SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 4.1 จำแนกสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิ​วเตอร์ในรูปแบบต่างๆ มีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายอย่างละเอียด นายวัชรพล  เที่ยงปา 533050209-3
รูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ,[object Object]
สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI
สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล TCP/IP
สถาปัตยกรรมเครือข่าย SNA
สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM,[object Object]
1. สถาปัตยกรรมเครือข่าย 1.2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบ  Client-Server เป็นระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางมากกว่าระบบเครือข่ายแบบอื่นที่มีในปัจจุบัน ระบบ  Client-Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายแพลตฟอร์ม ระบบนี้จะทำงานโดยมีเครื่อง Server  ที่ให้บริการ เป็นศูนย์กลางอย่างน้อย  1  เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางแต่ สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ  Client-Server  นี้จะเป็นเครื่องที่มีราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเองอีกด้วย ระบบเครือข่ายแบบ  Client-Server  เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ  Multiprocessor  สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง  Servers สำหรับให้บริการต่างๆ เพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ  Peer-to-Peer  รวมทั้งต้องการบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย
2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทำการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอรอักษร์ "O" หรือ "Open" ก็ หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งสามารถ"เปิด" กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตราฐานOSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหา สู่ระหว่างกันได้ จุดมุ่งหมายของการกำหนดการแบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเครือข่ายออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกำหนดหน้าที่การทำงานในแต่ละเลเยอร์ รวมถึงกำหนดรูปแบบการอินเตอร์เฟซระหว่างเลเยอร์ด้วย โดยมีหลักเกณฑ์ในการกำหนดดังต่อไปนี้  		1.ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ ๆ มากเกินไป  		2. แต่ละเลเยอร์จะต้องมีการทำงานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี  		3. จัดกลุ่มหน้าที่การทำงานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน  		4. เลือกเฉพาะการทำงานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสำเร็จแล้ว 		5. กำหนดหน้าที่การทำงานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าในอนาคตถ้ามีการออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลใหม่ในอันที่จะทำให้สถาปัตยกรรมมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จะไม่มีผล ทำให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่เคยใช้อยู่เดิมจะต้องเปลี่ยนแปลง  		6. กำหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน  		7. ให้มีการยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์  		8. สำหรับเลเยอร์ของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7 ข้อแรก
2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ที่ได้ประกาศออกสู่สาธารณชนมีรูปแบบดังแสดงในรูปด้านบน และสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สำหรับการสื่อสารผ่านเครือข่ายเป็นดังที่แสดงในรูปด้านล่าง รูปแบบ OSI มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการกำหนดหน้าที่การทำงานไว้ ดังต่อไปนี้  1. เลเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสาร ทำหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริง ๆ จากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกลาง)  2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุมความผิดพลาด  3. เลเยอร์Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกำหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง-รับในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง  4. เลเยอร์Transport ทำหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่  5. เลเยอร์Session ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ   6. เลเยอร์Presentation ทำหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ (Text) และแปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน  7. เลเยอร์Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่างผู้ใช้โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็น
3.สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล TCP/IP 	ในขณะที่สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI  ยังไม่พร้อมสำหรับการใช้งานในการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายกันจริง ๆ กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาหรือ DOD  (The U.S. Department of Defense)  ในเวลานั้นได้มีการกำหนดและเริ่มใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโต-คอลสำหรับระบบเครือข่ายระดับ WAN (Wide Area Network) ที่ DOD  ได้ทำการพัฒนาขึ้นมาใช้เอง ซึ่งก็คือ สถาปัตยกรรม  ARPANET และโปรโตคอล TCP/IP  เพื่อใช้ในการเชื่อมโยงโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่มีความหลากหลายแตกต่างกันและอยู่ห่างไกลกันให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกันได้ และผลการใช้งานก็เป็นที่น่าพอใจอย่างมาก เพียงแต่ว่า ARPANET ยังนับว่าเป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายระดับ WAN  ที่ใช้สำหรับการทหารมากกว่าที่จะใช้ในทางด้านธุระกิจหรือสาธารณะ และเนื่องจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ทำให้ DOD  ต้องการที่จะพัฒนารูปแบบของสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลสำหรับเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) ขึ้นมาใช้เองด้วยเหตุผลหลัก 3 ประการคือ 		1.ต้องการรูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลที่สามารถใช้งานได้จริง ๆ  		2.DOD  มีข้อกำหนดลักษณะของเครือข่ายที่พิเศษเฉพาะออกไปจากเครือข่ายของระบบเปิด 		3.ต้องการรูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลของเครือข่ายที่ง่ายไม่ซับซ้อน  		สำหรับเหตุผลข้อที่ 1  และข้อที่ 2  คือเหตุผลความจำเป็นส่วนตัว  แต่สำหรับข้อที่ 3  ต่างหากที่เราจะศึกษากันซึ่งเป็นเหตุและผลที่ทำให้โปรโตคอล TCP/IP  แตกต่างไปจากโปรโตคอล OSI
4.สถาปัตยกรรมเครือข่าย SNA 		สถาปัตยกรรมเครือข่ายอีกชนิดหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมมาตรฐานแบบหนึ่งซึ่งต่างไปจากสถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งมีต้นตอมาจากการทหาร นั่นคือสถาปัตยกรรม SNA (System Network Architecture) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของบริษัท IBM นับเป็น สถาปัตยกรรมทางการค้ามากกว่าที่จะเป็นสถาปัตยกรรมมาตราฐานสากล เช่น สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI แต่อย่างไรก็ตามมีผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่ใช้เครืองคอมพิวเตอร์ทั้งเครื่องเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ และเครื่อง PC ของบริษัท IBM และรูปแบบของโครงสร้าง และโปรโตคอลของสถาปัตยกรรม SNA ก็ถือว่ามีรูปแบบที่ได้ กำหนดไว้ชัดเจน และใช้งานจริงอยู่ในปัจจุบัน สถาปัตยกรรม SNA ได้เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี 1974 เพื่อเป็นรูปแบบของเครือข่ายสำหรับการเชื่อมโยงการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยปราศจากความผิดพลาดในการสื่อสาร ข้อมูล และมีความเชือถือ รูปแบบและโครงสร้างของ SNA ได้มีการพัฒนาเรื่อย ๆ มาจนกลายมาเป็นรูปแบบ ของ SNA ในปัจจุบัน ลักษณะของการแบ่งชั้นของเลเยอร์จะแบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์เท่ากับในรูปแบบ OSI ดังภาพ
5.สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM เครือข่าย ATM เป็นแบบ cell-switched networks เครื่องของผู้ใช้คือ end points โดยต่อเข้ากับเครือข่าย ผ่านส่วนที่เรียกว่า user-to-network interface (UNI) ไปยัง switch ภายในเครือข่าย อุปกรณ์ในเครือข่ายเชื่อมต่อเข้าด้วยกันผ่าน network-to-network interface(NNI)

