ความเสี่ยงในป 2555 จะมีเพียง 5% จากเปาหมายของเราที่ 1100 Strategies” can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO> Key Parameters & Forecasts at Year-end 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011E 2012E GDP, % YoY 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.8 1.5 4.3 Consumption, % YoY 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 4.8 2.5 2.8 Investment Spending, % YoY 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 9.4 4.6 5.5 Govt Budget / GDP % -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.6 -3.2 -3.2 -4.8 Export, % YoY 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 28.5 16.7 5.0 Import, % YoY 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 36.8 23.6 5.0 Current Account (USD bn) 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 21.9 14.8 10.1 12.8 CPI % YoY, average 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.9 3.9 USD/THB 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 31.4 30.50 29.50 Fed Funds, % year-end 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 3.25 3.00 Bond Yields 2yr, % year-end 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 3.00 3.25 5yr, % year-end 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 3.00 3.35 10yr, % year-end 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 3.25 3.50 USD/JPY 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 77 80 EUR/USD 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.33 1.34 SET Index 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1020 1100 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities 11 WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM 1
  • 2. KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model Bps (actual YTM vs. model) 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 -5.00 -10.00 -15.00 3 mth avg Now -20.00 LB296A LB123A LB133A LB137A LB145B LB14DA LB155A LB15DA LB167A LB16NA LB175A LB183B LB191A LB196A LB198A LB19DA LB213A LB24DA LB267A LB283A LB396A Source: Bloomberg, KBank KBank THB NEER Index KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model Jan 1995 = 100 KBank THB Trade Weighted Index KBank USD/THB model 48 105 46 44 100 + 1 std 42 d 40 95 38 36 90 average 34 32 85 30 80 -1 std dev 28 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 75 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank FX reserves – USD/THB model DXY – USD/THB model USD/THB USD/THB since 2001 48 50 46 y = -7.361Ln(x) + 68.817 44 2 45 R = 0.8883 42 40 40 38 36 35 y = 29.993Ln(x) - 96.882 2 34 R = 0.7698 32 30 30 28 25 26 70 75 80 85 90 95 100 105 110 115 120 125 25 50 75 100 125 150 175 200 225 250 DXY FX reserves to USD/THB mapping current 2011 forecast FX reserves, USD bn DXY to USD/THB mapping current Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 22 2
  • 3. KBank BOT repo model SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield % % 5.5 5.0 9 4.5 8 4.0 7 3.5 6 3.0 5 2.5 4 2.0 3 1.5 2 1.0 1 0.5 0 0.0 03 04 05 06 07 08 09 10 11 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 10yr yields SET forward dividend yields actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank Thai inflation parameters Thai contribution to GDP growth 25% % yoy/ contribution 20% 15 15% 10 10% 5 5% 0% 0 -5% -5 -10% Private consumption Government Consumption -10 Gross