SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 126
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ที่มา: http://www.asean-community.au.edu/images/asean-map1-1.jpg
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
จัดทาโดย
นางสาวฉันทนา ปาปัดถา
รหัส 5502052910022
DICT II
Leader
ฉันทนา ปาปัดถา
นาวิน คงรักษา
สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์
อนุชิต อนุพันธ์
ประเด็นสนทนา
ที่มา: http://www.crc.ac.th/ASEAN/images/asean-map.jpg
ประวัติความเป็นมา
สมาคมประชาชาติแห่งตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510
หลังจากการลงนามในปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญา
กรุงเทพ (The Bangkok Declaration) โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
บรูไน ดารุสซาลามเ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม 2527
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม 2538
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540
สหภาพพม่า เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540
ราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน 2542
ประเทศสมาชิกอาเซียน
• ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
• ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
• สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
• สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
• รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
• สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of Philippines)
• สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
• สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic)
• สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar)
• ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
• พื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 50 ของโลก
• เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
• ประชากร ประมาณ 67 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 19 ของโลก
• ภาษา ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ
• ศาสนา ประมาณร้อยละ 95 นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4
ศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่นประมาณร้อยละ 1
• การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยผ่านระบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
• ประมุข พระมหากษัตริย์ องค์ปัจจุบันคือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดช รัชการที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี
• ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรี ดํารงตําแหน่งว่าระละ 4 ปี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ
นายสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
• หน่วยเงินตรา บาท (Baht) 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ประมาณ 29.37 บาท
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
• พื้นที่ 330,803 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 66 ของโลก
• เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lompur)
• ประชากร ประมาณ 27.6 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ ที่ 44 ของโลก
• ภาษา ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ
• ศาสนา อิสลามร้อยละ 60 พุทธ ร้อยละ 19 และคริสต์ ร้อยละ 12
• การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
• ประมุข สมเด็จพระราชาธิบดี เจ้าผู้ปกครองรัฐผลัดเปลี่ยนกันขึ้นดํารงตําแหน่ง
วาระละ 5 ปี ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลวาทิก ตวนภู มิซาน
ไซนัล อิบนี อัลมาร์ฮุม สุลต่านมะห์มูด อัลมุกดาฟี บิลลาห์ ซาห์ จากรัฐค
รังกานู ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 13 ของมาเลเซีย
• ผู้นํารัฐบาล นายยกรัฐมนตรี ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือ ดาโต๊ะ ชรี มูห์ฮัมมัด นาจิบ บิน
ตุน อับดุล ราชัก
• หน่วยเงินตรา ริงกิต (1 ริงกิตประมาณ 10.22 บาท)
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
• พื้นที่ เป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะมากกว่า
17,508 เกาะ รวมพื้นที่ประมาณ 1,910,931 ตารางกิโลเมตร
เป็นอันดับที่ 16 ของโลก
• เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา (Jakarta)
• ประชากร ประมาณ 237.5 ล้านคน (ปี 2553 เป็นอันดับที่ 4 ชองโลก
• ภาษา อินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ
• ศาสนา ชาวอินโดนีเซียร้อยละ 85.5 นับถือศาสนาอิสลาม นอกนั้นเป็นคริสต์
นิกายโปรแตสแตน คริสต์นิกายมันคาทอลิก ฮินดู พุทธ และศาสนาอื่นๆ
• การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย
• ประมุข ประธานาธิบดี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน
• ผู้นํารัฐบาล ประธานาธิบดี ปัจจุบัน คือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน
• หน่วยเงินตรา รูเปียห์ (10,000 รูเปียห์ ประมาณ 38 บาท)
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
• พื้นที่ ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์และเกาะใหญ่น้อยบริเวณใกล้เคียง มีพื้นที่รวม 710.2
ตารากิโลเมตร (ประมารเท่าเกาะภูเก็ต) เป็นอันดับที่ 188 ของโลก
• เมืองหลวง สิงคโปร์ (Singapore)
• ประชากร ประมาร 5 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 115 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง และอังกฤษ สิงคโปร์สนับสนุนให้
ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ใช้ภาษาอังกฤษในการ
ติดต่องานและชีวิตประจําวัน
• ศาสนา พุทธร้อยละ 42.5 อิสลามร้อยละ 14.9 ฮินดูร้อยละ 4 ไม่นับถือศาสนาร้อยละ 25
• ประมุข ประธานาธิบดี (วาระ 6 ปี) ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ นายเอส อาร์ นาธาน
• ผู้นํารัฐบาล นายยกรัฐมนตรีเป็นผู้นํารัฐบาล (วาระ 5 ปี) ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือ
นายลีเซียนลุง
• การปกครอบ สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
• สกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore dollar:SGD) 1SGD ประมาณ 23.47 บาท
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
• พื้นที่ 5,765 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 171 ของโลก
• เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)
• ประชากร ประมาณ 399,000 คน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 172 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษามาเลย์รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและจีน
• ศาสนา ส่วนใหญ่นับศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธ
นิกายมหายาน 13% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดูความเชื่อพื้นเมืองและ
อื่นๆ
• การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์รัฐธรรมนูญปัจจุบันซึ่งแก้ไขล่าสุดเมื่อ 1
มกราคม พ.ศ. 2527 กําหนดให้สุลต่านทรงเป็นอธิปัตย์คือเป็นทั้งประมุข
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมนายกรัฐมนตรีจะต้อง
เป็นชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยกําเนิดและจะต้องเป็นมุสลิมนิกายสุหนี่
• ประมุข สุลต่านองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญีฮัสซานัลโบลเกียห์มูอิซซัด
ดิน วัดเดาเลาะห์ทรงเป็นทั้งประมุขและนายกรัฐมนตรีผู้นํารัฐบาล
• สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน ( Brunei Dollar : BND ) 1 BND ประมาณ 23.47 บาท (ใช้
อัตรา แลกเปลี่ยนเดียวกับสิงคโปร์และสามารถใช้เงินสิงคโปร์ในบรูไนได้
โดยทั่วไป)
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
• พื้นที่ ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 72 ของโลก
• เมืองหลวง กรุงมะนิลา (Manila)
• ประชากร ประมาณ 94 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 12 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษาตากาล็อกและอังกฤษ
• ศาสนา ส่วนใหญ่นับศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกร้อยละ 83 นิกาย
โปรแตสเตนท์ ร้อยละ 9 อิสลามร้อยละ 5 ศาสนาพุทธและอื่นๆร้อยละ 3
• การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร
(ดํารงตําแหน่งวาระละ 6 ปี)
• ประมุข ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือประธานาธิบดีเบนิกโนซีเม
ยอนโกฮวงโกอาคีโนที่สาม (Benigno Simeon Cojuangco Aquino III)
• ผู้นํารัฐบาล ประธานาธิบดี
• สกุลเงิน ฟิลิปปินส์เปโซ (Philipino Peso : PHP ) 1 เปโซประมาณ 0.73 บาท
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
• พื้นที่ 331,212 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 65 ของโลก
• เมืองหลวง ฮานอย (Hanoi)
• ประชากร 87.4 ล้านคน (ประมาณการเมื่อปี 2553) เป็นอันดับ 13 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษาเวียดนาม
• ศาสนา ไม่มีศาสนาประจําชาติเนื่องจากปกครองโดยระบอบสังคมนิยม (มีผู้แสดง
ตนว่านับถือศาสนาต่างๆ 15.65 ล้านคนโดยศาสนาพุทธ (มหายาน) มี
จํานวนผู้นับถือมากที่สุด (ร้อยละ 9.3)
• การปกครอง ระบอบสังคมนิยมโดยมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party
of Vietnam) เป็นพรรคการเมืองเดียวและมีอํานาจสูงสุด
• ประมุข ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายเหวียนมิงเจี๊ยต (Nguyen
Minh Triet)
• ผู้นํารัฐบาล นายเหวียนเตินสุง (Nguyen Tan Dung)
• สกุลเงิน เงินด่ง (Vietnam Dong : DNG) 1 บาทประมาณ 625 ด่ง
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
• พื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 83 ของโลก
• เมืองหลวง นครเวียงจันทน์ (Vientiane)
• ประชากร ประมาณ 6.2 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ 103 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษาลาว
• ศาสนา ศาสนาพุทธ (เถรวาท) ร้อยละ 75 และนับถือความเชื่อท้องถิ่นร้อยละ 16-17
• การปกครอง ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คําว่าระบอบประชาธิปไตย
ประชาชน) โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นําประเทศ
• ประมุข ประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) ซึ่งมีวาระการดํารงตําแหน่ง 5 ปี
ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือพลโทจูมมาลีไซยะสอน (ดํารงตําแหน่ง
เลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวอีก
ตําแหน่งหนึ่ง)
• ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายทองสิงทํามะวง
• สกุลเงิน กีบ (Lao Kip : LAK) 1 บาทเท่ากับประมาณ 250 กีบ
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
• พื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 40 ของโลก
• เมืองหลวง เนปีดอ (Naypyidaw)
• ประชากร ประมาณ 47.9 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ 26 ของโลก
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษาพม่า
• ศาสนา ศาสนาพุทธร้อยละ 92.3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 4 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3
ศาสนาฮินดูร้อยละ 0.7
• การปกครอง รัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (State Peace
and Development Council – SPDC)
• ประมุข ประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ
พล.อ.อาวุโสตานฉ่วย
• ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายเต็งเส่ง (U TheinSein)
• สกุลเงิน จั๊ต (Myanmar Kyat : MMK) 1 บาทเท่ากับประมาณ 32.86 จั๊ต
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
• พื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 89 ของโลก
• เมืองหลวง พนมเปญ (Phnom Penh)
• ประชากร ประมาณ 14.4 ล้านคน (ปี 2552)
• ภาษา ภาษาราชการคือภาษาเขมร
• ศาสนา ศาสนาพุทธร้อยละ 95 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.7
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูร้อยละ 0.3
• การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ภายใต้รัฐธรรมนูญ
• ประมุข พระมหากษัตริย์ปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหมุนี
• ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือสมเด็จอัคมหาเสนาบดี
เดโชฮุนเซน
• สกุลเงิน เรียล (Riel : KHR) 1 เรียลประมาณ 0.0083 บาท
ที่มา:http://toonkub.wordpress.com/2013/01/13/กาเนิดอาเซียน-2/
วัตถุประสงค์แรกเริ่ม อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์
เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนํามา
ซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
ต่อมา เมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้า
รุนแรงขึ้น ทําให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือ
ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์หลักที่กําหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration)
มี 7 ประการ ดังนี้
