SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1


                                                   บทความคณิตศาสตร์
                                                   “มายากลแห่งเลขฐาน”
                                                                                                         สิริพันธุ์ จันทราศรี1
          เมื่อไม่นานมานี้ ผมได้มีโอกาสพานักเรียนไปเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการในงาน
ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคเหนือ ครั้งที่ 60 ณ จังหวัดเชียงราย ขณะที่กาลังรอนักเรียนแข่งขันอยู่นั้น ผมได้
พบกับเด็กกลุ่มหนึ่งส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าวดูท่าทางสนุกสนาน ท่ามกลางเด็กๆกลุ่มนั้น มีชายคนหนึ่งยืนอยู่ข้าง
รถเข็นและในมือถืออุปกรณ์บางอย่างอยู่ “เอ้า เรามาดูมายากลชุดต่อไปกันเถอะ คราวนี้ลุงจะมาทายวันเกิด
ของพวกน้องๆกันนะ” ชายคนนั้นพูดขึ้นมา พลางหยิบการ์ดที่มีตัวเลขเขียนอยู่ออกมา จากนั้นเขาก็พูดกับ
เด็กคนหนึ่งว่า “เอ้าหนู เดี๋ยวดูที่การ์ดนี้ทีละใบนะ แล้วบอกลุงนะว่าใบไหนมีวันเกิดของหนูเขียนอยู่ ” เขาได้
แสดงการ์ดให้เด็กคนนั้นดู ทีละใบ ดังนี้

  1         3         5         7              2          3       6         7             4         5          6        7

  9         11        13        15             10         11      14        15            12        13         14       15

  17        19        21        23             18         19      22        23            20        21         22       23

  25        27        29        31             26         27      30        31            28        29         30       31



                      8         9         10         11                16        17      18        19

                      12        13        14         15                20        21      22        23

                      24        25        26         27                24        25      26        27

                      28        29        30         31                28        29      30        31


“ใบสีฟ้า สีเขียว กับสีส้มครับ” เด็กน้อยตอบ “อืม เลขสวยนะเนี่ย หนูเกิดวันที่ 21 ใช่ไหม” เขาตอบอย่าง
รวดเร็ว “ลุงรู้ได้ไงครับ” เด็กน้อยถามด้วยความสงสัย “ทายผมบ้าง ทายผมบ้าง” เด็กคนอื่นเริ่มเกิดความ
อยากรู้อยากเห็น เหตุการณ์ครั้งนี้ทาให้ผมได้ประโยชน์อยู่ 2 ประการ ประการแรก ประโยชน์ของมายากล
มายากลเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้พบเห็นเกิดความน่าอัศจรรย์ใจ เหมือนเด็กๆที่พยายามจะค้นหาคาตอบว่า ชายคน
นั้นใช้กลวิธีใดในการเล่นมายากลแต่ละอย่าง พวกเค้ามีความต้องการที่จะอยากหาคาตอบ และเรียนรู้วิธีเล่น
กลนั้น มีคนกล่าวไว้ว่า ลักษณะงานของครูอาจจะสรุปได้ 3 อย่างดังนี้ ครูต้องรู้สิ่งที่จะสอน ครูต้องรู้นักเรียน
ที่เขาจะสอน เหนือสิ่งอื่นใด ครูต้องรู้วิธีที่จะสอนนักเรียนอย่างมีศิลปะ ครูควรจะปรับปรุงศิลปะในการสอน


1 นักศึกษาปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา ภาคพิเศษ เสาร์ – อาทิตย์ รหัสนักศึกษา 530232113
2


