SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 37
 
ประวัติ ชัยนาทแปลตามศัพท์มีความหมายว่า ชัยชนะที่มีเสียงบันลือ เป็นเมืองโบราณเมืองหนึ่ง ตัวเมืองเดิม อยู่บริเวณฝั่งขวาแม่น้ำเจ้าพระยาที่ปากคลองแพรกศรีราชา ใต้ปากน้ำเก่า สันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้น ในสมัยพญาเลอไทครองกรุงสุโขทัย ระหว่าง พ . ศ . 1860-1879  เมืองๆ นี้จึงได้ชื่อว่า เมืองแพรก หรือเมืองสรรค์ มีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านทางใต้ เมื่อกรุงสุโขทัยเสื่อมอำนาจลง เมืองแพรกได้กลายเป็นเมืองหน้าด่านทางตอนเหนือของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้เกิดชุมชนใหม่ ไม่ไกลจากเมืองสรรค์ มีเจ้าสามพระยาเป็นผู้ครองเมือง ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  2  เมืองที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเมืองใหญ่ มีชื่อว่า ชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ย้ายตัวเมืองจากบริเวณแหลมยาง มาตั้งตรง ฝั่งซ้ายแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนเมืองสรรค์นั้นเสื่อมลงเรื่อยๆ เพราะผู้คนอพยพมาอยู่ที่ชัยนาท เป็นส่วนใหญ่ ในที่สุดก็กลายเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของชัยนาทเท่านั้นชัยนาทเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เคยใช้เป็นที่ตั้งทัพรับศึกพม่าหลายครั้ง และมีชัยทุกครั้งไปจึงเป็นที่มาของชื่อ เมืองชัยนาทแห่งนี้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตราประจำจังหวัดชัยนาท
ต้นไม้ประจำจังหวัดชัยนาทต้นมะตูม
ดอกไม้ประจำจังหวัดชัยนาทดอกชัยพฤกษ์
สีประจำจังหวัดชัยนาท  :  สีบานเย็น
หลวงปู่ศุขลือชา  เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ  นามระบือสวนนก  ส้มโอดกขาวแตงกวา คำขวัญประจำจังหวัด
ที่ตั้งและอาณาเขต     จังหวัดชัยนาท ตั้งอยู่ภาคกลางตอนบน ห่างจากกรุงเทพมหานคร  194   กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น  6  อำเภอ  2   กิ่งอำเภอ คือ อำเภอเมืองชัยนาท อำเภอวัดสิงห์ อำเภอมโนรมย์ อำเภอสรรพยา อำเภอสรรณบุุรี อำเภอหันคา กิ่งอำเภอหนองมะโมง และกิ่งอำเภอเนินขาม  มีอาณาเขต         ทิศเหนือ จด  จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดนครสวรรค์        ทิศตะวันออก จด จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดสิงห์บุรี        ทิศใต้ จด จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี        ทิศตะวันตก จด จังหวัดอุทัยธานี
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ            จังหวัดชัยนาท มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำสายหลัก  3   สายไหลผ่านพื้นที่ต่างๆ ทั่วทุกอำเภอ  คือ  แม่น้ำเจ้าพระยา  แม่น้ำท่าจีน  และแม่น้ำน้อย นอกจากนั้น ยังมีระบบการชลประทานถึง  9   โครงการ พื้นที่รับน้ำจากโครงการ จำนวน  707,732  ไร่ หรือประมาณร้อยละ  50  ของพื้นที่ทั้งจังหวัด  และเป็นที่ตั้งของเขื่อนเจ้าพระยา  ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทาน สามารถพัฒนาแหล่งน้ำใต้ดินมาใช้ในรูปประปาบาดาลได้ ลักษณะภูมิอากาศคล้ายกับจังหวัดใกล้เคียงในภาคกลาง