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและ
วัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และ
ด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การ
คมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานดํารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์
เป้ าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่ม ASEAN ในปี 2558
การไปสู่เป้าหมายสุดท้ายในปี 2558 ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนตาม
แถลงการณ์บาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) มีดังนี้
1. การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมโดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการการลงทุนและ
แรงงานฝีมืออย่างเสรีและการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียนซึ่งจะให้ความสําคัญกับ
ประเด็นด้านนโยบายอื่นๆที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเช่นกรอบนโยบายการ
แข่งขันของอาเซียนสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญานโยบายภาษีและการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน (การเงินการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศ)
เป้ าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่ม ASEAN ในปี 2558
การไปสู่เป้าหมายสุดท้ายในปี 2558 ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนตาม
แถลงการณ์บาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) มีดังนี้ (ต่อ)
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคสนับสนุนการพัฒนา SMEs และเสริมสร้างขีดความสามารถ
ผ่านโครงการต่างๆเช่น IAI (Initiative for ASEAN Integration ) และ ASEAN-help-ASEAN
Programs เป็นต้น
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกเน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ
ประเทศภายนอกภูมิภาคเช่นการจัดทําเขตการค้าเสรีการให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขต
การลงทุนอาเซียน (AIA) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียนและการสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต/
จําหน่ายเป็นต้น
แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC
อาเซียนได้ตกลงที่จะเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าและบริการให้เร็วขึ้นกว่ากําหนดการ
เดิมในสาขาสินค้าและบริการสําคัญ 11 สาขาซึ่งต่อมาได้เพิ่มสาขาที่ 12 คือสาขาโลจิ
สติกส์เพื่อเป็นการนําร่องและส่งเสริมการผลิตสินค้าโดยใช้วัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิต
ภายในอาเซียนซึ่งประเทศต่างๆทําหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้ประสานงานหลักในแต่ละสาขา
ดังนี้
1. พม่าสาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง
2. มาเลเซียสาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ
3. อินโดนีเซียสาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
4. ฟิลิปปินส์สาขาอิเล็กทรอนิกส์
5. สิงคโปร์สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ
6. ไทยสาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน
7. เวียดนามสาขาโลจิสติกส์
แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC
แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ
1. การเร่งลดภาษีสินค้าใน 9 สาขา (ผลิตภัณฑ์เกษตร/ ประมง/ ผลิตภัณฑ์ไม้/
ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์/ อิเล็กทรอนิกส์/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขา
สุขภาพ) ให้เร็วขึ้นจากกรอบอาฟตา 3 ปี โดยประเทศสมาชิกเก่าจากเดิมปี 2553
เป็นปี 2550 และอาเซียนใหม่ (CLMV) จากปี 2558 เป็นปี 2555
2. การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษีโดยการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้ WTO ในเรื่อง
อุปสรรคทางเทคนิคมาตรฐานสุขอนามัยและการขออนุญาตนําเข้ารวมทั้งพัฒนาแนว
ทางการดําเนินงานที่เหมาะสมในเรื่องดังกล่าวสําหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อ
นําไปสู่การลด/เลิกมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้า
3. การปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิดสินค้าให้มีความโปร่งใสมีมาตรฐานที่เป็นสากล
และอํานวยความสะดวกให้แก่เอกชนมากขึ้น
แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC
แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ (ต่อ)
4. การค้าบริการตั้งเป้าหมายการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอย่างชัดเจนเพื่อให้การค้า
บริการของอาเซียนเป็นไปอย่างเสรีมากขึ้นและพัฒนาระบบการยอมรับร่วมกันเพื่อ
อํานวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพในสาขาบริการรวมทั้งส่งเสริมการร่วม
ลงทุนของอาเซียนไปยังประเทศที่สาม
5. การลงทุนเร่งเปิดเสรีสาขาการลงทุนภายใต้กรอบความตกลงด้านการลงทุนของ
อาเซียนโดยการลด/ยกเลิกข้อจํากัดด้านการลงทุนต่างๆส่งเสริมการร่วมลงทุนใน
สาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและสร้างเครือข่ายด้านการลงทุนของอาเซียนที่มี
ประสิทธิภาพ
6. การอํานวยความสะดวกด้านพิธีการด้านศุลกากรในการค้าระหว่างอาเซียนกับ
ประเทศนอกกลุ่มและพัฒนาระบบพิธีการศุลกากรเพื่ออํานวยความสะดวกในด้าน
การค้าให้มากยิ่งขึ้นรวมทั้งพัฒนาเอกสารด้านการค้าและศุลกากรให้มีความเรียบง่าย
และสอดคล้องกัน
แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC
แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ (ต่อ)
7. การพัฒนามาตรฐานและความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์พัฒนาการยอมรับมาตรฐาน
ซึ่งกันและกันในด้านคุณภาพสินค้าการตรวจสอบการออกใบรับรองและปรับปรุง
กฎเกณฑ์กฎระเบียบข้อกําหนดสําหรับผลิตภัณฑ์สาขาต่างๆให้มีความสอดคล้องกัน
มากยิ่งขึ้น
8. การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจผู้เชี่ยวชาญผู้ประกอบวิชาชีพแรงงานมีฝีมือและผู้มี
ความสามารถพิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่นักธุรกิจอาทิการ
ปรับประสานพิธีการ
ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้าจากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษี
จะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี
2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ตํ่ากว่า 18 - 20% ต่อปี
3. เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็งเช่นท่องเที่ยวโรงแรมและ
ร้านปีอาหารสุขภาพทําให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น
4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุนเมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้นอุปสรรคการ
ลงทุนระหว่างอาเซียนจะลดลงอาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียม
ประเทศจีนและอินเดีย
ผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมและ
ผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันตํ่า
2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
แนวทางรองรับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
1. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ได้รับผลกระทบ
จากการเปิดเสรีทางการค้า (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550)
เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูปสินค้า
อุตสาหกรรมและบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าให้สามารถปรับตัว
หรือปรับเปลี่ยนให้สามารถแข่งขันได้
2. มาตรการป้ องกันผลกระทบก่อนหน้านี้กระทรวงพาณิชย์ได้เสนอจัดทํากฎหมาย
ซึ่งได้ผ่านสภานิติบัญญัติออกมาเป็นพ.ร.บ. มาตรการปกป้องการนําเข้าที่เพิ่มขึ้น
(Safeguard Measure) ซึ่งหากการดําเนินการตาม AEC Blueprint ก่อให้เกิด
ผลกระทบก็สามารถนํากฎหมายนี้มาใช้ได้
3. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการดาเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน(ตามคําสั่งกนศ. ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) เพื่อ
ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนงานและเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน
การดําเนินงานไปสู่การเป็น AEC โดยมี
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลือบนพื้นสีทองล้อมรอบด้วยวงกลมสี
ขาว สีนํ้าเงิน ซึ่ง มีความหมายดังนี้
• ต้นข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ
• สีเหลือ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
• สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
• สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
• สีนํ้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
ที่มา: http://hilight.kapook.com/view/75319
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ธงชาติไทย ประกอบด้วย 3 สีหลัก ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีนํ้าเงิน
มีการแบ่งเป็นริ้วจํานวน 5 แถบ ซึ่งแถบในสุดเป็นสีนํ้าเงิน ถัดมาด้าน
นอกทั้งด้านบน ด้านล่าง เป็นสีขาว และสีแดงตามลําดับ ทั้งนี้ แถบสีนํ้า
เงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ส่วนสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• สีแดง หมายถึง ชาติ
• สีขาว หมายถึง ศาสนา
• สีนํ้าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์
อย่างไรก็ตาม มีการเรียกชื่อธงนี้ว่า ธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ =
สี) เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์
"เครื่องหมายแห่งไตรรงค์" ไว้เมื่อ พ.ศ. 2464 โดยได้นิยามความหมาย
ของธงไตรรงค์ว่า
• สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่ชาติ
• สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนา และธรรมะ
• สีนํ้าเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์พระมหากษัตริย์
แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คําอธิบายที่ทรงประกาศใช้อย่างเป็น
ทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คน
ไทยเกิดสํานึกความเป็นชาตินิยมมาตลอด
ธงสัญลักษณ์ณาชอาณาจักรไทย
ที่มา: http://hilight.kapook.com/img_cms2
/user/pree/b9_4.jpg
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ธงชาติมาเลเซีย มีแถบสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธง
ด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีนํ้าเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของ
ผืนธงด้านยาว ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าดังกล่าว มีเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก ซึ่ง
สี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐสมาชิกทั้ง 13 รัฐ
ภายในประเทศมาเลเซีย
• ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด
• พระจันทร์เสี้ยว หมายถึง ศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจําชาติ
• สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก สื่อถึง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ
• สีนํ้าเงิน หมายถึง ความสามัคคีของชาวมาเลเซีย
ธงสัญลักษณ์ประเทศมาเลเซีย
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/b5_4.jpg
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ธงชาติอินโดนีเซีย พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วน
ตามแนวนอน โดยสีต่างๆ ของธง มีความหมาย
ดังนี้
• สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ และ
อิสรภาพ
• สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ยุติธรรมธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/b3_4.jpg
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ธงชาติสิงคโปร์ ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง
แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมด้านบนของคันธง
เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีดาว 5 แฉก จํานวน 5
ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า โดยรูปพระจันทร์เสี้ยว และดาว
5 แฉก ต่างมีสีขาว ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• สีแดง หมายถึง ภราดรภาพ และความเสมอภาคของมนุษย์
โดยทั่วหน้า
• สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์และความดีงามที่แพร่หลาย และ
คงอยู่ตลอดกาล
• รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึง ความ
เป็นชาติใหม่ที่ถือกําเนิดขึ้น
• ดาว 5 ดวง หมายถึง อุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่
ประชาธิปไตยสันติภาพ ความก้าวหน้า ความยุติธรรม และ
ความเสมอภาค
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐสิงคโปร์
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/b8_2.jpg
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
ธงชาติบรูไน ลักษณะของธงชาติมีพื้นสีเหลือง
โดยมีแถบสีขาว และสีดํา พาดตามแนวทแยงมุมจาก
ด้านคันธงจรดปลายธง ซึ่งแถบสีขาวอยู่ด้านบน แถบสี
ดําอยู่ด้านล่าง ขณะที่กลางธงนั้น มีตราแผ่นดินของ
บรูไนประทับอยู่ ซึ่งสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• สีเหลือง หมายถึง กษัตริย์
• สีขาว และสีดํา หมายถึง มุขมนตรี
