SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 20
ประวัติและผลงาน
ของ จอมพล ป. พิบูล สงคราม
จัดทำาโดย
นางสาว ปิยะกาญจน์ ผสมศรี
ชั้น ม.5/2 เลขที่ 18
ประวัติ
ของท่านจอมพล ป.พิบูล สงคราม
• จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อเดิมว่า "แปลก ขีต
ตะสังคะ"  เกิดเมื่อวันที่ 1414 กรกฎาคมกรกฎาคม   . .พ ศ. .พ ศ 24402440 ที่ที่
จังหวัดนนทบุรีจังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายขีด และนางสำา
อางค์ ขีตตะสังคะ บิดาและมารดามีอาชีพ
ชาวสวน ภริยาคือ ท่านผู้หญิง
ละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์
กระวี")
•  จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จาก
นั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก
ชีวิตและบทบาททางการเมือง
• จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก"
เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดาเห็นว่าหูทั้งสอง
ข้างอยู่ตำ่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา
จึงให้ชื่อว่า แปลก เมื่อขึ้นดำารงตำาแหน่งสำาคัญ
ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉกเช่นชื่อ
ของบุคคลสำาคัญหลายคนทางประเทศแถบตะวัน
ตก
การดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี
ครั้งแรก
• นับแต่จอมพล ป. ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี
ใน พ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายในการสร้างชาติ ซึ่ง
มีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมาย
คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการ
สงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูก
ฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคำาขวัญ
 ว่า "ไทยทำา ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล
ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบาง
อย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น
• มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้ง
สภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อ
จัดระเบียบการดำาเนินชีวิตของคนไทยให้เป็น
แบบอารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับ
ต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ด
ขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่ง
ผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่ง
เสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรี
สากล ฯลฯ
เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุดจากอำานาจ
หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูก
ยกเลิกไปโดยปริยาย อักขรวิธีภาษาไทยได้กลับ
ไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ดี
วัฒนธรรมที่สังคมไทยเริ่มรับมาจากตะวันตก
การดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีใน
ครั้งหลัง
การดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีใน
ครั้งหลัง
•  แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี
. .พ ศ 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืนสู่ตำาแหน่ง
นายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทำารัฐประหารของ
กลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ที่นำาโดย พลโท
ผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดำารงตำาแหน่งยาวนานถึง
9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอา
 ชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ, 
กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคย
ยึดอำานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยัง
 ไม่หลุดจากอำานาจว่า "นายกฯตลอดกาล"[ 
บั้นปลายชีวิต
• จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อ
 วันที่ 11 มิถุนายน  . .พ ศ 2507 ในเวลาประมาณ
20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริ
อายุได้ 66 ปี โดยก่อนที่จะถึงแก่อสัญกรรมนั้น
จอมพล ป. ยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมือน
คนปกติ ยังรับประทานอาหารมื้อเที่ยงพร้อมกับ
ครอบครัวและคนสนิทได้เหมือนปกติ แต่ทว่าเมื่อ
ถึงเวลาเย็นก็ได้ทรุดลงและถึงแก่อสัญกรรม
อย่างกะทันหัน
บทบาททางสังคม
• จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่ม
องค์กรและหน่วยงานสำาคัญ ๆ ของประเทศ
หลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจน
ปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความ
เฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัย
แพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน), 
มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อำานาจ
ยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระ
วงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสำาคัญก่อนการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่
ผู้ก่อตั้งโทรทัศน์แห่งแรกของ
ประเทศ
• หลังจากความคิดของเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์
และคมนาคม ในช่วงปี พ.ศ. 2473-พ.ศ. 2475 
ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตร
ไชยากร กรมพระกำาแพงเพ็ชรอัครโยธิน ว่า
ต้องการที่จะให้ประเทศสยาม มีกิจการแพร่ภาพ
ออกอากาศโทรทัศน์ ไม่ประสบความสำาเร็จ
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี
พ.ศ. 2475 เป็นผลต้องประสบความล้มเหลวใน
ขณะนั้น
ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร
• ในปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้
ประกาศนโยบายจัดตั้งตลาดนัดทั่วประเทศทุก
สุดสัปดาห์ ในกรุงเทพฯ มีการจัดตลาดนัดขึ้นที่
สนามหลวง ซึ่งเรียกว่า ตลาดนัดสนามหลวง
หรือ ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน ตลาด