ให้มีเนื้อหาที่เหมาะสม ทันสมัย โดยการกระตุ้นและท้าทายนักเรียนหลายคนที่ไม่เต็มใจจะเรียนให้มีความ
สนใจและประสบผลสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์ (ฉวีวรรณ เศวตมาลย์, 2544, หน้า 9) หากมายากลทาให้
นักเรียนเกิดความอยากรู้ ครูก็อาจจะใช้มายากลช่วยนาเข้าสู่บทเรียนก็เป็นได้
        ประการที่สอง ประโยชน์ของเลขฐานต่างๆ เมื่อเด็กน้อยบอกการ์ดครบแล้ว ชายคนนั้นสามารถบอก
วันเกิดของเด็กน้อยได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ท่านสงสัยหรือไม่ว่าเขารู้ได้อย่างไร หากลองใช้กลนี้หลายๆ
ครั้งกับคนหลายร้อยคน คงต้องมีซักคนที่สามารถจับเคล็ดลับการทายวันเกิดของกลนี้ได้แน่ ครั้งหนึ่งเมื่อผม
ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร ได้เคยลองเล่นกลนี้กับนักเรียนชั้นมัธยมต้นประมาณสี่ร้อยคน พบว่าเด็กบางคน
สามารถสังเกตได้ว่าวันเกิดของผู้ถูกทายมาจากการนาตัวเลขตัวแรกของการ์ดแต่ละใบมาบวกกัน และเมื่อ
เด็กๆค้นพบวิธีทายวันเกิดก็อาจจะเกิดคาถามตามมาว่าทาไมถึงเป็นเช่นนั้น โอกาสนี้เองที่ครูจะนาเข้าสู่
บทเรียนเรื่อง ตัวเลขในระบบฐานต่างๆได้ หากเราเปลี่ยนตัวเลขทั้งหมดให้เป็นเลขฐานสองจะได้ผลดังนี้
 ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบ ฐานสอง                                      ฐานสิบ        ฐานสอง
    1               1      9             1001      17              10001          25             11001
    2              10     10             1010      18              10010          26             11010
    3              11     11             1011      19              10011          27             11011
    4             100     12             1100      20              10100          28             11100
    5             101     13             1101      21              10101          29             11101
    6             110     14             1110      22              10110          30             11110
    7             111     15             1111      23              10111          31             11111
    8            1000     16            10000      24              11000
จากการสังเกตเราจะพบว่าในการ์ดแต่ละใบ ตัวเลขแต่ละตัวจะมีสิ่งที่เหมือนกันอยู่ นั่นคือ
ในการ์ดสีฟ้า เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักแรก
ในการ์ดสีชมพู เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สอง
ในการ์ดสีเขียว เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สาม
ในการ์ดสีม่วง เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สี่
ในการ์ดสีส้ม เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่ห้า
และจะเห็นว่าตัวเลขตัวแรกของการ์ดแต่ละใบ จะทาหน้าที่เสมือนค่าในแต่ละหลักของเลขฐานสอง
 12                     102                  1002                10002               100002


  1 3 5 7               2 3 6 7               4 5 6 7              8 9 10 11             16   17   18   19
  9 11 13 15           10 11 14 15           12 13 14 15          12 13 14 15            20   21   22   23
 17 19 21 23           18 19 22 23           20 21 22 23          24 25 26 27            24   25   26   27
 25 27 29 31           26 27 30 31           28 29 30 31          28 29 30 31            28   29   30   31
3


ตัวอย่างเช่น 22 เมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะได้ 101102 ซึ่งเกิดจาก 100002 + 1002 +102 นั่นคือ 16 + 4 + 2 =
22 นั่นเอง ดังนั้น หากผู้ถูกทายเกิดวันที่ 22 ผู้ถูกทายจะต้องเลือกการ์ดสีชมพู สีเขียว และสีส้ม ซึ่งผู้ทายก็จะ
สามารถนาเลขตัวแรกซึ่งเป็นตัวแทนของเลขแต่ละหลักในระบบฐานสองมาบวกกันทาให้ได้วันเกิดนั่นเอง
        จากที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นว่าเกมทายวันเกิดนี้ใช้หลักการของเลขฐานสองมาช่วยในการจัดตัวเลข
เป็นกลุ่มๆ และนาตัวเลขที่เป็นตัวแทนของแต่ละหลักเมื่อเปลี่ยนเป็นเลขฐานสองมาบวกกันนั่นเอง จาก
หลักการนี้ ครูอาจจะแนะให้นักเรียนลองสร้างกลทายตัวเลขจากเลขฐานอื่นๆ โดยที่ครูอาจจะสร้างลอง
สร้างกลทายตัวเลขจากเลขฐานสามให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างได้ดังนี้
  ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม
     1                1    21              210       41             1112       61                2021
     2                2    22              211       42             1120       62                2022
     3              10     23              212       43             1121       63                2100
     4              11     24              220       44             1122       64                2101
     5              12     25              221       45             1200       65                2102
     6              20     26              222       46             1201       66                2110
     7              21     27             1000       47             1202       67                2111
     8              22     28             1001       48             1210       68                2112
     9             100     29             1002       49             1211       69                2120
    10             101     30             1010       50             1212       70                2121
    11             102     31             1011       51             1220       71                2122
    12             110     32             1012       52             1221       72                2200
    13             111     33             1020       53             1222       73                2201
    14             112     34             1021       54             2000       74                2202
    15             120     35             1022       55             2001       75                2210
    16             121     36             1100       56             2002       76                2211
    17             122     37             1101       57             2010       77                2212
    18             200     38             1102       58             2011       78                2220
    19             201     39             1110       59             2012       79                2221
    20             202     40             1111       60             2020       80                2222
จากตารางจะเห็นว่าตัวเลขฐานสามทั้งหมดมีถึงแค่ 4 หลัก แต่ละหลักมีตัวเลขอยู่ 2 แบบคือ 1 กับ 2 ดังนั้นเรา
ต้องสร้างการ์ดทั้งหมด 8 ใบคือ ดังต่อไปนี้
4