สาเหตุที่ธงชาติบรูไนใช้สีเหลืองสื่อถึงกษัตริย์นั้น
เนื่องจากธงประจําพระองค์ของสุลต่านแห่งบรูไน ใช้ธง
พื้นสีเหลือง
ธงสัญลักษณ์รัฐบรูไนดารุสซาลาม
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/ b1_5.jpg
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
ธงชาติฟิลิปปินส์ ด้านต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว เป็น
เครื่องหมายแทนความเสมอภาค และภราดรภาพ ภายในสามเหลี่ยมสี
ขาว ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาว 5 แฉก
จํานวน 3 ดวง และตั้งอยู่ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสัญลักษณ์
ทั้งหมด ล้วนเป็นสีทอง ส่วนด้านที่เหลือของธง ได้แบ่งครึ่งตามความ
ยาว โดยแถบบนมีสีนํ้าเงิน และแถบล่างมีสีแดง ทั้งนี้ หากแถบทั้งสอง
สีดังกล่าว ได้มีการสลับตําแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสี
นํ้าเงินอยู่ด้านล่าง แสดงว่า ขณะนั้นประเทศฟิลิปปินส์กําลังอยู่ใน
ภาวะสงคราม ส่วนสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/b9_4.jpg
• สีนํ้าเงิน หมายถึง สันติภาพ สัจจะ และความยุติธรรม
• สีแดง หมายถึง ความรักชาติ และความมีคุณค่า
• ดวงอาทิตย์มีรัศมี 8 แฉก หมายถึง 8 จังหวัดแรกของประเทศ ที่มีความพยายาม ในการเรียกร้อง
เอกราชจากประเทศสเปน กระทั่งเกิดการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2439
• ดาวสามดวง หมายถึง การแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่
เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวิสายัน
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
ธงชาติเวียดนาม พื้นธงเป็นสีแดงล้วน ตรงกึ่งกลางมี
รูปดาว 5 แฉก สีเหลืองทอง เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่าหมายถึง
ชนชั้นต่างๆ ในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา
ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร ส่วนสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• สีแดง หมายถึง การต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาว
เวียดนาม
• สีเหลือง หมายถึง ชาวเวียดนาม
อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติเวียดนามในปี
พ.ศ. 2519 ความหมายในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทาง
การเมืองว่า
• สีแดง หมายถึง การปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ
• ดาวสีทอง หมายถึง การชี้นําของพรรคคอมมิวนิสต์
เวียดนาม
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/ b10_1.jpg
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ธงชาติลาว ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวออกเป็น 3
ส่วน โดยแถบตรงกลางจะเป็นสีนํ้าเงิน กว้าง 2 ส่วน มี
พระจันทร์ทรงกลมสีขาวอยู่กึ่งกลาง ขณะที่แถบด้านนอกทั้ง
2 ด้าน มีสีแดง และกว้างริ้วละ 1 ส่วน เท่าๆ กัน โดยสีต่างๆ
ของธง มีความหมาย ดังนี้
• สีแดง หมายถึง เลือดแห่งการต่อสู้เพื่ออิสรภาพ
ของชาวลาว
• สีนํ้าเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของชาติ
• พระจันทร์สีขาว หมายถึงเอกภาพของ
สาเหตุที่มีดวงจันทร์ทรงกลมอยู่ตรงกลาง เนื่องจากเพื่อ
เป็นสัญลักษณ์สื่อถึงดวงจันทร์ลอยเด่นเหนือลํานํ้าโขง
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/ b4_5.jpg
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
ธงชาติพม่า ได้แบ่งตามความยาวออกเป็น 3
ส่วน และมีความกว้างเท่าๆ กัน โดยแต่ละส่วน มีสีที่
แตกต่างกัน ไล่จากบนลงล่าง คือ สีเหลือง สีเขียว และ
สีแดง ขณะที่กึ่งกลางธงมีรูปดาว 5 แฉก สีขาวขนาด
ใหญ่ ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้
• สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความ
อุดมสมบูรณ์ของพม่า
• สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี
• สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง
เด็ดขาด
• ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ที่มา: http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/ b6_3.jpg
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ธงชาติกัมพูชา ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนว
ยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วตรงกลางจะเป็นสีแดง กว้าง 2
ส่วน มีรูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่
บริเวณกึ่งกลาง ขณะที่ริ้วด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีนํ้า
เงิน และกว้างริ้วละ 1 ส่วนเท่าๆ กัน โดยสีต่าง และ
สัญลักษณ์ต่างๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้
• สีนํ้าเงิน หมายถึง กษัตริย์
• สีแดง หมายถึง ชาติ
• ส่วนปราสาทนครวัดสีขาว หมายถึง
สันติภาพ
ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ที่มา:
http://hilight.kapook.com/
img_cms2/user/pree/b3_4.jpg
ที่มา: http://www.oknation.net/blog/Smartlearning/2012/09/03/entry-1
ผู้นาประเทศสมาชิก ASEAN
ที่มา: http://www.np.ac.th/np/web/asean/leader.html
ผู้นาประเทศสมาชิก ASEAN
ที่มา: http://www.np.ac.th/np/web/asean/leader.html
ที่มา: https://www.facebook.com/SBC.fans/posts/214253688709392
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html และ http://wisdomhouse.co.th/summer_singapore_april_2013/
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ที่มา: http://www.isaan.com/th/about/cambodia/royale-palace.html
พนมเปญ : กัมพูชา
ที่มา: http://loadebookstogo.blogspot.com/2012/09/10_12.html#.UPj5fB1g81M
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ชุดประจาชาติมาเลเซีย
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-maleseiy
บาจู มลายู บาจูกุรุง
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
เตลุก เบสคาพ เกบาย่า
ชุดประจาชาติอินโอนีเซีย
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-xindoniseiy
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ชุดประจาชาติสิงคโปร์
ที่มา: http://www.thaiall.com/thai/thaidress05.jpg
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
บาจู มลายู บาจูกุรุง
ชุดประจาชาติบรูไน
ที่มา: https://sites.google.com/
site/mnmasean/chud-praca-chati-bruni
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
ชุดประจาชาติฟิ ลิปปิ นส์
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-filippins
บารอง ตากาล็อก บาลินตาวัก
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
อ่าวหญ่าย
ชุดประจาชาติเวียดนาม
ที่มา: https://sites.google.com/site/
mnmasean/chud-praca-chati-weiydnam
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ชุดประจาชาติลาว
ที่มา: http://www.thaiall.com/thai/thaidress05.jpg
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
ชุดประจาชาติพม่า
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-phma
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ซัมปอต
ชุดประจาชาติกัมพูชา
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-
praca-chati-kamphucha
ที่มา: http://www.aecdailynews.com/1045.html
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ต้มยา กุ้ง (Tom Yam Goong)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathesthiy
ส้มตา
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathesthiy
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-maleseiy
แกงหัวปลา (Curry Fishhead)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-maleseiy
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
กาโด กาโด (Gado Gado)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-xindoniseiy
สะเต๊ะ (State)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-xindoniseiy
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ลักซา (Laksa)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-singkhpor
ปูพริก (CherYam)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-singkhpor
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
อัมบูยัต (Ambuyat)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-bruni
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
อโดโบ้ (Adobo)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-filippins
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
เฝอ
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-weiydnam
แหนมหรือ เปาะเปี๊ยะเวียดนาม
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-weiydnam
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ซุบไก่ (Chicken Soup)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-law
สลัดหลวงพระบาง
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-law
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
หล่าเพ็ด (Lahpet)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-phma
ขนมจีนน้ายาพม่า (Mo Hin Ga)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-prathes-
phma
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
อาม็อก (Amok)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-kamphucha
สตูว์ไก่เขมร (Ragu sach moan)
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-
prathes-kamphucha
ที่มา: http://www.aecdailynews.com/1045.html
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ราชพฤกษ์ หรือ ดอกคูน เป็นดอกไม้ประจาชาติไทย
ที่มา: https://sites.google.com /site/mnmasean/dxkmi-thiy
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ชบาเป็นดอกไม้ประจาชาติของประเทศมาเลเซีย
ที่มา: https://sites.google.com /site/mnmasean/dxkmi-prathes-maleseiy
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
กล้วยไม้ราตรีดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซีย
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-xindoniseiy
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
กล้วยไม้ในกลุ่ม แวนด้า เป็นดอกไม้ประจาชาติของสาธารณรัฐสิงคโปร์
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-singkhpor
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
ซิมปอร์ดอกไม้ประจาชาติบรูไน
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-bruni
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
พุดแก้วเป็นดอกไม้ประจาชาติประเทศฟิ ลิปปิ นส์
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-filippins
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
(Socialist Republic of Vietnam)
บัว ดอกไม้ประจาชาติของ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxk-i
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ลีลาวดี ดอกไม้ประจาชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-law
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
ประดู่ เป็นดอกไม้ประจาชาติของประเทศพม่า
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-phma
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ลาดวน ดอกไม้ประจาชาติ กัมพูชา
ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-kamphucha-1
ดอกไม้ประจาชาติ ASEAN
ที่มา: http://as-share.blogspot.com/
ที่มา: http://www.learners.in.th/blogs/posts/528411
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ชื่อภาษาท้องถิ่น ภาษาไทย
สวัสดี สวัสดี ใช่ ใช่
ขอบคุณ ขอบคุณ ไม่ใช่ ไม่ใช่
สบายดีไหม สบายดีไหม อากาศดีจัง อากาศดีจัง
ยินดีที่ได้รู้จัก ยินดีที่ได้รู้จัก อากาศร้อนมาก อากาศร้อนมาก
พบกันใหม่ พบกันใหม่ อากาศหนาวมาก อากาศร้อนมาก
ลาก่อน ลาก่อน ไม่เป็นไร ไม่เป็นไร
นอนหลับฝันดี นอนหลับฝันดี ขอโทษ ขอโทษ
เชิญ เชิญ
ประเทศมาเลเซีย (Malaysia)
ชื่อภาษาท้องถิ่น เปร์เซกูตาน มาเลเซีย
สวัสดี ซาลามัด ดาตัง เชิญ เม็นเจ็มพุด (menjemput)
ขอบคุณ เตริมา กะชิ ใช่ ยา (ya)
สบายดีไหม อาปา กาบา ไม่ใช่ ทีแด๊ก (tidak)
ยินดีที่ได้รู้จัก
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา
(gembira dapat bertemu anda)
อากาศดีจัง บาอิค คอค่า (baik cauca)
พบกันใหม่ เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) อากาศร้อนมาก ซังกัด พานัส
ลาก่อน
เซลามัต ติงกัล
อากาศหนาว
มาก
คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค
(cauca yang sangat sejuk)
นอนหลับฝันดี มิมปิ๊ มานิส (mimpi manis) ไม่เป็นไร ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa)
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ชื่อภาษาท้องถิ่น เนการา เคซาตวน เรปูบลิก อินโดเนเซีย
สวัสดี เซลามัทปากิ (ตอนเช้า) ลาก่อน บาย บาย
เซลามัทซิแอง (ตอนเที่ยง) นอนหลับฝันดี มิมพิ ยัง อินดา
เซลามัทซอร์ (ตอนเย็น) เชิญ สิลาคาน
เซลามัทมายัม (ตอนคํ่า) ใช่ ยา, เบอร์ทูล
ขอบคุณ เทริมากาสิ ไม่ใช่ บูคัน
สบายดีไหม อพาร์ คาบาร์ อากาศร้อนมาก ดินกิน เซกาลิ
ยินดีที่ได้รู้จัก
เซลามัน เบอร์จัมพา
เดนกัน อันดา