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์holahediix
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxมติพร อัมพรรัตน์
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFมติพร อัมพรรัตน์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์dechathon
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
โครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายโครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายaomathmsu
 
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารjansaowapa
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5Nuttie Naa
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโยหน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย3RTFrost_Marc
 

Was ist angesagt? (19)

สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptxลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทpptx
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDFลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทPDF
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่ายโครงสร้างระบบเครือข่าย
โครงสร้างระบบเครือข่าย
 
1
11
1
 
บZzzzทที่1
บZzzzทที่1บZzzzทที่1
บZzzzทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสารใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
ใบความรู้ 3 เรื่องอุปกรณ์การสื่อสาร
 
Mission4.1
Mission4.1Mission4.1
Mission4.1
 
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตการกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การกำหนดที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
 
Mission4.1
Mission4.1Mission4.1
Mission4.1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
4.2
4.24.2
4.2
 
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโยหน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
หน่วยที่ 2 โปรโตคอล ภินโย
 

Andere mochten auch

Guida al computer - Lezione 18 - Il monitor
Guida al computer - Lezione 18 - Il monitorGuida al computer - Lezione 18 - Il monitor
Guida al computer - Lezione 18 - Il monitorcaioturtle
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์sugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
Los principios de la vida
Los principios de la vidaLos principios de la vida
Los principios de la vidajjvega2820
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้งtor_03372
 
Ferramentas para Mineração de Dados
Ferramentas para Mineração de DadosFerramentas para Mineração de Dados
Ferramentas para Mineração de DadosManoel Amaro
 