การ์ดใบที่หนึ่ง ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักแรกของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่สอง ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักแรกของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่สาม ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สองของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่สี่ ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สองของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่ห้า ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สามของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่หก ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สามของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่เจ็ด ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สี่ของเลขฐานสาม
การ์ดใบที่แปด ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สี่ของเลขฐานสาม
        คุณครูสามารถใช้เกมนี้สอนในเรื่องตัวเลขในระบบฐานต่างๆได้ ในการสร้างเกมนั้น นักเรียนก็จะ
ได้ฝึกการเปลี่ยนเลขฐาน ครูอาจจะใช้คาถามนาเช่น หากใช้เลขฐานสองในการสร้างเกมแต่อยากจะให้
ทานายเลขมากกว่า 31 เราจะสามารถทาได้ไหม ทาอย่างไร ทาไมเมื่อสร้างเกมโดยใช้เลขฐานสามครูต้อง
สร้างถึงเลข 80 สร้างถึงเลขอื่นได้ไหม หากครูใช้คาถามช่วยก็อาจจะทาให้นักเรียนเข้าใจระบบเลขฐานมาก
ขึ้น หลังจากนักเรียนสร้างเกมเสร็จแล้วควรให้นักเรียนนาไปทดลองเล่น และกลับมารายงานผล เมื่อนักเรียน
ได้นาไปใช้จริงพวกเขาอาจจะเห็นว่าคณิตศาสตร์สามารถนาไปใช้ได้จริง ครูอาจชี้ให้นักเรียนเห็นถึง
ประโยชน์อีกทางหนึ่งของเลขฐานว่าไม่ใช่แค่นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (สุนทร ชนะกอก,
2543, หน้า 3) แต่ยังสามารถนาไปสร้างมายากล และนาไปขายเพื่อสร้างรายได้อีกด้วย
        จากสิ่งที่นาเสนอไปแล้วในข้างต้น มายากลแห่งเลขฐาน อาจจะถือได้ว่าเป็นหนึ่งใน “ศิลปะการ
สอน” ที่จะช่วยให้ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่น่าตื่นเต้น มีความหมายและควรค่าแก่การ
จดจา (ฉวีวรรณ เศวตมาลย์, 2544, หน้า 29) หากค้นคว้าดูให้ดีแล้วละก็ คุณครูยังสามารถนามายากลนี้ไป
ประยุกต์ใช้ในแบบอื่นๆ เช่นใช้รูปภาพ คา หรือ ประโยค แทนตัวเลขในการ์ดได้อีกด้วย มายากลแต่ละ
รูปแบบเหมาะสมกับนักเรียนในวัยที่แตกต่างกัน แล้วมายากลแห่งเลขฐานของท่านผู้อ่านล่ะ จะเป็นอย่างไร


                                                  อ้างอิง
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์.(2544).ศิลปะการสอนคณิตศาสตร์.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น.
สุนทร ชนะกอก.(2543).ครูคณิตศาสตร์กับจานวน.เชียงใหม่:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .(2549).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
      คณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.(พิมพ์ครั้งที่เจ็ด).
      กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6KruGift Girlz
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)Apirak Potpipit
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 

Was ist angesagt? (20)

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติม.6
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 