ประชากร   ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดและรายได้เฉลี่ย  ปี ชาย หญิง รวม 2552 170,850 180,768 351,618 2553 170,416 180,627 351,043 ( ข้อมูล ณ  30   ก . ย .44) 170,699 180,880 351,579 ปี ผลิตภัณฑ์มวลรวมฯ หน่วย  :  ล้านบาท รายได้ต่อหัว หน่วย  :  บาท ลำดับที่ของประเทศ 2550 16,784 45,363 34  2551 16,792 45,262 34  2552 14,943 40,169 41
พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด  การเงินและการคลัง  พืช ปริมาณผลผลิต  ( ตัน ) พื้นที่เพาะปลูก  ( ไร่ ) ปี ปี 2551 2552 2553 2551 2552 2553 ข้าวนาปี 629,206.77 749,401.50 639,294.10 972,346 1,074,884 971,930 ข้าวนาปรัง 379,364.00 343,879.10 387,525.00 509,731 459,089 502,193 ปีงบประมาณ รับ จ่าย คลัง ธนาคารพาณิชย์ คลัง ธนาคารพาณิชย์ 2551 19,328,322,873.76 6,125,746,371.91 19,467,111,742.78 7,199,468,065.54 2552 25,801,236,662.55 5,200,216,652.68 21,050,895,896.31 7,788,817,115.07 2553 22,283,402,961.64 5,872,917,476.34 22,602,910,043.79 9,054,941,671.34
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร             การชลประทาน จังหวัดชัยนาทมีสำนักชลประทานที่มีภารกิจหลักเพื่อส่งน้ำสำหรับการเกษตร  ปัจจุบันมีโครงการชลประทาน  9   โครงการ  ครอบคลุมพื้นที่  777,572   ไร่  แยกเป็น โครงการขนาดใหญ่  7   โครงการ โครงการขนาดกลาง  2   โครงการ และโครงการขนาดเล็กประกอบด้วย โครงการต่าง ๆ  ซึ่งดำเนินการในรูปแบบฝายกั้นน้ำ ทำนบกั้นน้ำ อ่างเก็บน้ำ  ขุดสระ  ขุดลอกคลอง ห้วย หนอง บึง กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปตามพื้นที่ต่าง ๆ  ของจังหวัด  โดยที่สำนักงานโครงการชลประทานชัยนาทได้ประสานกับหน่วยราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนโครงการชลประทานขนาดเล็ก รวมทั้งสิ้น  2,707   แห่ง  แบ่งเป็น ฝาย  184   แห่ง  อ่างเก็บน้ำ  16   แห่ง  หนองบึง  50   แห่ง สระน้ำทั่วไป  241   แห่ง สระน้ำไร่นา  2,182   แห่ง  คลองส่งน้ำ  34   แห่ง  พื้นที่รับน้ำประมาณ  100,000   ไร่
อาชญากรรมและยาเสพติด   9.1  อาชญากรรม  คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ  ในรอบปี  2543   ของจังหวัดชัยนาท จับกุมได้  23   ราย  คิดเป็นอัตราคดีที่เกิดขึ้น  10.53   คดี  ต่อประชากรแสนคน   9.2  ยาเสพติด  ในปี  2543  จังหวัดชัยนาทมีการจับกุมคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด   1,179  คดี  และจับกุมผู้ต้องหาได้  1,270  คน ประเภทยาเสพติดที่จับกุมได้มากที่สุดคือ  ยาบ้า  (93.6%)  รองลงมา คือ กัญชา  (4.2%) วิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาท (Vision) “ พัฒนาจังหวัดชัยนาทให้เป็นแหล่งผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษที่สำคัญระดับประเทศและการส่งออก  เกื้อหนุนอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร  ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์  ยกระดับคุณภาพชีวิตให้สูงขึ้น และจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากประชาชน ”
หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น  8  อำเภอ   51  ตำบล   503  หมู่บ้าน อำเภอเมืองชัยนาท อำเภอมโนรมย์ อำเภอวัดสิงห์ อำเภอสรรพยา อำเภอสรรคบุรี อำเภอหันคา อำเภอหนองมะโมง อำเภอเนินขาม  
สถานที่สำคัญ
 