fixed capital formation Inventory change -15% Net exports GDP yoy Jan-05 Jan-06 Jan-07 Jan-08 Jan-09 Jan-10 Jan-11 -15 CPI yoy PPI yoy Core CPI yoy 1Q09 3Q09 1Q10 3Q10 1Q11 3Q11 Source: CEIC, KBank Source: NESDB, KBank Implied forward curve: swaps Implied forward curve: TGBs % Implied forward rate shifts (IRS) % Implied bond yield curve shifts (current market's pricing) 4.00 4.00 3.75 3.50 3.50 3.25 3.00 3.00 2.75 2.50 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Dec-11 Mar-12 Jun-12 Dec-12 tenor (yrs) Dec-11 Mar-12 Jun-12 Dec-12 tenor (yrs) Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 33 3
  • 4. US 2yr yields and implied forward US 5yr yields and implied forward 7.0 8 6.0 7 5.0 6 5 4.0 4 3.0 3 2.0 2 1.0 1 0.0 0 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 2yr yields, % implied forwards 5yr yields, % implied forwards Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank KBank EUR/THB model KBank JPY/THB model EUR/THB JPY/THB 43.0 56.0 54.0 41.0 52.0 39.0 50.0 37.0 48.0 46.0 35.0 44.0 33.0 42.0 31.0 40.0 29.0 38.0 36.0 27.0 34.0 25.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank KBank GBP/THB model KBank CNY/THB model GBP/THB CNY/THB 5.8 78.0 5.6 73.0 5.4 68.0 5.2 63.0 5.0 58.0 4.8 4.6 53.0 4.4 48.0 4.2 43.0 4.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank KBank THB/VND model KBank AUD/THB model THB/VND AUD/THB 800 35.0 750 700 33.0 650 31.0 600 29.0 550 500 27.0 450 25.0 400 350 23.0 300 21.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 44 4
  • 5. อะไร? เมื่อไร? ทําไม? และอยางไร? ในป 2012 Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank สิ่งที่คุณไมทราบจะไมสามารถทํารายคุณได ... พวกเขากลาวไวอยางนั้น kobsidthi.s@kasikornbank.com ในขณะที่ป 2554 กําลังจะสิ้นสุดลงทามกลางสภาพแวดลอมที่ถดถอยทั้งทางดานสังคมและเศรษฐกิจ ผล Nalin Chutchotitham – Kasikornbank nalin.c@kasikornbank.com สํา รวจความคิดเห็น ของนั กวิ เ คราะหสว นใหญ ผิดพลาดเนื่อ งจากการมองโลกในแงดีจ นเกิน ไป ทํา ให Amonthep Chawla, Ph.D. – Kasikornbank นักวิเคราะหนาจะเอาหัวหมกในทรายอยางเชนที่นกกระจอกเทศทํา กฎของเมอรฟ (Murphy’s Law) amonthep.c@kasikornbank.com ประชดการมองโลกในแงดีข นาดนั้น ดว ยประโยคที่วา “สิ่ งใดใดก็ตามหากผิดพลาดได ก็จ ะผิดพลาด” Puttikul Ackarachalanonth - Kasikornbank puttikul.a@kasikornbank.com เหตุการณในยุโรปและผลกระทบที่มีตอเศรษฐกิจโลกจะคอยจํากัดรูปแบบของการมองโลกในแงดี ซึ่งใน ขณะเดียวกันตลาดตางการเงินก็ยังคงผันผวนและแกวงตัวไปตามความผอนคลายและความกังวลที่เขามา เปนระยะ ๆ ในทางคณิตศาสตรสูตรตอไปนี้เปนจริง : -1 x -1 = 1 หรือในทางคําพูดจํานวนลบคูณกับจํานวนลบจะไดผลบวก นักการเมืองและผูกําหนดนโยบายทั้งหลายกําลังพยายามที่จะใชบรรทัดฐานทางความคิดเดียวกันในทาง เศรษฐศาสตรคือ การแกปญหาหนี้ตองสรางหนี้เพิ่มเติม รูปที่ 1. ผลสํารวจความเห็นของนักวิเคราะหสวนใหญในปจจุบันผาน  รูปที่ 2. ความเห็นของนักวิเคราะหสวนใหญไมไดบงชี้วาจะมีภาวะ การไตรตรองแลวหรือ? ถดถอยในเศรษฐกิจโลก 6 5 4 3 2 1 0 -1 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 -2 -3 -4 -5 -6 global quarterly GDP consensus Source: http://www.ostrichheadinsand.com/ Source: Bloomberg, CEIC, KBank วิกฤตหนี้ x การเพิ่มหนี้ = การกูคืนเศรษฐกิจ? ที่จริงแลว ...ไมใช หนึ่งในเสาหลักของตนกําเนิดของเงิน ยูโรอยูที่สนธิสัญญามาสทริกต (Maastricht Treaty) ซึ่งกําหนดขอตกลงไวเนื่องจากการขาดกลไกทาง การเงินรวมกัน โดยสมาชิกประเทศที่ใชเงินยูโรตองจํากัดหนี้สาธารณะเมื่อเทียบกับจีดีพีไวที่ 60% แตทําไม 55 5