Mehr von Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

Mehr von Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

มายากลแห่งเลขฐาน

  • 1. 1 บทความคณิตศาสตร์ “มายากลแห่งเลขฐาน” สิริพันธุ์ จันทราศรี1 เมื่อไม่นานมานี้ ผมได้มีโอกาสพานักเรียนไปเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคเหนือ ครั้งที่ 60 ณ จังหวัดเชียงราย ขณะที่กาลังรอนักเรียนแข่งขันอยู่นั้น ผมได้ พบกับเด็กกลุ่มหนึ่งส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าวดูท่าทางสนุกสนาน ท่ามกลางเด็กๆกลุ่มนั้น มีชายคนหนึ่งยืนอยู่ข้าง รถเข็นและในมือถืออุปกรณ์บางอย่างอยู่ “เอ้า เรามาดูมายากลชุดต่อไปกันเถอะ คราวนี้ลุงจะมาทายวันเกิด ของพวกน้องๆกันนะ” ชายคนนั้นพูดขึ้นมา พลางหยิบการ์ดที่มีตัวเลขเขียนอยู่ออกมา จากนั้นเขาก็พูดกับ เด็กคนหนึ่งว่า “เอ้าหนู เดี๋ยวดูที่การ์ดนี้ทีละใบนะ แล้วบอกลุงนะว่าใบไหนมีวันเกิดของหนูเขียนอยู่ ” เขาได้ แสดงการ์ดให้เด็กคนนั้นดู ทีละใบ ดังนี้ 1 3 5 7 2 3 6 7 4 5 6 7 9 11 13 15 10 11 14 15 12 13 14 15 17 19 21 23 18 19 22 23 20 21 22 23 25 27 29 31 26 27 30 31 28 29 30 31 8 9 10 11 16 17 18 19 12 13 14 15 20 21 22 23 24 25 26 27 24 25 26 27 28 29 30 31 28 29 30 31 “ใบสีฟ้า สีเขียว กับสีส้มครับ” เด็กน้อยตอบ “อืม เลขสวยนะเนี่ย หนูเกิดวันที่ 21 ใช่ไหม” เขาตอบอย่าง รวดเร็ว “ลุงรู้ได้ไงครับ” เด็กน้อยถามด้วยความสงสัย “ทายผมบ้าง ทายผมบ้าง” เด็กคนอื่นเริ่มเกิดความ อยากรู้อยากเห็น เหตุการณ์ครั้งนี้ทาให้ผมได้ประโยชน์อยู่ 2 ประการ ประการแรก ประโยชน์ของมายากล มายากลเป็นสิ่งที่ทาให้ผู้พบเห็นเกิดความน่าอัศจรรย์ใจ เหมือนเด็กๆที่พยายามจะค้นหาคาตอบว่า ชายคน นั้นใช้กลวิธีใดในการเล่นมายากลแต่ละอย่าง พวกเค้ามีความต้องการที่จะอยากหาคาตอบ และเรียนรู้วิธีเล่น กลนั้น มีคนกล่าวไว้ว่า ลักษณะงานของครูอาจจะสรุปได้ 3 อย่างดังนี้ ครูต้องรู้สิ่งที่จะสอน ครูต้องรู้นักเรียน ที่เขาจะสอน เหนือสิ่งอื่นใด ครูต้องรู้วิธีที่จะสอนนักเรียนอย่างมีศิลปะ ครูควรจะปรับปรุงศิลปะในการสอน 1 นักศึกษาปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาคณิตศาสตร์ศึกษา ภาคพิเศษ เสาร์ – อาทิตย์ รหัสนักศึกษา 530232113
  • 2. 2 ให้มีเนื้อหาที่เหมาะสม ทันสมัย โดยการกระตุ้นและท้าทายนักเรียนหลายคนที่ไม่เต็มใจจะเรียนให้มีความ สนใจและประสบผลสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์ (ฉวีวรรณ เศวตมาลย์, 2544, หน้า 9) หากมายากลทาให้ นักเรียนเกิดความอยากรู้ ครูก็อาจจะใช้มายากลช่วยนาเข้าสู่บทเรียนก็เป็นได้ ประการที่สอง ประโยชน์ของเลขฐานต่างๆ เมื่อเด็กน้อยบอกการ์ดครบแล้ว ชายคนนั้นสามารถบอก วันเกิดของเด็กน้อยได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ท่านสงสัยหรือไม่ว่าเขารู้ได้อย่างไร หากลองใช้กลนี้หลายๆ ครั้งกับคนหลายร้อยคน คงต้องมีซักคนที่สามารถจับเคล็ดลับการทายวันเกิดของกลนี้ได้แน่ ครั้งหนึ่งเมื่อผม ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร ได้เคยลองเล่นกลนี้กับนักเรียนชั้นมัธยมต้นประมาณสี่ร้อยคน พบว่าเด็กบางคน สามารถสังเกตได้ว่าวันเกิดของผู้ถูกทายมาจากการนาตัวเลขตัวแรกของการ์ดแต่ละใบมาบวกกัน และเมื่อ เด็กๆค้นพบวิธีทายวันเกิดก็อาจจะเกิดคาถามตามมาว่าทาไมถึงเป็นเช่นนั้น โอกาสนี้เองที่ครูจะนาเข้าสู่ บทเรียนเรื่อง ตัวเลขในระบบฐานต่างๆได้ หากเราเปลี่ยนตัวเลขทั้งหมดให้เป็นเลขฐานสองจะได้ผลดังนี้ ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบ ฐานสอง 1 1 9 1001 17 10001 25 11001 2 10 10 1010 18 10010 26 11010 3 11 11 1011 19 10011 27 11011 4 100 12 1100 20 10100 28 11100 5 101 13 1101 21 10101 29 11101 6 110 14 1110 22 10110 30 11110 7 111 15 1111 23 10111 31 11111 8 1000 16 10000 24 11000 จากการสังเกตเราจะพบว่าในการ์ดแต่ละใบ ตัวเลขแต่ละตัวจะมีสิ่งที่เหมือนกันอยู่ นั่นคือ ในการ์ดสีฟ้า เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักแรก ในการ์ดสีชมพู เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สอง ในการ์ดสีเขียว เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สาม ในการ์ดสีม่วง เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่สี่ ในการ์ดสีส้ม เลขทุกตัวเมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะมี 1 อยู่ในหลักที่ห้า และจะเห็นว่าตัวเลขตัวแรกของการ์ดแต่ละใบ จะทาหน้าที่เสมือนค่าในแต่ละหลักของเลขฐานสอง 12 102 1002 10002 100002 1 3 5 7 2 3 6 7 4 5 6 7 8 9 10 11 16 17 18 19 9 11 13 15 10 11 14 15 12 13 14 15 12 13 14 15 20 21 22 23 17 19 21 23 18 19 22 23 20 21 22 23 24 25 26 27 24 25 26 27 25 27 29 31 26 27 30 31 28 29 30 31 28 29 30 31 28 29 30 31
  • 3. 3 ตัวอย่างเช่น 22 เมื่อแปลงเป็นเลขฐานสองจะได้ 101102 ซึ่งเกิดจาก 100002 + 1002 +102 นั่นคือ 16 + 4 + 2 = 22 นั่นเอง ดังนั้น หากผู้ถูกทายเกิดวันที่ 22 ผู้ถูกทายจะต้องเลือกการ์ดสีชมพู สีเขียว และสีส้ม ซึ่งผู้ทายก็จะ สามารถนาเลขตัวแรกซึ่งเป็นตัวแทนของเลขแต่ละหลักในระบบฐานสองมาบวกกันทาให้ได้วันเกิดนั่นเอง จากที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นว่าเกมทายวันเกิดนี้ใช้หลักการของเลขฐานสองมาช่วยในการจัดตัวเลข เป็นกลุ่มๆ และนาตัวเลขที่เป็นตัวแทนของแต่ละหลักเมื่อเปลี่ยนเป็นเลขฐานสองมาบวกกันนั่นเอง จาก หลักการนี้ ครูอาจจะแนะให้นักเรียนลองสร้างกลทายตัวเลขจากเลขฐานอื่นๆ โดยที่ครูอาจจะสร้างลอง สร้างกลทายตัวเลขจากเลขฐานสามให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างได้ดังนี้ ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม ฐานสิบ ฐานสาม 1 1 21 210 41 1112 61 2021 2 2 22 211 42 1120 62 2022 3 10 23 212 43 1121 63 2100 4 11 24 220 44 1122 64 2101 5 12 25 221 45 1200 65 2102 6 20 26 222 46 1201 66 2110 7 21 27 1000 47 1202 67 2111 8 22 28 1001 48 1210 68 2112 9 100 29 1002 49 1211 69 2120 10 101 30 1010 50 1212 70 2121 11 102 31 1011 51 1220 71 2122 12 110 32 1012 52 