อากาศหนาวมาก พานัส เซกาลิ
พบกันใหม่ ซัมไพ จําพา ลากิ ไม่เป็นไร ทิดัก อพา อพา
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ชื่อภาษาท้องถิ่น ภาษาจีน - ซินเจียโพ ก่งเหอกั๋ว
สวัสดี หนี ห่าว เชิญ ฮวน หยิง
ขอบคุณ ซี่ยย เซี่ย ใช่ ชื่อ
สบายดีไหม หนี ห่าว ไม่ใช่ บู๋ชื่อ
ยินดีที่ได้รู้จัก เหิ่น เกา ซิ่ง เริ่น ชื่อ หนี่ อากาศดีจัง เทียน ชี เหิ่น ห่าว
พบกันใหม่ ไจ้เจี้ยน อากาศร้อนมาก เทียน ชี เหิ่น เร่อ
ลาก่อน ไจ้เจี้ยน อากาศหนาวมาก เทียน ชี เหิ่น เหลิ่ง
นอนหลับฝันดี หวาน อัน ไม่เป็นไร เหมย เฉิน เมอ
รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam)
ชื่อภาษาท้องถิ่น เนการาบรูไนดารุสซาลาม
สวัสดี ซาลามัด ดาตัง เชิญ เม็นเจ็มพุด (menjemput)
ขอบคุณ เตริมา กะชิ ใช่ ยา (ya)
สบายดีไหม อาปา กาบา ไม่ใช่ ทีแด๊ก (tidak)
ยินดีที่ได้รู้จัก
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา
(gembira dapat bertemu anda)
อากาศดีจัง บาอิค คอค่า (baik cauca)
พบกันใหม่ เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) อากาศร้อนมาก ซังกัด พานัส
ลาก่อน เซลามัต ติงกัล อากาศหนาวมาก
คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค
(cauca yang sangat sejuk)
นอนหลับฝันดี มิมปิ๊ มานิส(mimpi manis) ไม่เป็นไร
ทีแด๊ก อปาอาปา
(tidak apa-apa)
สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines)
ชื่อภาษาท้องถิ่น เรปูบลิกา นัง ปิลิปินัส
สวัสดี กูมูสต้า (kumusta) เชิญ แมค อันยาย่า (mag-anyaya)
ขอบคุณ ซาลามัต (salamat) ใช่ โอ้โอ (oo)
สบายดีไหม กูมูสต้า กา (kumusta ka) ไม่ใช่ ฮินดี้ (hindi)
ยินดีที่ได้รู้จัก
นาตูตูวา นาอลัม โม
(natutuwa na alam no)
อากาศดีจัง
มากันดัง พานาฮอน (magandang
panahon)
พบกันใหม่
มากิตา คายอง มูลิ
(makita kayong muli)
อากาศร้อนมาก
มัสยาดอง มาอินิท
(masyadong mainit)
ลาก่อน ปาอาลัม (paalam) อากาศหนาวมาก
มัสยาดอง มาลามิค พานาฮอน
(masyadong malamig panahon)
นอนหลับฝันดี
มาทูลอก นัง มาบูติ
(matulog nang mabuti)
ไม่เป็นไร ฮินดี้ บาเล (hindi bale)
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
ชื่อภาษาท้องถิ่น ก่ง หั่ว สา โห่ย จู่ เหงียน เหวียต นาม
สวัสดี ซินจ่าว เชิญ จ่าวหมึ่ง
ขอบคุณ ก๊าม เอิน ใช่ เวิง
สบายดีไหม แอง/จิ/โอง/บ่าก๊อแขวคง ไม่ใช่ คง
ยินดีที่ได้รู้จัก เริ๊ดวูยเดือกกัปแอง/จิ... อากาศดีจัง แด็ปเจิ่ย
พบกันใหม่ แหนกัปหลาย อากาศร้อนมาก เจิ่ยหนอง
ลาก่อน ต๋ามเบียด อากาศหนาวมาก เจิ่อยแหล่ง
นอนหลับฝันดี จุ๊กหงูงอน ไม่เป็นไร โคงซาวเดิว
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ชื่อภาษาท้องถิ่น สาทาละนะลัต ปะซาทิปะไต ปะซาซนลาว
สวัสดี สะบายดี เชิญ เล่าแนเด้อ
ขอบคุณ ขอบใจ ใช่ แม่นแล้ว
สบายดีไหม สบายดีบ่ ไม่ใช่ บ่แม่น
ยินดีที่ได้รู้จัก ยินดีที่ฮู้จัก อากาศดีจัง อากาดสบายจัง
พบกันใหม่ เห็นกันใหม่ อากาศร้อนมาก อากาดฮ้อน
ลาก่อน ลาก่อน อากาศหนาวมาก อากาดหนาว
นอนหลับฝันดี นอนหลับฝันดี ไม่เป็นไร บ่เป็นหยัง
สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
(Republic of the Union of Myanmar)
ชื่อภาษาท้องถิ่น ปี่เด่าง์ซุ มยะหม่า ไหน่หงั่นด่อ
สวัสดี มิงกะลาบา (มิง-กะ-ลา-บา) ใช่ โฮ๊ะ เด (โฮ๊ะ-เด)
ขอบคุณ เจซูติน บาแด (เจ-ซู-ติน-บา-แด) ไม่ใช่ มาโฮ๊ะบู (มา-โฮ๊ะ-บู)
สบายดีไหม
เนก็องบาตะล้า
(เน-ก็อง-บา-ตะ-ล้า)
อากาศดีจัง
ยาดิอุตุเกาแน่
(ยา-ดิ-อุ-ตุ-เกา-แน่)
ยินดีที่ได้รู้จัก
ตุ๊ยยาดา หวันตาบ่าแด
(ตุ๊ย-ยา-ดา-หวัน-ตา-บ่า-แด)
อากาศร้อนมาก
ยาดิอุอุตุปูแด่
(ยา-ดิ-อุ-อุ-ตุ-ปู-แด่)
พบกันใหม่ อะติดตุ๊ย (อะ-ติ๊ด-ตุ๊ย) อากาศหนาวมาก ยาดิอุตุเอแด่ (ยา-ดิ-อุ-ตุ-เอ-แด่)
ลาก่อน เจ๊ะ โจร แม่ (เจ๊ะ-โจน-แม่) ไม่เป็นไร ปามามับชิบบู (ปา-มา-มับ-ชิบ-บู)
นอนหลับฝันดี
อิม แม่เก๊าแม่บ่าเสะ
(อิม-แม่-เก๊า-แม่-บ่า-เสะ)
ขอโทษ
เตา บั่น บ่า เต่
(เตา-บั่น-บ่า-เต)
เชิญ ดี เน ยา มา (ดี-เน-ยา-มา)
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ชื่อภาษาท้องถิ่น เขมร
สวัสดี จุม-เรียป ซัว (จุม-เรียบ-ซัว) ใช่ แมน (แมน)
ขอบคุณ ออ-กุน (ออ-กุน) ไม่ใช่ มึน แมน (มึน-แมน)
สบายดีไหม
ซก ซ๊อป-บาย เจีย เต
(ซก-ซ๊อบ-บาย-เจีย-เต)
อากาศดีจัง
อะกะสะเทียดละออ
(อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-ออ)
ยินดีที่ได้รู้จัก
เตรก ออ แดล บาน
(เตรก-ออ-แดว-บาน)
อากาศร้อนมาก
อะกะสะเทียดละเดา
(อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-เดา)
พบกันใหม่
ขจุ๊บคะเนียใหม่
(ขะ-จุ๊บ-คะ-เนีย-ไหม่)
อากาศหนาวมาก
อะกะสะเทียดตระเจี๋ย
(อะ-กะ-สะ-เทียด-ตระ-เจี๋ย)
ลาก่อน โซว์ม เลีย เฮย (โซ-มะ-เลีย-เฮย) ไม่เป็นไร มึน เอ็ย เต (มึน-เอย-เต)
นอนหลับฝันดี เกล็วสุบันลอ (เกล็ว-สุ-บัน-ลอ) ขอโทษ
โสมโต่ะ , อดโต่ะ
(โสม-โต่ะ , อด-โต่ะ)
เชิญ อ็อญ-เจิญ (อ็อน-เจิน)
ที่มา: http://www.spu.ac.th/news/23302
สามเสาหลักประชาคมอาเซียน
ที่มา: สํานักงานพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ. 2554: 41-41
ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community หรือ APSC)
ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนมีเป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่
• สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความ
หลากหลายของแนวคิดและส่งเสริมให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของ
นโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง
• ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและ
รูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์
• ให้อาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก
โดยอาเซียนมีบทบาทเป็นผู้นําในภูมิภาคและจะช่วยส่งเสริมความ
มั่นคงของภูมิภาค
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community หรือ AEC)
• มุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน
• มุ่งให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนสินค้าการบริการการลงทุนแรงงานฝีมือระหว่าง
ประเทศสมาชิกโดยเสรี
• ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน (กัมพูชาลาวพม่าและเวียดนาม
หรือ CLMV) เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียนและช่วย
ให้ประเทศสมาชิกเหล่านี้เข้าร่วมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน
ส่งเสริมให้อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะที่
เสียเปรียบและส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน
• ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาคการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานและการคมนาคมกรอบความร่วมมือด้านกฎหมายการพัฒนาความร่วมมือด้าน
การเกษตรพลังงานการท่องเที่ยวการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับ
การศึกษาและการพัฒนาฝีมือ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community หรือ ASCC)
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืนรวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียนโดยมีแผนปฏิบัติการด้านสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียนระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือ
ใน 6 ด้านได้แก่
• การพัฒนามนุษย์ (Human Development)
• การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)
• สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
• ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability)
• การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building and ASEAN Identity)
• การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของ
อาเซียนที่จะทําให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคลเป็นการวางกรอบทาง
กฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียนโดยนอกจากจะประมวลสิ่งที่
ถือเป็นค่านิยมหลักการและแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกัน
เป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้วยังมีการปรับปรุง
แก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกําหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขององค์กรที่สําคัญในอาเซียนตลอดจนความสัมพันธ์ในการดําเนินงาน
ขององค์กรเหล่านี้ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter)
วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน
วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียนคือทําให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มี
ประสิทธิภาพมีประชาชนเป็นศูนย์กลางและเคารพกฎกติกาในการทํางาน
มากขึ้นนอกจากนี้กฎบัตรอาเซียนจะให้สถานะนิติบุคคลแก่อาเซียนเป็น
องค์กรระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental organization)
กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter)
โครงสร้างและสาระสาคัญของกฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 หมวด 55 ข้อ
หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลักการของอาเซียน
หมวดที่ 2 สภาพบุคคลตามกฎหมายของอาเซียน
หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ (รัฐสมาชิกสิทธิและพันธกรณีของรัฐสมาชิกและการรับสมาชิกใหม่
หมวดที่ 4 โครงสร้างองค์กรของอาเซียน
หมวดที่ 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน
หมวดที่ 6 การคุ้มกันและเอกสิทธิ์
หมวดที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ
หมวดที่ 8 การระงับข้อพิพาท
หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงิน
หมวดที่ 10 การบริหารและขั้นตอนการดําเนินงาน
หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน
หมวดที่ 12 ความสัมพันธ์กับภายนอก
หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย
ความร่วมมือของอาเซียน
ความร่วมมือในด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน
1. สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of
Amity and Cooperation หรือ TAC)
2. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the
Southeast Asia Nuclear-Free Zone : SEAN-FZ)
3. ปฏิญญากําหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตแห่งสันติภาพเสรีภาพ
และความเป็นกลาง (Zone of Peace Freedom and Neutrality หรือ ZOPFAN)
4. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค
เอเชีย-แปซิฟิกหรือ ASEAN Regional Forum (ARF)
5. ASEAN Troika ผู้ประสานงานเฉพาะกิจ
6. กรอบความร่วมมือทางทหาร (ASEAN Defense Ministerial Meeting -ADMM)
7. ความสัมพันธ์กับประเทศนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความร่วมมือของอาเซียน
ความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจ
1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA)
2. เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area หรือ AIA)
3. ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration หรือ IAI)
4. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือ
AICO)
5. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services
หรือ AFAS)
6. ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ (e-ASEAN Framework
Agreement)
ความร่วมมือของอาเซียน
ความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจ (ต่อ)
7. ความร่วมมือด้านการเงินการคลัง (Financial Cooperation)
8. ความร่วมมือด้านการเกษตรและป่าไม้ของอาเซียนและอาเซียน +3
9. ความร่วมมือด้านการขนส่ง
10. ความร่วมมือด้านพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation)
11. ความตกลงด้านการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Agreement) ความ
ร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียนและอาเซียน + 3
ความร่วมมือของอาเซียน
ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม
1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)
2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)
3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability)
5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity)
6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
ปัญหาอุปสรรค์ที่สาคัญของอาเซียน
1. ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสภาพภูมิศาสตร์คล้ายคลึงกันจึงมีสินค้าเกษตรหรือแร่ธาตุที่
คล้ายคลึงกันบางครั้งจึงมีการแย่งตลาดกันเอง
2. สินค้าอุตสาหกรรมในกลุ่มอาเซียนนั้นก็เป็นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันแต่ละ
ประเทศต่างก็มุ่งจะพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามแบบอย่างตะวันตก
3. ประเทศในอาเซียนพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อทดแทนการนําเข้า
แต่ละประเทศพยายามส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศตนโดยการ
ใช้กําแพงภาษีหรือกําหนดโควต้า
4. ประเทศสมาชิกยังคงปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติของตนเป็นหลักและการหารายได้
เข้าของรัฐประเทศในอาเซียนมีลักษณะเหมือนกันคือรายได้หลักของประเทศมาจาก
การเก็บภาษีศุลกากรสินค้าขาเข้าและขาออก
5. ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)

ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thaiwongsrida
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaTeetut Tresirichod
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์pueng3512
 
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10Korofew410
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนSasitorn Sangpinit
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย Phichai Na Bhuket
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 

Ähnlich wie ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations) (17)

ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
 
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10ภาณุพงศ์  พลที 3.6  10
ภาณุพงศ์ พลที 3.6 10
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 

Mehr von Chantana Papattha

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพChantana Papattha
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยChantana Papattha
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...Chantana Papattha
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...Chantana Papattha
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeChantana Papattha
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Chantana Papattha
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Chantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยChantana Papattha
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญChantana Papattha
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)Chantana Papattha
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Chantana Papattha
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)Chantana Papattha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...Chantana Papattha
 

Mehr von Chantana Papattha (18)

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยอย่างมืออาชีพ
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย อย่างมืออาชีพ
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัยการตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
การตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานวิจัย
 
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
The Development of Digital Mass Communication Officer Professional Competence...
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
 
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent AgeCharacteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
Characteristics of Digital Mass Media Officer in Media Convergent Age
 
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
Experts’ Perspective on Education Management in Electronic Media Age for Dev...
 
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
Model of Learning Environment for Creative Education on Social Network to Dev...
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัยการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
การสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่องานวิจัย
 
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
แนะนำคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ศูนย์เทเวศร์)
 
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
Model for Development of Graduates’ Characteristics Based on Thai Qualificati...
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Information and C...
 

ประชาคมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)