  • 6. ถึงเปน 60% ละ? แผนภูมิตอไปนี้อาจจะชวยคลายความสงสัยไดบาง รูปที่ 3 แสดงหนี้ตอจีดีพีของญี่ปุน เที ยบกับการเจริญ เติบ โตของจีดีพีใ นญี่ปุน จุดสีเขี ย วนํา เสนอถึง ขอ มูลจริง ในชว งป 2524 ถึง ป 2553 ในขณะที่จุดสีแดงเปนการคาดการณของ IMF รูปดานลางแสดงใหเห็น (ทางสถิติ) คอนขางจะชัดเจนวาเมื่อ หนี้สาธารณะตอจีดีพีเกิน 60% การเติบโตทางเศรษฐกิจจะเริ่มสะดุด รูปแบบของจุดสีแดงอาจแยงสิ่งที่เรา ชี้ใหเห็นในตอนแรกเกี่ยวกับการมองเศรษฐกิจในแงดีเกินไป ขอมูลของสหรัฐฯ ก็แสดงใหเห็นถึงรูปแบบที่ คลายกันที่วาการเติบโตทางเศรษฐกิจจะเริ่มลดลงเมื่อหนี้ตอจีดีพีเกิน 60% รูปที่ 4. หนี้ตอจีดีพีของสหรัฐฯ เทียบกับการเจริญเติบโตของจีดีพีใน รูปที่ 3. หนี้ตอจีดีพีของญี่ปุนเทียบกับการเจริญเติบโตของจีดีพีในญี่ปุน สหรัฐฯ GDP mapping of Japan's GDP growth as a function of debt / GDP ratio GDP mapping of US GDP growth as a function of debt / GDP ratio 14.0% 16.0% 14.0% 12.0% 12.0% 10.0% 10.0% 8.0% 8.0% 6.0% 6.0% 4.0% 4.0% 2.0% 0.0% 2.0% -2.0% 0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 0.0% -4.0% -6.0% debt / GDP, % -2.0% 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 -8.0% -4.0% debt / GDP, % Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank สิ่งนี้สะทอนใหเห็นถึงศัพททางเศรษฐกิจ “crowding out” ซึ่งวิกิพีเดียไดใหคํานิยามที่เหมาะไววา: ในทางเศรษฐศาสตร crowding out เกิดขึ้นเมื่อนโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal policy) ทําใหอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหการใชจายภาคเอกชนลดลง นั่น หมายความวาการเพิ่มขึ้นของการใชจายภาครัฐทําใหการใชจายดานการลงทุนลดลง หากระบอบการปกครองของรั ฐบาลมีการเอนเอี ยงอยางมากไปทางสังคมนิยม นโยบายการคลังแบบ ขยายตัวก็จะนําไปสูหนี้ขนาดใหญ หากกรีซไมไดเปนสวนหนึ่งของยูโรโซน กรีซก็จะมีปญหาในการหาเงิน มาใชในการดําเนินการที่เนนสังคมนิยมซึ่งจะทําใหปญหาถึงจุดระเบิด พูดในอีกแงนึงคือ เรื่องบางอยางจะ กระทําเพียงฝายเดียวไมได กลาวคือ เอเชียมีความสุขที่จะซื้อตราสารหนี้ใด ๆ ของยูโรโซน ซึ่งเอเชียใชเปน แหลงลงทุนของเงินเกินดุลบัญชีเดินสะพัด 66 6
  • 7. การพิมพเงินมาใชหนี้ คือ วิธีการลดหนี้อยางลับ ๆ ลอ ๆ ในรายงานบับเดือนสิงหาคม เราไดกลาววาประเทศที่พัฒนาแลวตองการที่จะพิมพเงินมาใชหนี้มากกวา วิธีการอื่น อยางเชน มาตรการลดรายจายภาครัฐ เพราะสังคมจะตอตานและนําไปสูจุดจบทางการเมืองของ นักการเมืองหลายคน ในสวนที่ตามมาคุณอมรเทพจะกลาวถึงรายละเอียดของความซับซอนของการ แกปญหาวิกฤติหนี้ยูโรโซน แตกอนที่จะไปถึงจุดนั้น เราอยากจะชี้ใหเห็นถึงแนวโนมของอัตราแลกเปลี่ยนในป 2555 ที่จะมีความผัน ผวนมากขึ้น ถาเหตุการณในป 2551-2552 พอจะเปนแนวทางได เงินดอลลารสหรัฐฯ ก็อาจจะอยูไดรับ พรีเมี่ยมที่จะมาพรอมกับคํากลาวที่วา "ทุกวิกฤตินั้นมีโอกาส" สิ่งที่จะตองขยายความก็คือวิกฤติของใคร และโอกาสของใคร นับตั้งแตมีการเริ่มใชเงินยูโร สวนแบงทางตลาดของเงินยูโรในฐานะเงินสํารองระหวาง ประเทศไดเพิ่มขึ้นในขณะที่ดอลลารสหรัฐฯ ไดลดบทบาทลงในฐานะเงินสํารองระหวางประเทศ ดังนั้นจะไม แปลกที่ทั่วโลกจะยอนกลับไปใชดอลลารมากขึ้นเชนเดิม หลังจากที่ไดทดลองใชเงินยูโร (ซึ่งเปนการใช หลายสกุลเงินมาเปนสกุลเงินเดียว) ในทุนสํารองระหวางประเทศมาแลว การใชเงินดอลลารสหรัฐฯเปนทุน สํารองระหวางประเทศไดเปนที่โตแยงนับตั้งแตธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ไดพิมพเงินดอลลารในการลาง หนี้มากขึ้นผานการผอนคลายเชิงปริมาณ (Q.E.) นายดรากีประธานของธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) ได พยายามที่จะลบความคิดในการใช QE ดังกลาวออกไปจากทางเลือกแมจะมีนโยบายลดดอกเบี้ยไป 0.50% ตั้งแตเขามารับตําแหนง รูปที่ 6. แสดงใหเห็นถึงงบดุลของเฟดและอีซีบี ซึ่งชี้ใหเห็นวาธนาคารกลาง ทั้งสองเริ่มใช QE ตั้งแต Lehman Brothers ลมละลายและตลาดการเงินไดสะดุดลง