1221 72 2200 13 111 33 1020 53 1222 73 2201 14 112 34 1021 54 2000 74 2202 15 120 35 1022 55 2001 75 2210 16 121 36 1100 56 2002 76 2211 17 122 37 1101 57 2010 77 2212 18 200 38 1102 58 2011 78 2220 19 201 39 1110 59 2012 79 2221 20 202 40 1111 60 2020 80 2222 จากตารางจะเห็นว่าตัวเลขฐานสามทั้งหมดมีถึงแค่ 4 หลัก แต่ละหลักมีตัวเลขอยู่ 2 แบบคือ 1 กับ 2 ดังนั้นเรา ต้องสร้างการ์ดทั้งหมด 8 ใบคือ ดังต่อไปนี้
  • 4. 4 การ์ดใบที่หนึ่ง ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักแรกของเลขฐานสาม การ์ดใบที่สอง ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักแรกของเลขฐานสาม การ์ดใบที่สาม ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สองของเลขฐานสาม การ์ดใบที่สี่ ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สองของเลขฐานสาม การ์ดใบที่ห้า ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สามของเลขฐานสาม การ์ดใบที่หก ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สามของเลขฐานสาม การ์ดใบที่เจ็ด ให้ใส่ตัวเลขที่มี 1 อยู่ในหลักที่สี่ของเลขฐานสาม การ์ดใบที่แปด ให้ใส่ตัวเลขที่มี 2 อยู่ในหลักที่สี่ของเลขฐานสาม คุณครูสามารถใช้เกมนี้สอนในเรื่องตัวเลขในระบบฐานต่างๆได้ ในการสร้างเกมนั้น นักเรียนก็จะ ได้ฝึกการเปลี่ยนเลขฐาน ครูอาจจะใช้คาถามนาเช่น หากใช้เลขฐานสองในการสร้างเกมแต่อยากจะให้ ทานายเลขมากกว่า 31 เราจะสามารถทาได้ไหม ทาอย่างไร ทาไมเมื่อสร้างเกมโดยใช้เลขฐานสามครูต้อง สร้างถึงเลข 80 สร้างถึงเลขอื่นได้ไหม หากครูใช้คาถามช่วยก็อาจจะทาให้นักเรียนเข้าใจระบบเลขฐานมาก ขึ้น หลังจากนักเรียนสร้างเกมเสร็จแล้วควรให้นักเรียนนาไปทดลองเล่น และกลับมารายงานผล เมื่อนักเรียน ได้นาไปใช้จริงพวกเขาอาจจะเห็นว่าคณิตศาสตร์สามารถนาไปใช้ได้จริง ครูอาจชี้ให้นักเรียนเห็นถึง ประโยชน์อีกทางหนึ่งของเลขฐานว่าไม่ใช่แค่นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (สุนทร ชนะกอก, 2543, หน้า 3) แต่ยังสามารถนาไปสร้างมายากล และนาไปขายเพื่อสร้างรายได้อีกด้วย จากสิ่งที่นาเสนอไปแล้วในข้างต้น มายากลแห่งเลขฐาน อาจจะถือได้ว่าเป็นหนึ่งใน “ศิลปะการ สอน” ที่จะช่วยให้ครูคณิตศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่น่าตื่นเต้น มีความหมายและควรค่าแก่การ จดจา (ฉวีวรรณ เศวตมาลย์, 2544, หน้า 29) หากค้นคว้าดูให้ดีแล้วละก็ คุณครูยังสามารถนามายากลนี้ไป ประยุกต์ใช้ในแบบอื่นๆ เช่นใช้รูปภาพ คา หรือ ประโยค แทนตัวเลขในการ์ดได้อีกด้วย มายากลแต่ละ รูปแบบเหมาะสมกับนักเรียนในวัยที่แตกต่างกัน แล้วมายากลแห่งเลขฐานของท่านผู้อ่านล่ะ จะเป็นอย่างไร อ้างอิง ฉวีวรรณ เศวตมาลย์.(2544).ศิลปะการสอนคณิตศาสตร์.กรุงเทพฯ:สุวีริยาสาส์น. สุนทร ชนะกอก.(2543).ครูคณิตศาสตร์กับจานวน.เชียงใหม่:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี .(2549).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.(พิมพ์ครั้งที่เจ็ด). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.