  • 3. Leader ฉันทนา ปาปัดถา นาวิน คงรักษา สรญา เปรี้ยวประสิทธิ์ อนุชิต อนุพันธ์
  • 6. ประวัติความเป็นมา สมาคมประชาชาติแห่งตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 หลังจากการลงนามในปฏิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญา กรุงเทพ (The Bangkok Declaration) โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย บรูไน ดารุสซาลามเ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม 2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540 สหภาพพม่า เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540 ราชอาณาจักรกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน 2542
  • 7. ประเทศสมาชิกอาเซียน • ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) • ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) • สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) • สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) • รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) • สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of Philippines) • สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) • สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) • ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
  • 8. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) • พื้นที่ 513,120 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 50 ของโลก • เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok) • ประชากร ประมาณ 67 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 19 ของโลก • ภาษา ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ • ศาสนา ประมาณร้อยละ 95 นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4 ศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่นประมาณร้อยละ 1 • การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยผ่านระบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • ประมุข พระมหากษัตริย์ องค์ปัจจุบันคือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช รัชการที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี • ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรี ดํารงตําแหน่งว่าระละ 4 ปี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ นายสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร • หน่วยเงินตรา บาท (Baht) 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ประมาณ 29.37 บาท
  • 9. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) • พื้นที่ 330,803 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 66 ของโลก • เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lompur) • ประชากร ประมาณ 27.6 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ ที่ 44 ของโลก • ภาษา ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ • ศาสนา อิสลามร้อยละ 60 พุทธ ร้อยละ 19 และคริสต์ ร้อยละ 12 • การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา • ประมุข สมเด็จพระราชาธิบดี เจ้าผู้ปกครองรัฐผลัดเปลี่ยนกันขึ้นดํารงตําแหน่ง วาระละ 5 ปี ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลวาทิก ตวนภู มิซาน ไซนัล อิบนี อัลมาร์ฮุม สุลต่านมะห์มูด อัลมุกดาฟี บิลลาห์ ซาห์ จากรัฐค รังกานู ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 13 ของมาเลเซีย • ผู้นํารัฐบาล นายยกรัฐมนตรี ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือ ดาโต๊ะ ชรี มูห์ฮัมมัด นาจิบ บิน ตุน อับดุล ราชัก • หน่วยเงินตรา ริงกิต (1 ริงกิตประมาณ 10.22 บาท)
  • 10. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) • พื้นที่ เป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะมากกว่า 17,508 เกาะ รวมพื้นที่ประมาณ 1,910,931 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 16 ของโลก • เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา (Jakarta) • ประชากร ประมาณ 237.5 ล้านคน (ปี 2553 เป็นอันดับที่ 4 ชองโลก • ภาษา อินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ • ศาสนา ชาวอินโดนีเซียร้อยละ 85.5 นับถือศาสนาอิสลาม นอกนั้นเป็นคริสต์ นิกายโปรแตสแตน คริสต์นิกายมันคาทอลิก ฮินดู พุทธ และศาสนาอื่นๆ • การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย • ประมุข ประธานาธิบดี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน • ผู้นํารัฐบาล ประธานาธิบดี ปัจจุบัน คือ ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน • หน่วยเงินตรา รูเปียห์ (10,000 รูเปียห์ ประมาณ 38 บาท)
  • 11. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) • พื้นที่ ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์และเกาะใหญ่น้อยบริเวณใกล้เคียง มีพื้นที่รวม 710.2 ตารากิโลเมตร (ประมารเท่าเกาะภูเก็ต) เป็นอันดับที่ 188 ของโลก • เมืองหลวง สิงคโปร์ (Singapore) • ประชากร ประมาร 5 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 115 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง และอังกฤษ สิงคโปร์สนับสนุนให้ ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ใช้ภาษาอังกฤษในการ ติดต่องานและชีวิตประจําวัน • ศาสนา พุทธร้อยละ 42.5 อิสลามร้อยละ 14.9 ฮินดูร้อยละ 4 ไม่นับถือศาสนาร้อยละ 25 • ประมุข ประธานาธิบดี (วาระ 6 ปี) ปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ นายเอส อาร์ นาธาน • ผู้นํารัฐบาล นายยกรัฐมนตรีเป็นผู้นํารัฐบาล (วาระ 5 ปี) ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือ นายลีเซียนลุง • การปกครอบ สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) • สกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore dollar:SGD) 1SGD ประมาณ 23.47 บาท
  • 12. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) • พื้นที่ 5,765 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 171 ของโลก • เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan) • ประชากร ประมาณ 399,000 คน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 172 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือภาษามาเลย์รองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและจีน • ศาสนา ส่วนใหญ่นับศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธ นิกายมหายาน 13% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดูความเชื่อพื้นเมืองและ อื่นๆ • การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์รัฐธรรมนูญปัจจุบันซึ่งแก้ไขล่าสุดเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 กําหนดให้สุลต่านทรงเป็นอธิปัตย์คือเป็นทั้งประมุข นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมนายกรัฐมนตรีจะต้อง เป็นชาวบรูไนเชื้อสายมาเลย์โดยกําเนิดและจะต้องเป็นมุสลิมนิกายสุหนี่ • ประมุข สุลต่านองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญีฮัสซานัลโบลเกียห์มูอิซซัด ดิน วัดเดาเลาะห์ทรงเป็นทั้งประมุขและนายกรัฐมนตรีผู้นํารัฐบาล • สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน ( Brunei Dollar : BND ) 1 BND ประมาณ 23.47 บาท (ใช้ อัตรา แลกเปลี่ยนเดียวกับสิงคโปร์และสามารถใช้เงินสิงคโปร์ในบรูไนได้ โดยทั่วไป)
  • 13. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) • พื้นที่ ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 72 ของโลก • เมืองหลวง กรุงมะนิลา (Manila) • ประชากร ประมาณ 94 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 12 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือภาษาตากาล็อกและอังกฤษ • ศาสนา ส่วนใหญ่นับศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกร้อยละ 83 นิกาย โปรแตสเตนท์ ร้อยละ 9 อิสลามร้อยละ 5 ศาสนาพุทธและอื่นๆร้อยละ 3 • การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร (ดํารงตําแหน่งวาระละ 6 ปี) • ประมุข ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือประธานาธิบดีเบนิกโนซีเม ยอนโกฮวงโกอาคีโนที่สาม (Benigno Simeon Cojuangco Aquino III) • ผู้นํารัฐบาล ประธานาธิบดี • สกุลเงิน ฟิลิปปินส์เปโซ (Philipino Peso : PHP ) 1 เปโซประมาณ 0.73 บาท
  • 14. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) • พื้นที่ 331,212 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 65 ของโลก • เมืองหลวง ฮานอย (Hanoi) • ประชากร 87.4 ล้านคน (ประมาณการเมื่อปี 2553) เป็นอันดับ 13 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือภาษาเวียดนาม • ศาสนา ไม่มีศาสนาประจําชาติเนื่องจากปกครองโดยระบอบสังคมนิยม (มีผู้แสดง ตนว่านับถือศาสนาต่างๆ 15.65 ล้านคนโดยศาสนาพุทธ (มหายาน) มี จํานวนผู้นับถือมากที่สุด (ร้อยละ 9.3) • การปกครอง ระบอบสังคมนิยมโดยมีพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม (Communist Party of Vietnam) เป็นพรรคการเมืองเดียวและมีอํานาจสูงสุด • ประมุข ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายเหวียนมิงเจี๊ยต (Nguyen Minh Triet) • ผู้นํารัฐบาล นายเหวียนเตินสุง (Nguyen Tan Dung) • สกุลเงิน เงินด่ง (Vietnam Dong : DNG) 1 บาทประมาณ 625 ด่ง
  • 15. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) • พื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 83 ของโลก • เมืองหลวง นครเวียงจันทน์ (Vientiane) • ประชากร ประมาณ 6.2 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ 103 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือภาษาลาว • ศาสนา ศาสนาพุทธ (เถรวาท) ร้อยละ 75 และนับถือความเชื่อท้องถิ่นร้อยละ 16-17 • การปกครอง ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คําว่าระบอบประชาธิปไตย ประชาชน) โดยมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์กรชี้นําประเทศ • ประมุข ประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) ซึ่งมีวาระการดํารงตําแหน่ง 5 ปี ปัจจุบัน (พ.ศ.2554) คือพลโทจูมมาลีไซยะสอน (ดํารงตําแหน่ง เลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาวอีก ตําแหน่งหนึ่ง) • ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายทองสิงทํามะวง • สกุลเงิน กีบ (Lao Kip : LAK) 1 บาทเท่ากับประมาณ 250 กีบ
  • 16. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) • พื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 40 ของโลก • เมืองหลวง เนปีดอ (Naypyidaw) • ประชากร ประมาณ 47.9 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับ 26 ของโลก • ภาษา ภาษาราชการคือภาษาพม่า • ศาสนา ศาสนาพุทธร้อยละ 92.3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 4 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาฮินดูร้อยละ 0.7 • การปกครอง รัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (State Peace and Development Council – SPDC) • ประมุข ประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือ พล.อ.อาวุโสตานฉ่วย • ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือนายเต็งเส่ง (U TheinSein) • สกุลเงิน จั๊ต (Myanmar Kyat : MMK) 1 บาทเท่ากับประมาณ 32.86 จั๊ต
  • 17. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) • พื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตรเป็นอันดับที่ 89 ของโลก • เมืองหลวง พนมเปญ (Phnom Penh) • ประชากร ประมาณ 14.4 ล้านคน (ปี 2552) • ภาษา ภาษาราชการคือภาษาเขมร • ศาสนา ศาสนาพุทธร้อยละ 95 ศาสนาอิสลามร้อยละ 3 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.7 ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูร้อยละ 0.3 • การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ • ประมุข พระมหากษัตริย์ปัจจุบันคือพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหมุนี • ผู้นํารัฐบาล นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) คือสมเด็จอัคมหาเสนาบดี เดโชฮุนเซน • สกุลเงิน เรียล (Riel : KHR) 1 เรียลประมาณ 0.0083 บาท
  • 19. วัตถุประสงค์แรกเริ่ม อาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนํามา ซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ต่อมา เมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้า รุนแรงขึ้น ทําให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือ ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์
  • 20. วัตถุประสงค์หลักที่กําหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและ วัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และ ด้านการบริหาร 4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การ คมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานดํารงชีวิต 6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์
  • 21. เป้ าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่ม ASEAN ในปี 2558 การไปสู่เป้าหมายสุดท้ายในปี 2558 ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนตาม แถลงการณ์บาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) มีดังนี้ 1. การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมโดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการการลงทุนและ แรงงานฝีมืออย่างเสรีและการเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียนซึ่งจะให้ความสําคัญกับ ประเด็นด้านนโยบายอื่นๆที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเช่นกรอบนโยบายการ แข่งขันของอาเซียนสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญานโยบายภาษีและการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (การเงินการขนส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศ)
  • 22. เป้ าหมายสุดท้ายของการรวมกลุ่ม ASEAN ในปี 2558 การไปสู่เป้าหมายสุดท้ายในปี 2558 ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนตาม แถลงการณ์บาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) มีดังนี้ (ต่อ) 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาคสนับสนุนการพัฒนา SMEs และเสริมสร้างขีดความสามารถ ผ่านโครงการต่างๆเช่น IAI (Initiative for ASEAN Integration ) และ ASEAN-help-ASEAN Programs เป็นต้น 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกเน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ ประเทศภายนอกภูมิภาคเช่นการจัดทําเขตการค้าเสรีการให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขต การลงทุนอาเซียน (AIA) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียนและการสร้างเครือข่ายในด้านการผลิต/ จําหน่ายเป็นต้น
  • 23. แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC อาเซียนได้ตกลงที่จะเปิดเสรีด้านการค้าสินค้าและบริการให้เร็วขึ้นกว่ากําหนดการ เดิมในสาขาสินค้าและบริการสําคัญ 11 สาขาซึ่งต่อมาได้เพิ่มสาขาที่ 12 คือสาขาโลจิ สติกส์เพื่อเป็นการนําร่องและส่งเสริมการผลิตสินค้าโดยใช้วัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิต ภายในอาเซียนซึ่งประเทศต่างๆทําหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้ประสานงานหลักในแต่ละสาขา ดังนี้ 1. พม่าสาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง 2. มาเลเซียสาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ 3. อินโดนีเซียสาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ 4. ฟิลิปปินส์สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 5. สิงคโปร์สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ 6. ไทยสาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน 7. เวียดนามสาขาโลจิสติกส์
  • 24. แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ 1. การเร่งลดภาษีสินค้าใน 9 สาขา (ผลิตภัณฑ์เกษตร/ ประมง/ ผลิตภัณฑ์ไม้/ ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์/ อิเล็กทรอนิกส์/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขา สุขภาพ) ให้เร็วขึ้นจากกรอบอาฟตา 3 ปี โดยประเทศสมาชิกเก่าจากเดิมปี 2553 เป็นปี 2550 และอาเซียนใหม่ (CLMV) จากปี 2558 เป็นปี 2555 2. การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษีโดยการปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้ WTO ในเรื่อง อุปสรรคทางเทคนิคมาตรฐานสุขอนามัยและการขออนุญาตนําเข้ารวมทั้งพัฒนาแนว ทางการดําเนินงานที่เหมาะสมในเรื่องดังกล่าวสําหรับประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อ นําไปสู่การลด/เลิกมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้า 3. การปรับปรุงกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิดสินค้าให้มีความโปร่งใสมีมาตรฐานที่เป็นสากล และอํานวยความสะดวกให้แก่เอกชนมากขึ้น