11 02 15 Stussi Shared Space V1
11 02 15 Stussi Shared Space V111 02 15 Stussi Shared Space V1
11 02 15 Stussi Shared Space V1Robert Stüssi
 
Case history Ernesto Preatoni Real Estate
Case history Ernesto Preatoni Real EstateCase history Ernesto Preatoni Real Estate
Case history Ernesto Preatoni Real Estatebarcapeter
 
教師のためのコンピュータセキュリティ
教師のためのコンピュータセキュリティ教師のためのコンピュータセキュリティ
教師のためのコンピュータセキュリティNaoki Kato
 
Детский сад 303
Детский сад 303Детский сад 303
Детский сад 303JONI777
 
Tutorial keil3
Tutorial keil3Tutorial keil3
Tutorial keil3systemgil
 
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램ChansunP
 
Психология красоты введение
Психология красоты введениеПсихология красоты введение
Психология красоты введениеDaria Pogontseva
 

Andere mochten auch (20)

Guida al computer - Lezione 18 - Il monitor
Guida al computer - Lezione 18 - Il monitorGuida al computer - Lezione 18 - Il monitor
Guida al computer - Lezione 18 - Il monitor
 
Notas curso bsc
Notas curso bscNotas curso bsc
Notas curso bsc
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
Los principios de la vida
Los principios de la vidaLos principios de la vida
Los principios de la vida
 
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
งานนำเสนอ1  ผึ้งงานนำเสนอ1  ผึ้ง
งานนำเสนอ1 ผึ้ง
 
Pedagogia da autonomia(slides)
Pedagogia da autonomia(slides)Pedagogia da autonomia(slides)
Pedagogia da autonomia(slides)
 
Clube de Rugby São Miguel no congresso do Inatel CCD
Clube de Rugby São Miguel no congresso do Inatel CCD Clube de Rugby São Miguel no congresso do Inatel CCD
Clube de Rugby São Miguel no congresso do Inatel CCD
 
Ferramentas para Mineração de Dados
Ferramentas para Mineração de DadosFerramentas para Mineração de Dados
Ferramentas para Mineração de Dados
 
11 02 15 Stussi Shared Space V1
11 02 15 Stussi Shared Space V111 02 15 Stussi Shared Space V1
11 02 15 Stussi Shared Space V1
 
Case history Ernesto Preatoni Real Estate
Case history Ernesto Preatoni Real EstateCase history Ernesto Preatoni Real Estate
Case history Ernesto Preatoni Real Estate
 
教師のためのコンピュータセキュリティ
教師のためのコンピュータセキュリティ教師のためのコンピュータセキュリティ
教師のためのコンピュータセキュリティ
 
Cmmi1.3
Cmmi1.3Cmmi1.3
Cmmi1.3
 
Estagnação e Modernização: Os Impactos Territoriais de um Complexo Portuário ...
Estagnação e Modernização: Os Impactos Territoriais de um Complexo Portuário ...Estagnação e Modernização: Os Impactos Territoriais de um Complexo Portuário ...
Estagnação e Modernização: Os Impactos Territoriais de um Complexo Portuário ...
 
Детский сад 303
Детский сад 303Детский сад 303
Детский сад 303
 
Tutorial keil3
Tutorial keil3Tutorial keil3
Tutorial keil3
 
Alcholismo
AlcholismoAlcholismo
Alcholismo
 
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램
적응적인 아동이 되기 위한 탄력성 프로그램
 
Fletes
FletesFletes
Fletes
 
Психология красоты введение
Психология красоты введениеПсихология красоты введение
Психология красоты введение
 

Ähnlich wie Mission1

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5Nuttie Naa
 
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์holahediix
 
4สัปดาห์ที่ 4
4สัปดาห์ที่ 44สัปดาห์ที่ 4
4สัปดาห์ที่ 4Sumet Ratprachum
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์driftmaric
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์driftmaric
 
Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Theeravaj Tum
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 

Ähnlich wie Mission1 (20)

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
4สัปดาห์ที่ 4
4สัปดาห์ที่ 44สัปดาห์ที่ 4
4สัปดาห์ที่ 4
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Mission4.2
Mission4.2Mission4.2
Mission4.2
 
ดัชนี
ดัชนีดัชนี
ดัชนี
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0Javacentrix com chap01-0
Javacentrix com chap01-0
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
OSI Reference Model 7 Layers
OSI Reference Model 7 LayersOSI Reference Model 7 Layers
OSI Reference Model 7 Layers
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
4.2
4.24.2
4.2
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

Mission1

  • 1. ภารกิจการเรียนรู้ที่ 4.1 จำแนกสถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิ​วเตอร์ในรูปแบบต่างๆ มีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายอย่างละเอียด นายวัชรพล เที่ยงปา 533050209-3
  • 2.
  • 6.
  • 7. 1. สถาปัตยกรรมเครือข่าย 1.2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายแบบ Client-Server เป็นระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางมากกว่าระบบเครือข่ายแบบอื่นที่มีในปัจจุบัน ระบบ Client-Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายแพลตฟอร์ม ระบบนี้จะทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการ เป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางแต่ สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Client-Server นี้จะเป็นเครื่องที่มีราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมีความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเองอีกด้วย ระบบเครือข่ายแบบ Client-Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง Servers สำหรับให้บริการต่างๆ เพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ Peer-to-Peer รวมทั้งต้องการบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย
  • 8. 2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทำการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอรอักษร์ "O" หรือ "Open" ก็ หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งสามารถ"เปิด" กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตราฐานOSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหา สู่ระหว่างกันได้ จุดมุ่งหมายของการกำหนดการแบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเครือข่ายออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกำหนดหน้าที่การทำงานในแต่ละเลเยอร์ รวมถึงกำหนดรูปแบบการอินเตอร์เฟซระหว่างเลเยอร์ด้วย โดยมีหลักเกณฑ์ในการกำหนดดังต่อไปนี้  1.ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ ๆ มากเกินไป  2. แต่ละเลเยอร์จะต้องมีการทำงานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี  3. จัดกลุ่มหน้าที่การทำงานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน  4. เลือกเฉพาะการทำงานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสำเร็จแล้ว 5. กำหนดหน้าที่การทำงานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าในอนาคตถ้ามีการออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลใหม่ในอันที่จะทำให้สถาปัตยกรรมมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จะไม่มีผล ทำให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่เคยใช้อยู่เดิมจะต้องเปลี่ยนแปลง  6. กำหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน  7. ให้มีการยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์  8. สำหรับเลเยอร์ของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7 ข้อแรก
  • 9. 2. สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ที่ได้ประกาศออกสู่สาธารณชนมีรูปแบบดังแสดงในรูปด้านบน และสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สำหรับการสื่อสารผ่านเครือข่ายเป็นดังที่แสดงในรูปด้านล่าง รูปแบบ OSI มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการกำหนดหน้าที่การทำงานไว้ ดังต่อไปนี้ 1. เลเยอร์ชั้น Physical เป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสาร ทำหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริง ๆ จากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) 2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุมความผิดพลาด 3. เลเยอร์Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกำหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง-รับในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง 4. เลเยอร์Transport ทำหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่ 5. เลเยอร์Session ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ 6. เลเยอร์Presentation ทำหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ (Text) และแปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน 7. เลเยอร์Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่างผู้ใช้โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็น