และเฟดไดกลับมาใช QE อีกในเดือนพฤศจิกายน 2010 (QE2) ซึ่งอีซีบีก็ไดใช QE ในรูปแบบของความพยายามที่จะไมไดตนทุน การกูยืมของรัฐบาลเพิ่มขึ้นตามการกรีซที่ประสบปญหาทางการเงิน รูปที่ 5. ยูโรไดเพิ่มสัดสวนในเงินทุนสํารองตางประเทศ รูปที่ 6. งบดุลของเฟดและอีซีบี World's breakdown of reserve currency 74 30 3,000 72 28 2,500 70 26 2,000 68 24 1,500 66 22 1,000 64 20 500 62 18 60 16 - 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 02 03 04 05 06 07 08 09 10 % holding in USD (left axis) % holding in EUR (right axis) Fed's balance sheet, USD bn ECB balance sheet, EUR bn Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank 77 7
  • 8. การที่โลกกําหนดระดับพรีเมี่ยมหรือสวนลดของดอลลารสหรัฐฯ จะเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดทิศทาง ของดอลลาร/บาท ... มากกวาความสัมพันธระหวางกระแสเงินสดตางประเทศของไทย ซึ่งก็คือ เงินทุน สํารองระหวางประเทศและดอลลาร/บาท รูปที่ 7. EUR/USD เทียบกับ USD/THB รูปที่ 8. เงินทุนสํารองตางประเทศเทียบกับ USD/THB USD/THB USD/THB 48 48 46 46 y = -7.361Ln(x) + 68.817 44 y = -18.455x + 59.943 44 2 R = 0.8883 42 2 42 R = 0.672 40 40 38 38 36 36 34 34 32 32 30 1.3393 30 28 28 26 0.80 0.90 1.00 1.10 1.20 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70 25 50 75 100 125 150 175 200 225 250 EUR/USD FX reserves to USD/THB mapping current 2012 forecast FX reserves, USD bn Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank จะเห็นไดวาทิศทางของดอลลาร/บาทไดเคลื่อนไหวอยางใกลชิดตามวิธีการที่ยูโรโซนจัดการกับวิกฤตหนี้ ของตน กระแสเงินไหลมีแนวโนมที่จะไมไหลเขาไปในสินทรัพยเสี่ยงและยายไปยังสินทรัพยที่อยูในรูปของ สกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ หากความเสี่ยงของตลาดยังคงผันผวน ถาประเทศยูโรโซนสามารถหาวิธีการ แกปญหาเพื่อใหสมาชิกคงอยูในสหภาพยูโรในไดในขณะที่ปญหาหนี้คอย ๆ ไดรับการแกไข กระแสเงินทุนก็ จะไหลเขามาสูประเทศในแถบเอเชียอีกครั้ง นอกเหนือจากสภาพแวดลอมในการลงทุนที่ดีขึ้นในปถัดไป สหรั ฐ ฯ มี แ นวโน ม ที่ จ ะทํ า การผ อ นคลายเชิ ง ปริ ม าณ (QE3) การผ อ นคลายเชิ ง ปริ ม าณไม น า จะมี ประสิทธิภาพพอที่จะการกระตุนการจางงานและเศรษฐกิจในสหรัฐฯ แตการผอนคลายเชิงปริมาณที่ยังเปน กลไกที่มีประสิทธิภาพในการอัดฉีดเงินเพื่อชําระหนี้สินเมื่อคาเงินดอลลารสหรัฐฯ ออนคาอยางตอเนื่อง ดังนั้น เรานาจะไดเห็นดอลลาร/บาทปรับตัวลดลง ดังที่คาดการณไววาจะไปแตะที่ระดับ 29.50 ในปลายป 2555 แมวาเราคาดวาดอลลาร/บาทจะปรับตัวลง แตตลาดก็จะเห็นความผันผวนที่ยังคงมีอยู โดยเฉพาะ ในช วงครึ่ง แรกของป 2555 เพราะประเทศในยูโ รโซนนา จะยัง ไมส ามารถบรรลุขอ ตกลงไดใ นเร็ว ๆ นี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาบางประเทศจําเปนจะตองจัดการลงประชามติในการที่จะแกไขรัฐธรรมนูญ ผูสงออก และผูนําในประเทศไทยควรจะจับตามองดูความเคลื่อนไหวในตลาดอยางใกลชิดเนื่องจากอาจมีความ กังวลเกี่ยวกับสภาพคลองของเงินดอลลารสหรัฐฯ อีกครั้งเมื่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรเพิ่มขึ้นหรือเมื่อมี ปญหาเกี่ยวกับการเพิ่มทุนของธนาคารในยูโรโซน 88 8
  • 9. ไขหวัดสเปน 2012 ECB จะสามารถปองกันไมใหตนทุนการกูยืมของรัฐบาลอิตาลีและสเปนเพิ่มขึ้นไดนานสัก เทาใด สิ่งที่นาสนใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ออนแอของยูโรโซน คือ ตลาดแรงงานที่ขาดประสิทธิภาพ ที่ขดขวางการปรับตัวเพื่อรับมือกับปญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ั ยูโรโซนไมมีเวลามากพอที่จะแกไขปญหาตลาดแรงงานของตนเพื่อสรางการเติบโตทาง เศรษฐกิจ ทั้งนี้เพราะยูโรโซนอาจแตกออกจากกันกอนที่เศรษฐกิจที่แทจริงจะฟนตัว ใครคือผูท่จะมาชวยเงินยูโรในป 2012 นี้? ี เรามารวมกันสํารวจความเปนไปไดเหลานี้กันที่น่ี ไขหวัด(ทางการเงิน) สเปน