  • 25. แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ (ต่อ) 4. การค้าบริการตั้งเป้าหมายการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอย่างชัดเจนเพื่อให้การค้า บริการของอาเซียนเป็นไปอย่างเสรีมากขึ้นและพัฒนาระบบการยอมรับร่วมกันเพื่อ อํานวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพในสาขาบริการรวมทั้งส่งเสริมการร่วม ลงทุนของอาเซียนไปยังประเทศที่สาม 5. การลงทุนเร่งเปิดเสรีสาขาการลงทุนภายใต้กรอบความตกลงด้านการลงทุนของ อาเซียนโดยการลด/ยกเลิกข้อจํากัดด้านการลงทุนต่างๆส่งเสริมการร่วมลงทุนใน สาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและสร้างเครือข่ายด้านการลงทุนของอาเซียนที่มี ประสิทธิภาพ 6. การอํานวยความสะดวกด้านพิธีการด้านศุลกากรในการค้าระหว่างอาเซียนกับ ประเทศนอกกลุ่มและพัฒนาระบบพิธีการศุลกากรเพื่ออํานวยความสะดวกในด้าน การค้าให้มากยิ่งขึ้นรวมทั้งพัฒนาเอกสารด้านการค้าและศุลกากรให้มีความเรียบง่าย และสอดคล้องกัน
  • 26. แนวทางดาเนินการเพื่อนาไปสู่ AEC แผนการดาเนินงาน (Roadmap) ของ 12 สาขาสาคัญ (ต่อ) 7. การพัฒนามาตรฐานและความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์พัฒนาการยอมรับมาตรฐาน ซึ่งกันและกันในด้านคุณภาพสินค้าการตรวจสอบการออกใบรับรองและปรับปรุง กฎเกณฑ์กฎระเบียบข้อกําหนดสําหรับผลิตภัณฑ์สาขาต่างๆให้มีความสอดคล้องกัน มากยิ่งขึ้น 8. การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจผู้เชี่ยวชาญผู้ประกอบวิชาชีพแรงงานมีฝีมือและผู้มี ความสามารถพิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่นักธุรกิจอาทิการ ปรับประสานพิธีการ
  • 27. ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้าจากการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ภาษี จะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี 2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ตํ่ากว่า 18 - 20% ต่อปี 3. เปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็งเช่นท่องเที่ยวโรงแรมและ ร้านปีอาหารสุขภาพทําให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุนเมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้นอุปสรรคการ ลงทุนระหว่างอาเซียนจะลดลงอาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียม ประเทศจีนและอินเดีย
  • 29. แนวทางรองรับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 1. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ได้รับผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูปสินค้า อุตสาหกรรมและบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าให้สามารถปรับตัว หรือปรับเปลี่ยนให้สามารถแข่งขันได้ 2. มาตรการป้ องกันผลกระทบก่อนหน้านี้กระทรวงพาณิชย์ได้เสนอจัดทํากฎหมาย ซึ่งได้ผ่านสภานิติบัญญัติออกมาเป็นพ.ร.บ. มาตรการปกป้องการนําเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure) ซึ่งหากการดําเนินการตาม AEC Blueprint ก่อให้เกิด ผลกระทบก็สามารถนํากฎหมายนี้มาใช้ได้ 3. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการดาเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน(ตามคําสั่งกนศ. ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) เพื่อ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนงานและเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน การดําเนินงานไปสู่การเป็น AEC โดยมี
  • 31. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลือบนพื้นสีทองล้อมรอบด้วยวงกลมสี ขาว สีนํ้าเงิน ซึ่ง มีความหมายดังนี้ • ต้นข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ • สีเหลือ หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง • สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ • สีนํ้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง ที่มา: http://hilight.kapook.com/view/75319
  • 32. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ธงชาติไทย ประกอบด้วย 3 สีหลัก ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีนํ้าเงิน มีการแบ่งเป็นริ้วจํานวน 5 แถบ ซึ่งแถบในสุดเป็นสีนํ้าเงิน ถัดมาด้าน นอกทั้งด้านบน ด้านล่าง เป็นสีขาว และสีแดงตามลําดับ ทั้งนี้ แถบสีนํ้า เงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ส่วนสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • สีแดง หมายถึง ชาติ • สีขาว หมายถึง ศาสนา • สีนํ้าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์ อย่างไรก็ตาม มีการเรียกชื่อธงนี้ว่า ธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ = สี) เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ "เครื่องหมายแห่งไตรรงค์" ไว้เมื่อ พ.ศ. 2464 โดยได้นิยามความหมาย ของธงไตรรงค์ว่า • สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่ชาติ • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนา และธรรมะ • สีนํ้าเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์พระมหากษัตริย์ แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คําอธิบายที่ทรงประกาศใช้อย่างเป็น ทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คน ไทยเกิดสํานึกความเป็นชาตินิยมมาตลอด ธงสัญลักษณ์ณาชอาณาจักรไทย ที่มา: http://hilight.kapook.com/img_cms2 /user/pree/b9_4.jpg
  • 33. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ธงชาติมาเลเซีย มีแถบสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธง ด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีนํ้าเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของ ผืนธงด้านยาว ภายในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าดังกล่าว มีเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก ซึ่ง สี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐสมาชิกทั้ง 13 รัฐ ภายในประเทศมาเลเซีย • ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด • พระจันทร์เสี้ยว หมายถึง ศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจําชาติ • สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยว และดาว 14 แฉก สื่อถึง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ • สีนํ้าเงิน หมายถึง ความสามัคคีของชาวมาเลเซีย ธงสัญลักษณ์ประเทศมาเลเซีย ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/b5_4.jpg
  • 34. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) ธงชาติอินโดนีเซีย พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วน ตามแนวนอน โดยสีต่างๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ • สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ และ อิสรภาพ • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ยุติธรรมธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/b3_4.jpg
  • 35. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) ธงชาติสิงคโปร์ ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมด้านบนของคันธง เป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีดาว 5 แฉก จํานวน 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า โดยรูปพระจันทร์เสี้ยว และดาว 5 แฉก ต่างมีสีขาว ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • สีแดง หมายถึง ภราดรภาพ และความเสมอภาคของมนุษย์ โดยทั่วหน้า • สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์และความดีงามที่แพร่หลาย และ คงอยู่ตลอดกาล • รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึง ความ เป็นชาติใหม่ที่ถือกําเนิดขึ้น • ดาว 5 ดวง หมายถึง อุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตยสันติภาพ ความก้าวหน้า ความยุติธรรม และ ความเสมอภาค ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐสิงคโปร์ ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/b8_2.jpg
  • 36. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) ธงชาติบรูไน ลักษณะของธงชาติมีพื้นสีเหลือง โดยมีแถบสีขาว และสีดํา พาดตามแนวทแยงมุมจาก ด้านคันธงจรดปลายธง ซึ่งแถบสีขาวอยู่ด้านบน แถบสี ดําอยู่ด้านล่าง ขณะที่กลางธงนั้น มีตราแผ่นดินของ บรูไนประทับอยู่ ซึ่งสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • สีเหลือง หมายถึง กษัตริย์ • สีขาว และสีดํา หมายถึง มุขมนตรี สาเหตุที่ธงชาติบรูไนใช้สีเหลืองสื่อถึงกษัตริย์นั้น เนื่องจากธงประจําพระองค์ของสุลต่านแห่งบรูไน ใช้ธง พื้นสีเหลือง ธงสัญลักษณ์รัฐบรูไนดารุสซาลาม ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/ b1_5.jpg
  • 37. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) ธงชาติฟิลิปปินส์ ด้านต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว เป็น เครื่องหมายแทนความเสมอภาค และภราดรภาพ ภายในสามเหลี่ยมสี ขาว ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาว 5 แฉก จํานวน 3 ดวง และตั้งอยู่ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสัญลักษณ์ ทั้งหมด ล้วนเป็นสีทอง ส่วนด้านที่เหลือของธง ได้แบ่งครึ่งตามความ ยาว โดยแถบบนมีสีนํ้าเงิน และแถบล่างมีสีแดง ทั้งนี้ หากแถบทั้งสอง สีดังกล่าว ได้มีการสลับตําแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสี นํ้าเงินอยู่ด้านล่าง แสดงว่า ขณะนั้นประเทศฟิลิปปินส์กําลังอยู่ใน ภาวะสงคราม ส่วนสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/b9_4.jpg • สีนํ้าเงิน หมายถึง สันติภาพ สัจจะ และความยุติธรรม • สีแดง หมายถึง ความรักชาติ และความมีคุณค่า • ดวงอาทิตย์มีรัศมี 8 แฉก หมายถึง 8 จังหวัดแรกของประเทศ ที่มีความพยายาม ในการเรียกร้อง เอกราชจากประเทศสเปน กระทั่งเกิดการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2439 • ดาวสามดวง หมายถึง การแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวิสายัน
  • 38. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ธงชาติเวียดนาม พื้นธงเป็นสีแดงล้วน ตรงกึ่งกลางมี รูปดาว 5 แฉก สีเหลืองทอง เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่าหมายถึง ชนชั้นต่างๆ ในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร ส่วนสีต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • สีแดง หมายถึง การต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาว เวียดนาม • สีเหลือง หมายถึง ชาวเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติเวียดนามในปี พ.ศ. 2519 ความหมายในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทาง การเมืองว่า • สีแดง หมายถึง การปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ • ดาวสีทอง หมายถึง การชี้นําของพรรคคอมมิวนิสต์ เวียดนาม ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/ b10_1.jpg
  • 39. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ธงชาติลาว ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนวยาวออกเป็น 3 ส่วน โดยแถบตรงกลางจะเป็นสีนํ้าเงิน กว้าง 2 ส่วน มี พระจันทร์ทรงกลมสีขาวอยู่กึ่งกลาง ขณะที่แถบด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีแดง และกว้างริ้วละ 1 ส่วน เท่าๆ กัน โดยสีต่างๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ • สีแดง หมายถึง เลือดแห่งการต่อสู้เพื่ออิสรภาพ ของชาวลาว • สีนํ้าเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของชาติ • พระจันทร์สีขาว หมายถึงเอกภาพของ สาเหตุที่มีดวงจันทร์ทรงกลมอยู่ตรงกลาง เนื่องจากเพื่อ เป็นสัญลักษณ์สื่อถึงดวงจันทร์ลอยเด่นเหนือลํานํ้าโขง ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/ b4_5.jpg
  • 40. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) ธงชาติพม่า ได้แบ่งตามความยาวออกเป็น 3 ส่วน และมีความกว้างเท่าๆ กัน โดยแต่ละส่วน มีสีที่ แตกต่างกัน ไล่จากบนลงล่าง คือ สีเหลือง สีเขียว และ สีแดง ขณะที่กึ่งกลางธงมีรูปดาว 5 แฉก สีขาวขนาด ใหญ่ ซึ่งสี และสัญลักษณ์ ต่างๆ มีความหมาย ดังนี้ • สีเขียว หมายถึง สันติภาพ ความสงบ และความ อุดมสมบูรณ์ของพม่า • สีเหลือง หมายถึง ความสามัคคี • สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด • ดาวสีขาว หมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/ b6_3.jpg
  • 41. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ธงชาติกัมพูชา ลักษณะผืนธงแบ่งตามแนว ยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วตรงกลางจะเป็นสีแดง กว้าง 2 ส่วน มีรูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่ บริเวณกึ่งกลาง ขณะที่ริ้วด้านนอกทั้ง 2 ด้าน มีสีนํ้า เงิน และกว้างริ้วละ 1 ส่วนเท่าๆ กัน โดยสีต่าง และ สัญลักษณ์ต่างๆ ของธง มีความหมาย ดังนี้ • สีนํ้าเงิน หมายถึง กษัตริย์ • สีแดง หมายถึง ชาติ • ส่วนปราสาทนครวัดสีขาว หมายถึง สันติภาพ ธงสัญลักษณ์สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ที่มา: http://hilight.kapook.com/ img_cms2/user/pree/b3_4.jpg
  • 46. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 48. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 49. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html และ http://wisdomhouse.co.th/summer_singapore_april_2013/
  • 50. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 51. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 52. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 54. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) ที่มา: http://aec.kapook.com/photo/asean_22024.html
  • 55. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ที่มา: http://www.isaan.com/th/about/cambodia/royale-palace.html พนมเปญ : กัมพูชา
  • 59. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เตลุก เบสคาพ เกบาย่า ชุดประจาชาติอินโอนีเซีย ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-xindoniseiy
  • 60. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) ชุดประจาชาติสิงคโปร์ ที่มา: http://www.thaiall.com/thai/thaidress05.jpg
  • 61. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) บาจู มลายู บาจูกุรุง ชุดประจาชาติบรูไน ที่มา: https://sites.google.com/ site/mnmasean/chud-praca-chati-bruni
  • 62. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) ชุดประจาชาติฟิ ลิปปิ นส์ ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-filippins บารอง ตากาล็อก บาลินตาวัก
  • 63. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) อ่าวหญ่าย ชุดประจาชาติเวียดนาม ที่มา: https://sites.google.com/site/ mnmasean/chud-praca-chati-weiydnam
  • 64. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ชุดประจาชาติลาว ที่มา: http://www.thaiall.com/thai/thaidress05.jpg
  • 65. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) ชุดประจาชาติพม่า ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud-praca-chati-phma
  • 66. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ซัมปอต ชุดประจาชาติกัมพูชา ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/chud- praca-chati-kamphucha
  • 68. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ต้มยา กุ้ง (Tom Yam Goong) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathesthiy ส้มตา ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathesthiy
  • 69. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-maleseiy แกงหัวปลา (Curry Fishhead) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-maleseiy
  • 70. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) กาโด กาโด (Gado Gado) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-xindoniseiy สะเต๊ะ (State) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-xindoniseiy
  • 71. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) ลักซา (Laksa) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-singkhpor ปูพริก (CherYam) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-singkhpor
  • 72. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) อัมบูยัต (Ambuyat) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-bruni
  • 73. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) อโดโบ้ (Adobo) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-filippins
  • 74. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) เฝอ ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-weiydnam แหนมหรือ เปาะเปี๊ยะเวียดนาม ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-weiydnam