  • 10. 3.สถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล TCP/IP ในขณะที่สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ยังไม่พร้อมสำหรับการใช้งานในการสื่อสารข้อมูลในเครือข่ายกันจริง ๆ กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาหรือ DOD (The U.S. Department of Defense) ในเวลานั้นได้มีการกำหนดและเริ่มใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโต-คอลสำหรับระบบเครือข่ายระดับ WAN (Wide Area Network) ที่ DOD ได้ทำการพัฒนาขึ้นมาใช้เอง ซึ่งก็คือ สถาปัตยกรรม ARPANET และโปรโตคอล TCP/IP เพื่อใช้ในการเชื่อมโยงโฮสต์คอมพิวเตอร์ที่มีความหลากหลายแตกต่างกันและอยู่ห่างไกลกันให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกันได้ และผลการใช้งานก็เป็นที่น่าพอใจอย่างมาก เพียงแต่ว่า ARPANET ยังนับว่าเป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายระดับ WAN ที่ใช้สำหรับการทหารมากกว่าที่จะใช้ในทางด้านธุระกิจหรือสาธารณะ และเนื่องจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) ทำให้ DOD ต้องการที่จะพัฒนารูปแบบของสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลสำหรับเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) ขึ้นมาใช้เองด้วยเหตุผลหลัก 3 ประการคือ 1.ต้องการรูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลที่สามารถใช้งานได้จริง ๆ 2.DOD มีข้อกำหนดลักษณะของเครือข่ายที่พิเศษเฉพาะออกไปจากเครือข่ายของระบบเปิด 3.ต้องการรูปแบบสถาปัตยกรรมและโปรโตคอลของเครือข่ายที่ง่ายไม่ซับซ้อน สำหรับเหตุผลข้อที่ 1 และข้อที่ 2 คือเหตุผลความจำเป็นส่วนตัว แต่สำหรับข้อที่ 3 ต่างหากที่เราจะศึกษากันซึ่งเป็นเหตุและผลที่ทำให้โปรโตคอล TCP/IP แตกต่างไปจากโปรโตคอล OSI
  • 11. 4.สถาปัตยกรรมเครือข่าย SNA สถาปัตยกรรมเครือข่ายอีกชนิดหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมมาตรฐานแบบหนึ่งซึ่งต่างไปจากสถาปัตยกรรมชุดโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งมีต้นตอมาจากการทหาร นั่นคือสถาปัตยกรรม SNA (System Network Architecture) ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมเครือข่ายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของบริษัท IBM นับเป็น สถาปัตยกรรมทางการค้ามากกว่าที่จะเป็นสถาปัตยกรรมมาตราฐานสากล เช่น สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI แต่อย่างไรก็ตามมีผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่ใช้เครืองคอมพิวเตอร์ทั้งเครื่องเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ และเครื่อง PC ของบริษัท IBM และรูปแบบของโครงสร้าง และโปรโตคอลของสถาปัตยกรรม SNA ก็ถือว่ามีรูปแบบที่ได้ กำหนดไว้ชัดเจน และใช้งานจริงอยู่ในปัจจุบัน สถาปัตยกรรม SNA ได้เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี 1974 เพื่อเป็นรูปแบบของเครือข่ายสำหรับการเชื่อมโยงการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยปราศจากความผิดพลาดในการสื่อสาร ข้อมูล และมีความเชือถือ รูปแบบและโครงสร้างของ SNA ได้มีการพัฒนาเรื่อย ๆ มาจนกลายมาเป็นรูปแบบ ของ SNA ในปัจจุบัน ลักษณะของการแบ่งชั้นของเลเยอร์จะแบ่งออกเป็น 7 เลเยอร์เท่ากับในรูปแบบ OSI ดังภาพ
  • 12. 5.สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM เครือข่าย ATM เป็นแบบ cell-switched networks เครื่องของผู้ใช้คือ end points โดยต่อเข้ากับเครือข่าย ผ่านส่วนที่เรียกว่า user-to-network interface (UNI) ไปยัง switch ภายในเครือข่าย อุปกรณ์ในเครือข่ายเชื่อมต่อเข้าด้วยกันผ่าน network-to-network interface(NNI)
  • 13. 5.สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM การเชื่อมต่อของอุปกรณ์เครือข่าย ATM ในทางกายภาพ เรียกว่า Transmission Path (TP) เช่น สื่อต่างๆ ภายในเส้นทาง TP จะมีการสร้างเส้นทางเสมือน (Virtual Path: VP) เป็นเส้นทางการสื่อสารระหว่าง อุปกรณ์ และการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ 2 จุด จะกำหนดวงจรโดยระบบ เรียกว่าวงจรเสมือน (Virtual Circuit: VC)
  • 14. 5.สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM ตัวอย่างเช่น มีเส้นทางเสมือนเชื่อมต่อระหว่าง switchIไปยัง switch IVผ่าน switch II และกำหนดให้มีวงจรการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ 2 วงจรภายในเส้นทางเสมือนนั้น
  • 15. 5.สถาปัตยกรรมเครือข่าย ATM การกำหนดเส้นทางของ cell ที่วิ่งผ่านอุปกรณ์ กำหนดที่ส่วนหัวของ cell ประกอบด้วย Virtual Path Identifier (VPI) Virtual Circuit Identifier (VCI) 16 bits 8 bits VPI VCI UNI Interface 12 bits 16 bits VPI VCI NNI Interface