ไขหวัดสเปนหรือที่เรียกกันวาโรคระบาดไขหวัดใหญ 1918 ถูกบันทึกวาเปนโรคระบาดรายแรงที่สุดใน ประวัติศาสตรโลก เชื่อกันวาประมาณ 3% ของประชากรโลกตองเสียชีวิตดวยโรคระบาดดังกลาว โรค ระบาดนี้อุบัติขึ้นในชวงปลายของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงผลกระทบตอทั้งประเทศฝายพันธมิตร (อัน ไดแก อังกฤษ ฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา) และอํานาจกลาง Central Powers (อันไดแก เยอรมนี ออสเตรีย และฮังการี) อยางไรก็ดี ขาวสารเกี่ยวกับโรคระบาดและเหยื่อผูเคราะหรายกลับถูกเก็บงําเปนความลับ เพราะเกรงวามันอาจบั่นทอนกําลังใจของเหลาทหารหาญ ทวา สเปนซึ่งในขณะนั้นเปนประเทศที่เปนกลาง และไมมีการปดบังขาวสารของโรคระบาดดังกลาวรวมทั้งผลพวงของมหันตภัยที่ตามมา ทําใหโรคระบาด ไขหวัดใหญ 1918 นี้แมจะไมไดถือกําเนิดหรือแพรระบาดมาจากสเปน กลับเปนที่รูจักในชื่อวา “ไขหวัด สเปน” ไดมีการรําลึกครบรอบหนึ่งปของการใหความชวยเหลือจากกองทุนการเงินระหวงประเทศ IMF และสหภาพ ยุโรป EU ตอไอรแลนดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ที่สงผลใหเศรษฐกิจที่ออนแอของไอรแลนดกลับมาฟน ตัวอยางชาๆ โปรตุเกสดําเนินมาตรการความเขมงวดทางการเงินเพื่อลดบทบาทของภาครัฐอันนําไปสูการ ปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ และกรีซซึ่งกําลังรอรับความชวยเหลือทางการเงินครั้งถัดไปภายหลังจากที่ ไดรับการอนุมัติเงินชวยเหลือจากกลุมผูบริหารการเงินยูโรโซน เสนทางทางเศรษฐกิจในอนาคตของประเทศ ทั้งสามนี้เริ่มดีขึ้นหลังจากที่เงินยูโรผานภาวะสั่นคลอนและไดเกิดความวุนวายทางการเงินทั่วโลกในชวงปที่ ผานมา อยางไรก็ดี อาจกลาวไดวาจํานวนหนี้สินที่ประเทศทั้งสามคางชําระอยูดูจะไมสลักสําคัญเลยเทียบ กับของอิตาลีและสเปน ในชวงเดือนพฤศจิกายนที่ผานมา บรรดานักลงทุนตางมีความกังวลเกี่ยวกับการ เพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีและสเปนที่แตะผานระดับ 7% ECB ไดพยายามอยางยิ่งยวด 99 9
  • 10. ที่จะซื้อพันธบัตรเหลานี้เพื่อลดตนทุนการกูยืมของรัฐบาล ECB จะสามารถปองกันไมใหตนทุนการกูยืม ของรัฐบาลอิตาลีและสเปนเพิ่มขึ้นไดนานเทาใด อิตาลีและสเปนถูกจับตามองวากําลังเรงเพิ่มมาตรการ ความเขมงวดทางการคลังเพื่อเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนในตลาดพันธบัตร ไมเชนนั้นแลว พวกเขาก็มี แนวโนมที่จะถูกจัดอยูในกลุมเดียวกันกับสามประเทศที่กลาวมาขางตนที่ในที่สุดแลวจําตองรองขอการ สนับสนุนทางการเงินจาก IMF และ ECB ความแตกตางที่สําคัญอยูที่เม็ดเงินที่อิตาลีและสเปนตองการนั้น อาจสู ง กว า ประเทศทั้ ง สามเหล า นี้ ดั ง นั้ น จึ ง นั บ เป น เรื่ อ งที่ ท า ทายผู นํ า ยู โ รโซนให ข บคิ ด เกี่ ย วกั บ การ สนับสนุนทางการเงินแกประเทศทั้งสองนี้ หากรัฐบาลในยูโรโซนลมเหลวในการควบคุมการเพิ่มขึ้นของ อัต ราผลตอบแทนพัน ธบัต รแลว ปญ หาหนี้ยูโ รโซนก็มีแ นวโนมวา จะยา งเข า สู ภ าวะวิกฤติท างการเงิ น ระหวางประเทศอยางเต็มตัวในทันทีที่อิตาลีและสเปนประกาศไมสามารถชําระหนี้ได สถาบันการเงินใน ยุโรป สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่น ๆ จะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงเพราะเงินทุนของพวกเขาจะลดลง ธนาคารตางๆจําเปนตองระดมทุนโดยการกูยืมเงินจาก IMF, EFSF และสถาบันการเงินอื่น ๆ ธนาคารใน เยอรมันีและฝรั่งเศสก็มีแนวโนมที่จะลดการใหงินกูยืมลงอันอาจสงผลกระทบตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน กลุมยูโรโซน สรุปแลวไขหวัดสเปนจะกลับมายุโรปอีกครั้งหรือไม อาจเปนไปไดวาไขหวัดจะแพรกระจายไป ยังประเทศตางๆทั่วโลกอีกครั้งในปหนา คราวนี้เราลองมาสํารวจหาทางที่นาจะมีประสิทธิภาพในการ เยียวยาวิกฤติหนี้สินนี้กอนที่มันจะยางกรายเขามาในประเทศไทยกัน รากเหงาของปญหาทางเศรษฐกิจ หลายคนสงสัยวาอะไรคือรากเหงาของปญหาทางเศรษฐกิจในยูโรโซนอันกอใหเกิดปญหาความวุนวายทาง การเงิ น คํ า ตอบมี อ ยู ม ากมายด ว ยกั น เช น การจั ด เก็ บ ภาษีน อ ยเกิ น ไป ภาครั ฐ มีภ าระค า ใช จ า ยเพื่ อ สวัสดิการสังคมสูงเกินไป การเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนที่เขมงวดเกินไปเพราะระบบสกุลเงินเดียว เปนตน อาจกลาวไดวาคําตอบเหลานี้ถูกตองทั้งหมด และนอกจากนี้ นักวิชาการหลายทานยังมีการถกเถียง กั น เกี่ยวกับ การละทิ้ง เงิน ยูโ รเพื่อ เพิ่มศัก ยภาพการแข ง ขัน ของประเทศที่เป น หนี้ สิ่ง ที่น า สนใจที่นา จะ กลาวถึงก็คือ ตลาดแรงงานที่ขาดศักยภาพในยูโรโซนไดชะลอการปรับตัวเพื่อรับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจ ป ญ หาหนี้ สิ น ในยู โ รโซนจะดี ขึ้ น หากเศรษฐกิ จ ของประเทศเหล า นี้ ข ยายตั ว อย า งไรก็ ดี ป ญ หาใน ตลาดแรงงานทําใหเศรษฐกิจมีแนวโนมที่จะยังคงซบเซาในชวงระยะเวลาหนึ่ง อัต ราการวา งงานยั ง คงพุ ง สูง ในยู โ รโซน โดยเฉพาะอยา งยิ่ง ในสเปน ภายหลัง จากที่ วิก ฤติการเงิ น ซั ด กระหน่ําสหรัฐอเมริกา ประเทศตางๆในยูโรโซนก็ถูกผลกระทบอยางรุนแรง ทําใหเศรษฐกิจของพวกเขาหด ตัวลงในขณะที่อัตราการวางงานเพิ่มสูงขึ้น คนวัยหนุมสาวเปนกลุมที่ไดรับผลกระทบอยางมาก เพราะแมวา ระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจจะใกลเคียงกับประเทศอื่น ๆ แตอัตราการวางงานของหนุมสาวชาวสเปนสูง เกือบถึง 50% อัตราการวางงานที่มีระดับสูงเชนนี้กระทบตอโครงสรางทางสังคมของสเปนอันจะนําไปสู ปญหาทางเศรษฐกิจในระยะยาว นายจางในประเทศที่มีอัตราการวางงานสูงมักจะไมฝกอบรมแรงงานของ 1010 10
  • 11. พวกเขา ทําใหการเติบโตทางประสิทธิภาพการผลิตลดลง และแมวาประเทศเหลานี้จะผานรอนผานหนาว ทางเศรษฐกิจมาก็ตามแตแรงงานหนุมสาวเหลานี้ก็ไมอาจมีทักษะพรอมพอจะรองรับการเติบโตทางธุรกิจ ได จึงอาจทําใหพวกเขาวางงานนานยิ่งขึ้น หรือบางทีพวกเขาอาจจําเปนตองเขารับการฝกอบรมกอนกลับ เขาสูตลาดแรงงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน อัตราการวางงานที่สูงยังมีผลกระทบตอความยั่งยืน ทางการคลัง รายรับของรัฐบาลมีแนวโนมที่จะลดลง ประเทศที่มีการจางงานต่ํามีแนวโนมที่จะเก็บภาษี รายไดต่ํา และเมื่อประชาชนมีรายไดต่ําหรือวางงาน พวกเขามีแนวโนมที่จะจับจายลดนอยลง ทําใหภาษี การบริโภคลดลงเชนกัน ในทางตรงกันขาม คาใชจายของภาครัฐดูเหมือนจะสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผลประโยชนที่อาจไดรับจากการวางงานรวมทั้งสวัสดิการสังคมอื่นๆ เมื่อรายรับต่ํากวารายจาย รัฐบาลก็ จําตองสรางภาระหนี้เพิ่มมากขึ้น ดวยเหตุนี้เอง ตลาดแรงงานที่ไรประสิทธิภาพจึงถูกมองวามีผลกระทบตอ หนี้ภาครัฐซึ่งมีแนวโนมที่จะทําใหระดับหนี้สาธารณะของยูโรโซนเพิ่มมากขึ้นดวย รูปที่ 9. อัตราการวางงาน รูปที่ 10. อัตราการวางงานคนวัยหนุมสาว Unemployment rate (%) Unemployment rate people under 25 year of age (%) 24 50 45 19 40 35 30 14 25 20 9 15 10 4 5 Sep-06 Sep-07 Sep-08 Sep-09 Sep-10 Sep-11 Oct-06 Oct-07 Oct-08 Oct-09 Oct-10 Oct-11 Germany Spain Italy France Greece Germany Spain Italy France Greece Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank แลวจะแกไขตลาดแรงงานที่ขาดประสิทธิภาพไดอยางไร กอนอื่น เราตองเขาใจถึงรากเหงาของปญหา ใน หลักเศรษฐศาสตรแรงงาน สถานการณในยูโรโซนเรียกวา “ปญหาที่เกิดขึ้นของคนวงใน (insider) และคน วงนอก (outsider)” บรรดาผูที่มีงานทําหรือลูกจางถาวร (คนวงใน) ตองการคาจางที่สูงขึ้น ในขณะที่ผูที่ไมมี งาน (คนวงนอก) ไม ส ามารถผ า นพ น อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยคนวงในจึ ง ทํ า ให พ วกเขายั ง คงว า งงาน ตัวอยางเชน สหภาพแรงงานกดดันบริษัทใหเพิ่มเงินเดือนใหกับลูกจาง รวมทั้งมอบผลประโยชนที่ควรไดรับ ในกรณี ที่ ว า งงาน ในบางประเทศ เช น ในสเปน บริษั ท จะตอ งแบกรับ ค า ใช จ า ยมหาศาลหากเลิก จา ง ลูกจางประจํา กลาวคือ ตองจายถึง 33-45 วันตอปท่ีทํางาน หรืออาจมากถึง 42 เดือนของเงินเดือนสําหรับ กรณีของการเลิกจางขาดความชอบธรรม คาแรงที่สูงทําใหนายจางไมสนใจที่จะจางแรงงานใหม และ นายจางก็มีแนวโนมที่จะจางแรงงานชั่วคราวเพื่อหลีกเลี่ยงการที่รัฐปกปองแรงงานประจํา อยางไรก็ ดี สัญญาวาจางชั่วคราวไมคอยไดรับความสนใจจากลูกจางเทาใดนักเพราะผลประโยชนที่ลูกจางเหลานี้ไดรับ มีเพียงนอยนิดเทานั้น ทั้งนี้ เนื่องจากคนที่วางงานจะไดรับสิทธิประโยชนจากการวางงานทําใหพวกเขาไม 1111 11