 
 
 
 
 
วันอินทาราม
 
 
อนุสาวรีย์ ขุนสรรค์
วัดพระมหาธาตุ
 
 
 
 
 
เทศกาลประเพณี
 
งานส้มโอชัยนาท
[object Object],[object Object],[object Object]
จัดทำโดย นางสาวพรพรหม  ปินะกาโพธิ์  ชั้น ม .5 / 3  เลขที่  18

Weitere ähnliche Inhalte

Ähnlich wie จังหวัดชัยนาท

Asean cities2
Asean cities2Asean cities2
Asean cities2
imdnmu
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 

Ähnlich wie จังหวัดชัยนาท (7)

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
Asean cities2
Asean cities2Asean cities2
Asean cities2
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จังหวัดชัยนาท

  • 1.  
  • 2. ประวัติ ชัยนาทแปลตามศัพท์มีความหมายว่า ชัยชนะที่มีเสียงบันลือ เป็นเมืองโบราณเมืองหนึ่ง ตัวเมืองเดิม อยู่บริเวณฝั่งขวาแม่น้ำเจ้าพระยาที่ปากคลองแพรกศรีราชา ใต้ปากน้ำเก่า สันนิษฐานว่าคงจะสร้างขึ้น ในสมัยพญาเลอไทครองกรุงสุโขทัย ระหว่าง พ . ศ . 1860-1879 เมืองๆ นี้จึงได้ชื่อว่า เมืองแพรก หรือเมืองสรรค์ มีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านทางใต้ เมื่อกรุงสุโขทัยเสื่อมอำนาจลง เมืองแพรกได้กลายเป็นเมืองหน้าด่านทางตอนเหนือของกรุงศรีอยุธยา ต่อมาได้เกิดชุมชนใหม่ ไม่ไกลจากเมืองสรรค์ มีเจ้าสามพระยาเป็นผู้ครองเมือง ซึ่งต่อมาได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เมืองที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเมืองใหญ่ มีชื่อว่า ชัยนาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ย้ายตัวเมืองจากบริเวณแหลมยาง มาตั้งตรง ฝั่งซ้ายแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนเมืองสรรค์นั้นเสื่อมลงเรื่อยๆ เพราะผู้คนอพยพมาอยู่ที่ชัยนาท เป็นส่วนใหญ่ ในที่สุดก็กลายเป็นเพียงอำเภอหนึ่งของชัยนาทเท่านั้นชัยนาทเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สำคัญ เคยใช้เป็นที่ตั้งทัพรับศึกพม่าหลายครั้ง และมีชัยทุกครั้งไปจึงเป็นที่มาของชื่อ เมืองชัยนาทแห่งนี้
  • 3.
  • 8. หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา คำขวัญประจำจังหวัด
  • 9. ที่ตั้งและอาณาเขต     จังหวัดชัยนาท ตั้งอยู่ภาคกลางตอนบน ห่างจากกรุงเทพมหานคร 194 กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 อำเภอ 2 กิ่งอำเภอ คือ อำเภอเมืองชัยนาท อำเภอวัดสิงห์ อำเภอมโนรมย์ อำเภอสรรพยา อำเภอสรรณบุุรี อำเภอหันคา กิ่งอำเภอหนองมะโมง และกิ่งอำเภอเนินขาม มีอาณาเขต        ทิศเหนือ จด จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดนครสวรรค์        ทิศตะวันออก จด จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดสิงห์บุรี        ทิศใต้ จด จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี        ทิศตะวันตก จด จังหวัดอุทัยธานี
  • 10. ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ           จังหวัดชัยนาท มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำสายหลัก 3 สายไหลผ่านพื้นที่ต่างๆ ทั่วทุกอำเภอ คือ แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำน้อย นอกจากนั้น ยังมีระบบการชลประทานถึง 9 โครงการ พื้นที่รับน้ำจากโครงการ จำนวน 707,732 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 50 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด และเป็นที่ตั้งของเขื่อนเจ้าพระยา ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทาน สามารถพัฒนาแหล่งน้ำใต้ดินมาใช้ในรูปประปาบาดาลได้ ลักษณะภูมิอากาศคล้ายกับจังหวัดใกล้เคียงในภาคกลาง