  • 75. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ซุบไก่ (Chicken Soup) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-law สลัดหลวงพระบาง ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-law
  • 76. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) หล่าเพ็ด (Lahpet) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-phma ขนมจีนน้ายาพม่า (Mo Hin Ga) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar-prathes- phma
  • 77. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) อาม็อก (Amok) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-kamphucha สตูว์ไก่เขมร (Ragu sach moan) ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ xahar- prathes-kamphucha
  • 79. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ราชพฤกษ์ หรือ ดอกคูน เป็นดอกไม้ประจาชาติไทย ที่มา: https://sites.google.com /site/mnmasean/dxkmi-thiy
  • 81. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) กล้วยไม้ราตรีดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซีย ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-xindoniseiy
  • 82. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) กล้วยไม้ในกลุ่ม แวนด้า เป็นดอกไม้ประจาชาติของสาธารณรัฐสิงคโปร์ ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-singkhpor
  • 83. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) ซิมปอร์ดอกไม้ประจาชาติบรูไน ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-bruni
  • 84. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) พุดแก้วเป็นดอกไม้ประจาชาติประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-filippins
  • 85. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) บัว ดอกไม้ประจาชาติของ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxk-i
  • 86. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ลีลาวดี ดอกไม้ประจาชาติ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-law
  • 87. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) ประดู่ เป็นดอกไม้ประจาชาติของประเทศพม่า ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-phma
  • 88. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ลาดวน ดอกไม้ประจาชาติ กัมพูชา ที่มา: https://sites.google.com/site/mnmasean/ dxkmi-prathes-kamphucha-1
  • 91. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ชื่อภาษาท้องถิ่น ภาษาไทย สวัสดี สวัสดี ใช่ ใช่ ขอบคุณ ขอบคุณ ไม่ใช่ ไม่ใช่ สบายดีไหม สบายดีไหม อากาศดีจัง อากาศดีจัง ยินดีที่ได้รู้จัก ยินดีที่ได้รู้จัก อากาศร้อนมาก อากาศร้อนมาก พบกันใหม่ พบกันใหม่ อากาศหนาวมาก อากาศร้อนมาก ลาก่อน ลาก่อน ไม่เป็นไร ไม่เป็นไร นอนหลับฝันดี นอนหลับฝันดี ขอโทษ ขอโทษ เชิญ เชิญ
  • 92. ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) ชื่อภาษาท้องถิ่น เปร์เซกูตาน มาเลเซีย สวัสดี ซาลามัด ดาตัง เชิญ เม็นเจ็มพุด (menjemput) ขอบคุณ เตริมา กะชิ ใช่ ยา (ya) สบายดีไหม อาปา กาบา ไม่ใช่ ทีแด๊ก (tidak) ยินดีที่ได้รู้จัก เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา (gembira dapat bertemu anda) อากาศดีจัง บาอิค คอค่า (baik cauca) พบกันใหม่ เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) อากาศร้อนมาก ซังกัด พานัส ลาก่อน เซลามัต ติงกัล อากาศหนาว มาก คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค (cauca yang sangat sejuk) นอนหลับฝันดี มิมปิ๊ มานิส (mimpi manis) ไม่เป็นไร ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa)
  • 93. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) ชื่อภาษาท้องถิ่น เนการา เคซาตวน เรปูบลิก อินโดเนเซีย สวัสดี เซลามัทปากิ (ตอนเช้า) ลาก่อน บาย บาย เซลามัทซิแอง (ตอนเที่ยง) นอนหลับฝันดี มิมพิ ยัง อินดา เซลามัทซอร์ (ตอนเย็น) เชิญ สิลาคาน เซลามัทมายัม (ตอนคํ่า) ใช่ ยา, เบอร์ทูล ขอบคุณ เทริมากาสิ ไม่ใช่ บูคัน สบายดีไหม อพาร์ คาบาร์ อากาศร้อนมาก ดินกิน เซกาลิ ยินดีที่ได้รู้จัก เซลามัน เบอร์จัมพา เดนกัน อันดา อากาศหนาวมาก พานัส เซกาลิ พบกันใหม่ ซัมไพ จําพา ลากิ ไม่เป็นไร ทิดัก อพา อพา
  • 94. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) ชื่อภาษาท้องถิ่น ภาษาจีน - ซินเจียโพ ก่งเหอกั๋ว สวัสดี หนี ห่าว เชิญ ฮวน หยิง ขอบคุณ ซี่ยย เซี่ย ใช่ ชื่อ สบายดีไหม หนี ห่าว ไม่ใช่ บู๋ชื่อ ยินดีที่ได้รู้จัก เหิ่น เกา ซิ่ง เริ่น ชื่อ หนี่ อากาศดีจัง เทียน ชี เหิ่น ห่าว พบกันใหม่ ไจ้เจี้ยน อากาศร้อนมาก เทียน ชี เหิ่น เร่อ ลาก่อน ไจ้เจี้ยน อากาศหนาวมาก เทียน ชี เหิ่น เหลิ่ง นอนหลับฝันดี หวาน อัน ไม่เป็นไร เหมย เฉิน เมอ
  • 95. รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) ชื่อภาษาท้องถิ่น เนการาบรูไนดารุสซาลาม สวัสดี ซาลามัด ดาตัง เชิญ เม็นเจ็มพุด (menjemput) ขอบคุณ เตริมา กะชิ ใช่ ยา (ya) สบายดีไหม อาปา กาบา ไม่ใช่ ทีแด๊ก (tidak) ยินดีที่ได้รู้จัก เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา (gembira dapat bertemu anda) อากาศดีจัง บาอิค คอค่า (baik cauca) พบกันใหม่ เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) อากาศร้อนมาก ซังกัด พานัส ลาก่อน เซลามัต ติงกัล อากาศหนาวมาก คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค (cauca yang sangat sejuk) นอนหลับฝันดี มิมปิ๊ มานิส(mimpi manis) ไม่เป็นไร ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa)
  • 96. สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ (Republic of Philippines) ชื่อภาษาท้องถิ่น เรปูบลิกา นัง ปิลิปินัส สวัสดี กูมูสต้า (kumusta) เชิญ แมค อันยาย่า (mag-anyaya) ขอบคุณ ซาลามัต (salamat) ใช่ โอ้โอ (oo) สบายดีไหม กูมูสต้า กา (kumusta ka) ไม่ใช่ ฮินดี้ (hindi) ยินดีที่ได้รู้จัก นาตูตูวา นาอลัม โม (natutuwa na alam no) อากาศดีจัง มากันดัง พานาฮอน (magandang panahon) พบกันใหม่ มากิตา คายอง มูลิ (makita kayong muli) อากาศร้อนมาก มัสยาดอง มาอินิท (masyadong mainit) ลาก่อน ปาอาลัม (paalam) อากาศหนาวมาก มัสยาดอง มาลามิค พานาฮอน (masyadong malamig panahon) นอนหลับฝันดี มาทูลอก นัง มาบูติ (matulog nang mabuti) ไม่เป็นไร ฮินดี้ บาเล (hindi bale)
  • 97. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ชื่อภาษาท้องถิ่น ก่ง หั่ว สา โห่ย จู่ เหงียน เหวียต นาม สวัสดี ซินจ่าว เชิญ จ่าวหมึ่ง ขอบคุณ ก๊าม เอิน ใช่ เวิง สบายดีไหม แอง/จิ/โอง/บ่าก๊อแขวคง ไม่ใช่ คง ยินดีที่ได้รู้จัก เริ๊ดวูยเดือกกัปแอง/จิ... อากาศดีจัง แด็ปเจิ่ย พบกันใหม่ แหนกัปหลาย อากาศร้อนมาก เจิ่ยหนอง ลาก่อน ต๋ามเบียด อากาศหนาวมาก เจิ่อยแหล่ง นอนหลับฝันดี จุ๊กหงูงอน ไม่เป็นไร โคงซาวเดิว
  • 98. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ชื่อภาษาท้องถิ่น สาทาละนะลัต ปะซาทิปะไต ปะซาซนลาว สวัสดี สะบายดี เชิญ เล่าแนเด้อ ขอบคุณ ขอบใจ ใช่ แม่นแล้ว สบายดีไหม สบายดีบ่ ไม่ใช่ บ่แม่น ยินดีที่ได้รู้จัก ยินดีที่ฮู้จัก อากาศดีจัง อากาดสบายจัง พบกันใหม่ เห็นกันใหม่ อากาศร้อนมาก อากาดฮ้อน ลาก่อน ลาก่อน อากาศหนาวมาก อากาดหนาว นอนหลับฝันดี นอนหลับฝันดี ไม่เป็นไร บ่เป็นหยัง
  • 99. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (Republic of the Union of Myanmar) ชื่อภาษาท้องถิ่น ปี่เด่าง์ซุ มยะหม่า ไหน่หงั่นด่อ สวัสดี มิงกะลาบา (มิง-กะ-ลา-บา) ใช่ โฮ๊ะ เด (โฮ๊ะ-เด) ขอบคุณ เจซูติน บาแด (เจ-ซู-ติน-บา-แด) ไม่ใช่ มาโฮ๊ะบู (มา-โฮ๊ะ-บู) สบายดีไหม เนก็องบาตะล้า (เน-ก็อง-บา-ตะ-ล้า) อากาศดีจัง ยาดิอุตุเกาแน่ (ยา-ดิ-อุ-ตุ-เกา-แน่) ยินดีที่ได้รู้จัก ตุ๊ยยาดา หวันตาบ่าแด (ตุ๊ย-ยา-ดา-หวัน-ตา-บ่า-แด) อากาศร้อนมาก ยาดิอุอุตุปูแด่ (ยา-ดิ-อุ-อุ-ตุ-ปู-แด่) พบกันใหม่ อะติดตุ๊ย (อะ-ติ๊ด-ตุ๊ย) อากาศหนาวมาก ยาดิอุตุเอแด่ (ยา-ดิ-อุ-ตุ-เอ-แด่) ลาก่อน เจ๊ะ โจร แม่ (เจ๊ะ-โจน-แม่) ไม่เป็นไร ปามามับชิบบู (ปา-มา-มับ-ชิบ-บู) นอนหลับฝันดี อิม แม่เก๊าแม่บ่าเสะ (อิม-แม่-เก๊า-แม่-บ่า-เสะ) ขอโทษ เตา บั่น บ่า เต่ (เตา-บั่น-บ่า-เต) เชิญ ดี เน ยา มา (ดี-เน-ยา-มา)
  • 100. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ชื่อภาษาท้องถิ่น เขมร สวัสดี จุม-เรียป ซัว (จุม-เรียบ-ซัว) ใช่ แมน (แมน) ขอบคุณ ออ-กุน (ออ-กุน) ไม่ใช่ มึน แมน (มึน-แมน) สบายดีไหม ซก ซ๊อป-บาย เจีย เต (ซก-ซ๊อบ-บาย-เจีย-เต) อากาศดีจัง อะกะสะเทียดละออ (อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-ออ) ยินดีที่ได้รู้จัก เตรก ออ แดล บาน (เตรก-ออ-แดว-บาน) อากาศร้อนมาก อะกะสะเทียดละเดา (อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-เดา) พบกันใหม่ ขจุ๊บคะเนียใหม่ (ขะ-จุ๊บ-คะ-เนีย-ไหม่) อากาศหนาวมาก อะกะสะเทียดตระเจี๋ย (อะ-กะ-สะ-เทียด-ตระ-เจี๋ย) ลาก่อน โซว์ม เลีย เฮย (โซ-มะ-เลีย-เฮย) ไม่เป็นไร มึน เอ็ย เต (มึน-เอย-เต) นอนหลับฝันดี เกล็วสุบันลอ (เกล็ว-สุ-บัน-ลอ) ขอโทษ โสมโต่ะ , อดโต่ะ (โสม-โต่ะ , อด-โต่ะ) เชิญ อ็อญ-เจิญ (อ็อน-เจิน)
  • 103. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community หรือ APSC) ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนมีเป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ • สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความ หลากหลายของแนวคิดและส่งเสริมให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของ นโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง • ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุกคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและ รูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ • ให้อาเซียนมีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก โดยอาเซียนมีบทบาทเป็นผู้นําในภูมิภาคและจะช่วยส่งเสริมความ มั่นคงของภูมิภาค
  • 104. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) • มุ่งที่จะจัดตั้งให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน • มุ่งให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุนสินค้าการบริการการลงทุนแรงงานฝีมือระหว่าง ประเทศสมาชิกโดยเสรี • ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน (กัมพูชาลาวพม่าและเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดช่องว่างของระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียนและช่วย ให้ประเทศสมาชิกเหล่านี้เข้าร่วมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ส่งเสริมให้อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกได้อย่างไม่อยู่ในภาวะที่ เสียเปรียบและส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน • ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาคการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและการคมนาคมกรอบความร่วมมือด้านกฎหมายการพัฒนาความร่วมมือด้าน การเกษตรพลังงานการท่องเที่ยวการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับ การศึกษาและการพัฒนาฝีมือ
  • 105. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือ ASCC) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืนรวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียนโดยมีแผนปฏิบัติการด้านสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียนระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือ ใน 6 ด้านได้แก่ • การพัฒนามนุษย์ (Human Development) • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) • สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) • ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) • การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building and ASEAN Identity) • การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
  • 106. กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter) กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของ อาเซียนที่จะทําให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคลเป็นการวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียนโดยนอกจากจะประมวลสิ่งที่ ถือเป็นค่านิยมหลักการและแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกัน เป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการของประเทศสมาชิกแล้วยังมีการปรับปรุง แก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกําหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ ขององค์กรที่สําคัญในอาเซียนตลอดจนความสัมพันธ์ในการดําเนินงาน ขององค์กรเหล่านี้ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
  • 108. กฎบัติอาเซียน (ASEAN Charter) โครงสร้างและสาระสาคัญของกฎบัตรอาเซียน ประกอบด้วยบทบัญญัติ 13 หมวด 55 ข้อ หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลักการของอาเซียน หมวดที่ 2 สภาพบุคคลตามกฎหมายของอาเซียน หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ (รัฐสมาชิกสิทธิและพันธกรณีของรัฐสมาชิกและการรับสมาชิกใหม่ หมวดที่ 4 โครงสร้างองค์กรของอาเซียน หมวดที่ 5 องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน หมวดที่ 6 การคุ้มกันและเอกสิทธิ์ หมวดที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ หมวดที่ 8 การระงับข้อพิพาท หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงิน หมวดที่ 10 การบริหารและขั้นตอนการดําเนินงาน หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน หมวดที่ 12 ความสัมพันธ์กับภายนอก หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย
  • 109. ความร่วมมือของอาเซียน ความร่วมมือในด้านการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน 1. สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation หรือ TAC) 2. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty on the Southeast Asia Nuclear-Free Zone : SEAN-FZ) 3. ปฏิญญากําหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเขตแห่งสันติภาพเสรีภาพ และความเป็นกลาง (Zone of Peace Freedom and Neutrality หรือ ZOPFAN) 4. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิกหรือ ASEAN Regional Forum (ARF) 5. ASEAN Troika ผู้ประสานงานเฉพาะกิจ 6. กรอบความร่วมมือทางทหาร (ASEAN Defense Ministerial Meeting -ADMM) 7. ความสัมพันธ์กับประเทศนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • 110. ความร่วมมือของอาเซียน ความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจ 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA) 2. เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area หรือ AIA) 3. ความริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration หรือ IAI) 4. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Cooperation Scheme หรือ AICO) 5. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services หรือ AFAS) 6. ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ (e-ASEAN Framework Agreement)
  • 111. ความร่วมมือของอาเซียน ความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจ (ต่อ) 7. ความร่วมมือด้านการเงินการคลัง (Financial Cooperation) 8. ความร่วมมือด้านการเกษตรและป่าไม้ของอาเซียนและอาเซียน +3 9. ความร่วมมือด้านการขนส่ง 10. ความร่วมมือด้านพลังงานในอาเซียน (ASEAN Energy Cooperation) 11. ความตกลงด้านการท่องเที่ยวอาเซียน (ASEAN Tourism Agreement) ความ ร่วมมือด้านการท่องเที่ยวในกรอบอาเซียนและอาเซียน + 3
  • 112. ความร่วมมือของอาเซียน ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) 4. ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
  • 113. ปัญหาอุปสรรค์ที่สาคัญของอาเซียน 1. ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสภาพภูมิศาสตร์คล้ายคลึงกันจึงมีสินค้าเกษตรหรือแร่ธาตุที่ คล้ายคลึงกันบางครั้งจึงมีการแย่งตลาดกันเอง 2. สินค้าอุตสาหกรรมในกลุ่มอาเซียนนั้นก็เป็นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันแต่ละ ประเทศต่างก็มุ่งจะพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามแบบอย่างตะวันตก 3. ประเทศในอาเซียนพยายามพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพื่อทดแทนการนําเข้า แต่ละประเทศพยายามส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองอุตสาหกรรมในประเทศตนโดยการ ใช้กําแพงภาษีหรือกําหนดโควต้า 4. ประเทศสมาชิกยังคงปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติของตนเป็นหลักและการหารายได้ เข้าของรัฐประเทศในอาเซียนมีลักษณะเหมือนกันคือรายได้หลักของประเทศมาจาก การเก็บภาษีศุลกากรสินค้าขาเข้าและขาออก 5. ความแตกต่างกันทางการเมืองและการปกครอง