  • 12. สนใจทํางานที่ไดคาจางต่ํา สหภาพแรงงานเองก็ปองกันไมใหบริษัทลดคาจางเมื่อบริษัทมีรายรับลดนอยลง ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อเปนการปองกันความยืดหยุนของคาจาง ดังนั้น เมื่อบริษัทไมมีทางเลือกจึง จําตองไลคนงานออก วิธีการแกปญหาอัตราการวางงานสูงที่รวดเร็วมีดังนี้คือ หนึ่ง ลดสิทธิประโยชนอันเกิด  จากการวางงาน สอง เพิ่มแรงจูงใจใหกับแรงงานชั่วคราว สาม เพิ่มความยืดหยุนของคาจาง คําถามตอมา ก็คือ จะตองใชเวลาเทาไหรจึงจะแกปญหาเหลานี้ได ดูเหมือนวาปญหาของตลาดแรงงานจะตองใชเวลา และความรวมมือจากสวนตางๆในการแกไข ซึ่งบางครั้งอาจไมทันเวลาที่จะสรางการเติบโตทางเศรษฐกิจ และแกปญ หาวิกฤตหนี้ในยูโรโซนได สมาชิกของยูโรโซนจํานวนหนึ่งอาจลาออกสหภาพการเงิน ยุโรป (EMU) ซึ่งอาจถูกมองวาเปนการทําลายความเชื่อมั่นในระบบสกุลเงินยูโรอยางคอยเปนคอยไป รูปที่ 11. โครงสรางอายุประชากร รูปที่ 12. การเติบโตทางเศรษฐกิจ 22 Economic growth rate (%) 8 21 6 20 4 19 2 18 0 -2 17 -4 16 -6 15 -8 Germany Spain Italy France Greece Sep-06 Sep-07 Sep-08 Sep-09 Sep-10 Sep-11 Population abov e 65 y ears old (%) Germany Spain Italy France Greece Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank รูปที่ 13. หนี้ภาครัฐ รูปที่ 14. ดุลการคลัง Public debt (% of GDP) Budget balance (% of GDP) 160 4 140 0 120 100 -4 80 -8 60 -12 40 20 -16 Dec-06 Dec-07 Dec-08 Dec-09 Dec-10 Dec-11 Dec-12 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 Germany Spain Italy France Greece Germany Spain Italy France Greece Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank ใครคือผูที่จะมาชวยเงินยูโรในป 2012 นี้? ยูโรโซนไมมีเวลามากพอที่จะแกไขปญหาตลาดแรงงานเพื่อกระตุนการเติบโตทางเศรษฐกิจและภาระหนี้สิน เพราะยูโรโซนอาจแตกออกจากกันกอนที่สภาพเศรษฐกิจที่แทจริงจะฟนคืน นักลงทุนมองวาพวกเขากําลัง รอคอยวิธีการแกปญหาในการลดตนทุนการกูยืมของอิตาลีและสเปน เพราะเกรงวาสองประเทศนี้จะไม 1212 12
  • 13. สามารถชําระดอกเบี้ยหรือเงินตนอันอาจนําไปสูปญหาการชําระหนี้ที่สั่นคลอนตลาดการเงินโลก เวลาของ เราใกลหมดลงเมื่ออัตราผลตอบแทนพันธบัตรของอิตาลีกําลังเอื้อมแตะระดับ 8% ในไมชา และยูโรโซน อาจจะลมสลายในปหนาดวยไขหวัดสเปน ดังนั้น ใครจะเปนผูที่ชวยเงินยูโรในป 2012 ลองมาสํารวจความ เปนไปไดเหลานี้กันวาจะเปน ECB-EFSF-IMF, BRICS, Fed หรือ Eurobonds ทางเลือกที่เปนไปไดทางหนึ่งดูเหมือนจะเปนความรวมมือกันระหวาง ECB, EFSF และ IMF ปลายเดือนที่แลวพบวามีความพยายามที่จะเพิ่มศักยภาพของ IMF เพื่อสนับสนุนทางการเงินใหกับประเทศ ที่ประสบปญหาใหปฏิบัติตามเงื่อนไขในการชําระหนี้ใหมากยิ่งขึ้น ECB รวมกับ IMF อัดฉีดเงินทุนเพิ่มเติม ใหกับ EFSF สัญญาในการค้ําประกันอาจเพิ่มจาก 7.8 แสนลานยูโร เปน 1 ลาน ลานยูโร EFSF สามารถ ออกพันธบัตรที่มีสิทธิ์เปนหลักทรัพยค้ําประกันในการดําเนินงานทางการเงินของ ECB พันธบัตรเหลานี้ สามารถนํามาระดมทุนเพื่อชวยธนาคารที่มีปญหาดวยการลดคุณภาพสินทรัพยหรือลดราคาพันธบัตร แลว มันจะสัมฤทธิ์ผลไดอยางไร ลองคิดดูวานี่คือการฟอกเงินอยางหนึ่ง ECB ไมสามารถซื้อพันธบัตรรัฐบาล โดยตรงจากสมาชิกรัฐบาลอื่นๆได หรือพูดไดวาเปน "ไมมีการชวย bailout " สําหรับประเทศที่ลมจม ดังนั้น ECB จําตองใหการสนับสนุนทางการเงินกับ EFSF หรือตองผานการตรวจสอบจาก IMF จากนั้น EFSF จะ ซื้อพันธบัตรจากประเทศที่ประสบปญหาเพื่อลดอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอันเปนกระบวนการของการลด ตนทุนการกูยืมและเรียกความเชื่อมั่นกลับคืนมาใหกับนักลงทุน