  • 11. ประชากร ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดและรายได้เฉลี่ย ปี ชาย หญิง รวม 2552 170,850 180,768 351,618 2553 170,416 180,627 351,043 ( ข้อมูล ณ 30 ก . ย .44) 170,699 180,880 351,579 ปี ผลิตภัณฑ์มวลรวมฯ หน่วย : ล้านบาท รายได้ต่อหัว หน่วย : บาท ลำดับที่ของประเทศ 2550 16,784 45,363 34 2551 16,792 45,262 34 2552 14,943 40,169 41
  • 12. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด การเงินและการคลัง พืช ปริมาณผลผลิต ( ตัน ) พื้นที่เพาะปลูก ( ไร่ ) ปี ปี 2551 2552 2553 2551 2552 2553 ข้าวนาปี 629,206.77 749,401.50 639,294.10 972,346 1,074,884 971,930 ข้าวนาปรัง 379,364.00 343,879.10 387,525.00 509,731 459,089 502,193 ปีงบประมาณ รับ จ่าย คลัง ธนาคารพาณิชย์ คลัง ธนาคารพาณิชย์ 2551 19,328,322,873.76 6,125,746,371.91 19,467,111,742.78 7,199,468,065.54 2552 25,801,236,662.55 5,200,216,652.68 21,050,895,896.31 7,788,817,115.07 2553 22,283,402,961.64 5,872,917,476.34 22,602,910,043.79 9,054,941,671.34
  • 13. แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร           การชลประทาน จังหวัดชัยนาทมีสำนักชลประทานที่มีภารกิจหลักเพื่อส่งน้ำสำหรับการเกษตร ปัจจุบันมีโครงการชลประทาน 9 โครงการ ครอบคลุมพื้นที่ 777,572 ไร่ แยกเป็น โครงการขนาดใหญ่ 7 โครงการ โครงการขนาดกลาง 2 โครงการ และโครงการขนาดเล็กประกอบด้วย โครงการต่าง ๆ ซึ่งดำเนินการในรูปแบบฝายกั้นน้ำ ทำนบกั้นน้ำ อ่างเก็บน้ำ ขุดสระ ขุดลอกคลอง ห้วย หนอง บึง กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปตามพื้นที่ต่าง ๆ ของจังหวัด โดยที่สำนักงานโครงการชลประทานชัยนาทได้ประสานกับหน่วยราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนโครงการชลประทานขนาดเล็ก รวมทั้งสิ้น 2,707 แห่ง แบ่งเป็น ฝาย 184 แห่ง อ่างเก็บน้ำ 16 แห่ง หนองบึง 50 แห่ง สระน้ำทั่วไป 241 แห่ง สระน้ำไร่นา 2,182 แห่ง คลองส่งน้ำ 34 แห่ง พื้นที่รับน้ำประมาณ 100,000 ไร่
  • 14. อาชญากรรมและยาเสพติด   9.1 อาชญากรรม คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ ในรอบปี 2543 ของจังหวัดชัยนาท จับกุมได้ 23 ราย คิดเป็นอัตราคดีที่เกิดขึ้น 10.53 คดี ต่อประชากรแสนคน   9.2 ยาเสพติด ในปี 2543 จังหวัดชัยนาทมีการจับกุมคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด 1,179 คดี และจับกุมผู้ต้องหาได้ 1,270 คน ประเภทยาเสพติดที่จับกุมได้มากที่สุดคือ ยาบ้า (93.6%) รองลงมา คือ กัญชา (4.2%) วิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาท (Vision) “ พัฒนาจังหวัดชัยนาทให้เป็นแหล่งผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษที่สำคัญระดับประเทศและการส่งออก เกื้อหนุนอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ยกระดับคุณภาพชีวิตให้สูงขึ้น และจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากประชาชน ”
  • 15. หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 51 ตำบล 503 หมู่บ้าน อำเภอเมืองชัยนาท อำเภอมโนรมย์ อำเภอวัดสิงห์ อำเภอสรรพยา อำเภอสรรคบุรี อำเภอหันคา อำเภอหนองมะโมง อำเภอเนินขาม  
  • 17.  
  • 18.  
  • 19.  
  • 20.  
  • 21.  
  • 22.  
  • 24.  
  • 25.  
  • 28.  
  • 29.  
  • 30.  
  • 31.  
  • 32.  
  • 34.  
  • 36.
  • 37. จัดทำโดย นางสาวพรพรหม ปินะกาโพธิ์ ชั้น ม .5 / 3 เลขที่ 18