นัดสนามหลวงได้ย้ายออกไปจากบริเวณสนาม
หลวงแล้ว โดยไปอยู่ที่ ตลาดนัดจตุจักร แทน
บ้านพักคนชรา
• บ้านพักคนชราบางแค หรือ บ้านบางแค ใน
ปัจจุบัน เดิมใช้ชื่อว่า "สถานสงเคราะห์คนชรา
บ้านบางแค" ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน
พ.ศ. 2496 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
เป็นนายกรัฐมนตรี นับเป็นสถานสงเคราะห์ผู้สูง
อายุแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อให้การ
สงเคราะห์ผู้สูงอายุตามนโยบายสวัสดิการสังคม
ของรัฐ โดยเริ่มเปิดดำาเนินการในสมัยของนาย
ปกรณ์ อังศุสิงห์ เป็นอธิบดีกรมประชาสงเคราะห์
ชื่อสถานที่อันเนื่องด้วยชื่อ
• จังหวัดพิบูลสงคราม อดีตจังหวัดของ
ประเทศไทย
• มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 
จังหวัดพิษณุโลก
• หอประชุมจอมพล ป.  พิบูลสงคราม
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี
• โรงเรียนชุมชนพิบูลสงคราม 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
• โรงเรียนพิบูลสงครามอุปถัมภ์ จังหวัดราชบุรี
•  ถนนพิบูลสงคราม จังหวัดนนทบุรี
•  โรงเรียนพิบูลสงเคราะห์๑ จังหวัดลพบุรี
•  โรงเรียนค่ายพิบูลสงคราม จังหวัดลพบุรี
• โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี
• " "โรงเรียนสาธิต พิบูลบำาเพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา 
จังหวัดชลบุรี
•  สนามยิงปืนพิบูลสงคราม จังหวัดลพบุรี
• ( )โรงเรียนนครหลวง พิบูลประเสริฐวิทย์  
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
• ค่ายพิบูลสงคราม   กองบัญชาการกองพลทหารปืนใหญ่
จังหวัดลพบุรี
• พิพิธภัณฑ์จอมพล ป.  พิบูลสงคราม ภายใน
ศูนย์การทหารปืนใหญ่ จังหวัดลพบุรี
• สนามกอล์ฟ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ภายในมณฑล
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนรา
ชวราภรณ์ (น.ร.)
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.)
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐม
จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า (ป.จ.)
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น
มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น
มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
• เหรียญกล้าหาญ
• เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา
• เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน
• เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม.
(ผ))[14]
• เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
• เหรียญช่วยราชการเขตภายใน
• เหรียญราชการชายแดน
• เหรียญจักรมาลา
• เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.
1)[15]
• เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1
จบการนำาเสนอแล้วค่ะ
สวัสดีค่ะ

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุดงานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
งานกลางภาค นางสาวอภิชญา บุญโกมุด
 
ส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนตส่งPptขึ้นเนต
ส่งPptขึ้นเนต
 

จอมพล ป พิบูลสงคราม

  • 1. ประวัติและผลงาน ของ จอมพล ป. พิบูล สงคราม จัดทำาโดย นางสาว ปิยะกาญจน์ ผสมศรี ชั้น ม.5/2 เลขที่ 18
  • 2. ประวัติ ของท่านจอมพล ป.พิบูล สงคราม • จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อเดิมว่า "แปลก ขีต ตะสังคะ"  เกิดเมื่อวันที่ 1414 กรกฎาคมกรกฎาคม   . .พ ศ. .พ ศ 24402440 ที่ที่ จังหวัดนนทบุรีจังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายขีด และนางสำา อางค์ ขีตตะสังคะ บิดาและมารดามีอาชีพ ชาวสวน ภริยาคือ ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์ กระวี") •  จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จาก นั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก
  • 3. ชีวิตและบทบาททางการเมือง • จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า "แปลก" เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดาเห็นว่าหูทั้งสอง ข้างอยู่ตำ่ากว่านัยน์ตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงให้ชื่อว่า แปลก เมื่อขึ้นดำารงตำาแหน่งสำาคัญ ได้ใช้ชื่อว่า ป. ซึ่งเป็นตัวอักษรย่อเฉกเช่นชื่อ ของบุคคลสำาคัญหลายคนทางประเทศแถบตะวัน ตก
  • 4. การดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี ครั้งแรก • นับแต่จอมพล ป. ดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรี ใน พ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายในการสร้างชาติ ซึ่ง มีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมาย คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการ สงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูก ฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคำาขวัญ  ว่า "ไทยทำา ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบาง อย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลง การปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น
  • 5. • มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้ง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อ จัดระเบียบการดำาเนินชีวิตของคนไทยให้เป็น แบบอารยประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมฉบับ ต่างๆ อาทิ สั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ด ขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่ง ผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า ไม่ส่ง เสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิมแต่ส่งเสริมดนตรี สากล ฯลฯ เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลุดจากอำานาจ หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ รัฐนิยมก็ถูก ยกเลิกไปโดยปริยาย อักขรวิธีภาษาไทยได้กลับ ไปใช้แบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ดี วัฒนธรรมที่สังคมไทยเริ่มรับมาจากตะวันตก