แมวา ECB จะไมไดใชเงินภาษีเพื่อชวย PIIGS โดยตรง พวกเขาไดรับความชวยเหลือจาก EFSF และ IMF ไมมากก็นอย และที่สุด EFSF อาจสง เงินใหกับรัฐบาล PIIGS หรืออนุญาตใหพวกเขาเขาถึงตลาดทุนดวยอัตราดอกเบี้ยที่สมเหตุสมผล คําถามก็คอ วิธีการนี้จะสัมฤทธิ์ผลไหม บางทีคําตอบคือ ไม และดูเหมือนจะมีแนวโนมวาการสนับสนุนจาก ื EFSF จะสิ้นสุดทันทีหลังจากที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรยังคงเพิ่มสูงขึ้น ราคาพันธบัตรที่ลดลงกําลัง สงผลกระทบตอเงินทุนของธนาคารในยุโรป ธนาคารจําเปนตองเพิ่มทุนเพื่อชวยแกไขปญหา อยางไรก็ดี ธนาคารอาจจะตัดการใหกูยืมซึ่งสงผลใหเกิดภาวะถดถอยหรือการชะลอตัวทางเศรษฐกิจในยูโรโซน หนี้ตอ จีดีพีมีแนวโนมที่จะยังคงอยูในระดับสูงหรืออาจมีการเพิ่มขึ้นของหนี้และการลดลงของ GDP ไมมีวิธีการ แกปญหาระยะยาวที่จะชวยลดหนี้สาธารณะหรือการเพิ่มวินัยทางการคลังได ดังนั้น วิธีการแกปญหา ดังกลาวจึงเปนการยื้อปญหามากกวาที่จะเปนการแกไข อีกอยางหนึ่งก็คือเราอาจสงสัยวา ใครคือคนที่จะ ชวยสนับสนุน EFSFหากเราพิจารณาจากองคประกอบของกองทุน EFSF จะเห็นวา กวาสามในสี่มาจาก เยอรมนี (29%), ฝรั่งเศส (22%), อิตาลี (19%) และสเปน (13%) ธนาคารของประเทศกําลังประสบปญหา เชนกัน มันไมนาเปนไปไดที่ประเทศเหลานี้จะชวยสนับสนุนกองทุน EFSF เพราะประเทศเหลานี้จําตอง แกปญหาในประเทศของพวกเขากอนที่จะชวยเหลือผูอื่น 1313 13
  • 14. รูปที่ 15. ภาระหนี้ตางประเทศ รูปที่ 16. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล USD bn Foreign claims on public debt by nationality of reporting banks 180 Government 10-year bonds (%) 160 7.5 140 120 6 100 80 60 4.5 40 20 3 0 Dec-10 Mar-11 Dec-10 Mar-11 1.5 French banks German banks Jan-11 Mar-11 May-11 Jul-11 Sep-11 Nov-11 Portugal Ireland Italy Greece Spain Germany Spain Italy France Source: BIS Quarterly Review, June 2011 and September 2011 Source: Bloomberg, KBank ทางเลือกที่สองคือการขอการสนับสนุนทางการเงินจาก BRICS มันอาจฟงดูนาขบขันหากประเทศที่ไดชื่อวาเปน ประเทศที่รํ่ารวย จะขอความชวยเหลือทางการเงินใหกับผู ที่วางงานรวมทั้งเงินบํานาญจากประเทศกําลังพัฒนา นี่เปนเรื่องธรรมดาๆที่อาจเกิดขึ้นไดเพราะบรรดาคน ร่ํารวยไมตองการจายภาษีหรือปฏิบัติตามมาตรการที่เขมงวด BRICS เพลิดเพลินกับการเติบโตทาง เศรษฐกิจที่สูงขึ้นในขณะที่พวกเขาสะสมเงินสํารองตางประเทศจํานวนมาก ตัวอยางเชน ประเทศจีนเพียง ประเทศเดียวมีเงินทุนสํารองมากกวา 3.2 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จีนสามารถกระจายการลงทุนสินทรัพย สกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ ของพวกเขามาเปนสกุลเงินยูโร แตอะไรคือผลประโยชนอื่น ที่ BRICS จะไดรับจาก ใหความชวยเหลือยูโรโซน BRICS อาจใชทรัพยากรเหลานี้ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศของ ตนเพื่อชวยลดความยากจน สมมติวาพวกเขาตกลงชวยเหลือโดยการซื้อพันธบัตรของสมาชิกยูโรโซน BRICS อาจตองการซื้อหุนบางสวนของธนาคารเพื่อใชเปนวิธีในการระดมทุนในยูโรโซน แตก็เปนไปไมไดที่ สมาชิกยูโรโซนจะยอมให BRICS โดยเฉพาะอยางยิ่ง การที่ใหประเทศจีนมีอํานาจควบคุมธนาคารของพวก เขา ดังนั้นจึงเหลืออีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนั่นก็คือ BRICS จะตองซื้อพันธบัตรของสมาชิกยูโรโซน BRICS สามารถอัดฉีดเงินผาน EFSF เพื่อเปนวิธีการทางออมในการซื้อพันธบัตร นอกจากนี้ นี่อาจเปนโอกาสที่ดี สําหรับประเทศจีนที่จะมีอํานาจควบคุม IMF มากขึ้นโดยการขอโควตาการออกเสียงลงคะแนนมากขึ้น ยูโร โซนจะตองลองคิ ดดู วาพวกเขาจะยอมสู ญเสียอํานาจในการควบคุมธนาคารของพวกเขาหรือ จะยอม สูญเสียการควบคุมของ IMF ผลลัพธที่อาจเกิดขึ้นยังคงไมสามารถเรียกความเชื่อมั่นของเงินยูโรคืนได เพราะมันเปนเพียงอีกวิธีทางแกไขปญหาชั่วคราวเพื่อเหนี่ยวรั้งการเพิ่มขึ้นของตนทุนการกูยืมของ PIIGS เทานั้น 1414 14