  • 7. การดำารงตำาแหน่งนายกรัฐมนตรีใน ครั้งหลัง •  แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี . .พ ศ 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืนสู่ตำาแหน่ง นายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทำารัฐประหารของ กลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ที่นำาโดย พลโท ผิน ชุณหะวัณ คราวนี้ดำารงตำาแหน่งยาวนานถึง 9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอา  ชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ,  กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคย ยึดอำานาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาในช่วงที่ยัง  ไม่หลุดจากอำานาจว่า "นายกฯตลอดกาล"[ 
  • 8. บั้นปลายชีวิต • จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อ  วันที่ 11 มิถุนายน  . .พ ศ 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริ อายุได้ 66 ปี โดยก่อนที่จะถึงแก่อสัญกรรมนั้น จอมพล ป. ยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมือน คนปกติ ยังรับประทานอาหารมื้อเที่ยงพร้อมกับ ครอบครัวและคนสนิทได้เหมือนปกติ แต่ทว่าเมื่อ ถึงเวลาเย็นก็ได้ทรุดลงและถึงแก่อสัญกรรม อย่างกะทันหัน
  • 9. บทบาททางสังคม • จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่ม องค์กรและหน่วยงานสำาคัญ ๆ ของประเทศ หลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจน ปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความ เฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ,  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน),  มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อำานาจ ยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระ วงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสำาคัญก่อนการ เปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่
  • 10. ผู้ก่อตั้งโทรทัศน์แห่งแรกของ ประเทศ • หลังจากความคิดของเสนาบดีกระทรวงพาณิชย์ และคมนาคม ในช่วงปี พ.ศ. 2473-พ.ศ. 2475  ของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตร ไชยากร กรมพระกำาแพงเพ็ชรอัครโยธิน ว่า ต้องการที่จะให้ประเทศสยาม มีกิจการแพร่ภาพ ออกอากาศโทรทัศน์ ไม่ประสบความสำาเร็จ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 เป็นผลต้องประสบความล้มเหลวใน ขณะนั้น
  • 11. ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร • ในปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ ประกาศนโยบายจัดตั้งตลาดนัดทั่วประเทศทุก สุดสัปดาห์ ในกรุงเทพฯ มีการจัดตลาดนัดขึ้นที่ สนามหลวง ซึ่งเรียกว่า ตลาดนัดสนามหลวง หรือ ตลาดนัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน ตลาด นัดสนามหลวงได้ย้ายออกไปจากบริเวณสนาม หลวงแล้ว โดยไปอยู่ที่ ตลาดนัดจตุจักร แทน
  • 12.
  • 13. บ้านพักคนชรา • บ้านพักคนชราบางแค หรือ บ้านบางแค ใน ปัจจุบัน เดิมใช้ชื่อว่า "สถานสงเคราะห์คนชรา บ้านบางแค" ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2496 ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี นับเป็นสถานสงเคราะห์ผู้สูง อายุแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อให้การ สงเคราะห์ผู้สูงอายุตามนโยบายสวัสดิการสังคม ของรัฐ โดยเริ่มเปิดดำาเนินการในสมัยของนาย ปกรณ์ อังศุสิงห์ เป็นอธิบดีกรมประชาสงเคราะห์
  • 14.
  • 15. ชื่อสถานที่อันเนื่องด้วยชื่อ • จังหวัดพิบูลสงคราม อดีตจังหวัดของ ประเทศไทย • มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม  จังหวัดพิษณุโลก • หอประชุมจอมพล ป.  พิบูลสงคราม โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี • โรงเรียนชุมชนพิบูลสงคราม  จังหวัดนครศรีธรรมราช • โรงเรียนพิบูลสงครามอุปถัมภ์ จังหวัดราชบุรี •  ถนนพิบูลสงคราม จังหวัดนนทบุรี
  • 16. •  โรงเรียนพิบูลสงเคราะห์๑ จังหวัดลพบุรี •  โรงเรียนค่ายพิบูลสงคราม จังหวัดลพบุรี • โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี • " "โรงเรียนสาธิต พิบูลบำาเพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา  จังหวัดชลบุรี •  สนามยิงปืนพิบูลสงคราม จังหวัดลพบุรี • ( )โรงเรียนนครหลวง พิบูลประเสริฐวิทย์   จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ค่ายพิบูลสงคราม   กองบัญชาการกองพลทหารปืนใหญ่ จังหวัดลพบุรี • พิพิธภัณฑ์จอมพล ป.  พิบูลสงคราม ภายใน ศูนย์การทหารปืนใหญ่ จังหวัดลพบุรี • สนามกอล์ฟ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ภายในมณฑล
  • 17.
  • 18. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ • เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนรา ชวราภรณ์ (น.ร.) • เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.) • เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐม จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า (ป.จ.) • เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) • เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) • เหรียญกล้าหาญ • เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา • เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน
  • 19. • เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม. (ผ))[14] • เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา • เหรียญช่วยราชการเขตภายใน • เหรียญราชการชายแดน • เหรียญจักรมาลา • เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร. 1)[15] • เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1