SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 67
Downloaden Sie, um offline zu lesen
٢

                        เศรษฐศาสตร์
    กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และ
                              วั ฒ นธรรม
          ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٤-6
 เวลาเรี ย น ٦ ชั ่ ว โมง

 มาตรฐานการเรี ย นรู ้ /ตั ว ชี ้ ว ั ด
      ส 3.1      ม.4-6/1 อภิปรายการกำาหนดราคาและค่าจ้างใน
ระบบเศรษฐกิจ

 สาระสำ า คั ญ /ความคิ ด รวบยอด
      ระบบเศรษฐกิจของโลกในโลกยุคปัจจุบันมีผลต่อการกำาหนด
     ราคาและค่าจ้าง โดยรัฐบาล
มีบทบาทในการแทรกแซงและควบคุมราคาเพื่อการแจกจ่ายและจัดสรร
ในทางเศรษฐกิจ


 สาระการเรี ย นรู ้
   3.1สาระการเรี ย นรู ้ แ กนกลาง
     1) ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบน ผลดีและผลเสียของระบบ
                                  ั
        เศรษฐกิจแบบต่าง ๆ

     2) ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดีและข้อเสียของตลาด
        ประเภทต่าง ๆ

     3) การกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน การกำาหนดราคาใน
        เชิงกลยุทธ์ที่มีในสังคมไทย

     4)   การกำาหนดค่าจ้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และอัตราค่าจ้าง
          แรงงานในสังคมไทย




                                48
5)   บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพื่อ
           การแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ

   3.2สาระการเรี ย นรู ้ ท ้ อ งถิ ่ น
         -

 สมรรถนะสำ า คั ญ ของผู ้ เ รี ย น
   4.١ ความสามารถในการสื ่ อ สาร
   ٤.٢ ความสามารถในการคิ ด
      - ทักษะการคิดวิเคราะห์
      - ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
      - ทักษะการคิดแก้ปัญหา
   4.٢ ความสามารถในการใช้ ท ั ก ษะชี ว ิ ต
        -    กระบวนการทำางานกลุ่ม

 คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
   ١. ใฝ่เรียนรู้
   2. มุ่งมั่นในการทำางาน

 ชิ ้ น งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
    รายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

 การวั ด และการประเมิ น ผล
   7.1 การประเมิ น ก่ อ นเรี ย น
         - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
      7.2 การประเมิ น ระหว่ า งการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
         1) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ
         ٢) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
         ٣) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
         ٤) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
         5) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
         6) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การกำาหนดราคา
         7) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
   ٧.٣ การประเมิ น หลั ง เรี ย น

                                    49
- แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
           7.4 การประเมิ น ชิ ้ น งาน / ภาวะงาน (รวบยอด)
                - ประเมินรายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลก
ปัจจุบัน


                         การประเมิ น ชิ ้ น งาน/
                         ภาระงาน (รวบยอด)
 แบบประเมิ น รายงานสรุ ป เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ ในโลก
                     ปั จ จุ บ ั น

                             คำ า อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพ/ระดั บ คะแนน
  รายการ
  ประเมิ น          ดี ม าก (٤)          ดี (٣)        พอใช้ (٢) ปรั บ ปรุ ง (١)
١. การ             เขียนเปรียบ     เ ขี ย น เ ป รี ย บ   เ ขี ย น เ ป รี ย บ   เ ขี ย น เ ป รี ย บ
เปรี ย บเที ย บ    เทียบผลดีและ    เทียบผลดีและ          เทียบผลดีและ          เทียบผลดีแ ละ
   ผลดี แ ละ       ผลเสียของ       ผ ล เ สี ย ข อ ง      ผ ล เ สี ย ข อ ง      ผ ล เ สี ย ข อ ง
ผลเสี ย            ระบบ            ร ะ บ บ               ร ะ บ บ               ร ะ บ บ
   ของระบบ         เศรษฐกิจ        เ ศ ร ษ ฐ กิ จ        เ ศ ร ษ ฐ กิ จ        เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
  เศรษฐกิ จ        ประเภทต่างๆ     ประเภทต่างๆ           ประเภทต่างๆ           ประเภทต่างๆ
  แบบต่ า งๆ       ได้ถูกต้องครบ   ได้ถูกต้อง            ได้ถูกต้อง            ได้ถูกต้อง
                   ถ้วน ทุก        เ กื อ บ ทุ ก         บางประเด็น            บางประเด็น
                   ประเด็น         ประเด็น                                     แต่ สำา นวนวก
                                                                               วน
٢. การ             เขียนเปรียบ     เ ขี ย น เ ป รี ย บ   เ ขี ย น เ ป รี ย บ   เ ขี ย น เ ป รี ย บ
เปรี ย บเที ย บ    เทียบข้อดีและ   เทียบข้อดีและ         เทียบข้อดีและ         เทียบข้อดีและ
                                   ข้ อ เ สี ย ข อ ง     ข้ อ เ สี ย ข อ ง     ข้ อ เ สี ย ข อ ง
    ข้ อ ดี แ ละ   ข้อเสียของ      ตลาดประเภท            ตลาดประเภท            ตลาดประเภท
ข้ อ เสี ย         ตลาดประเภท      ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก    ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก    ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก
    ของตลาด        ต่างๆ ได้ถูก    ต้อง                  ต้อง                  ต้อง
ประเภท             ต้องครบถ้วน     เ กื อ บ ทุ ก         บางประเด็น            บางประเด็น
                                   ประเด็น                                     แต่ สำา นวนวก
    ต่ า งๆ        ทุกประเด็น
                                                                               วน

٣. การ             อธิบายการ       อธิบายการ             อธิบายการ             อธิบายการ
กำ า หนด           กำาหนดราคา      กำาหนดราคา            กำาหนดราคา            กำาหนดราคา
ราคา                                                                           ตามอุปสงค์
                   ตามอุปสงค์      ตามอุปสงค์            ตามอุปสงค์            อุปทาน
    ตาม
อุ ป สงค์ แ ละ     อุปทาน          อุปทาน                อุปทาน                พร้อมยก
    อุ ป ทาน       พร้อมยก         พร้อมยก               พร้อมยก               ตัวอย่าง
                                                                               ประกอบได้ถูก

                                          50
ตัวอย่าง     ตัวอย่าง           ตัวอย่าง        ต้อง
                ประกอบได้ถูก ประกอบถูก          ประกอบถูก       แต่ไม่ชัดเจน
                ต้อง ชัดเจน  ต้องค่อนข้าง       ต้องค่อนข้าง
                             ชัดเจนเป็น         ชัดเจนเป็น
                             ส่วนใหญ่           บางตอน
٤. บทบาท        อธิบาย       อธิบาย             อธิบาย          อธิบาย
ของรั ฐ ใน      บทบาทของ     บทบาทของ           บทบาทของ        บทบาทของรัฐ
   การ
                รัฐในการ     รัฐในการ           รัฐในการ        ในการ
แทรกแซง
ราคา            แทรกแซง      แทรกแซง            แทรกแซง         แทรกแซง
   และการ       ราคาและการ ราคาและการ           ราคาและการ      ราคาและการ
ควบคุ ม         ควบคุมราคา ควบคุมราคา           ควบคุมราคา      ควบคุมราคา
  ราคาเพื ่ อ   เพื่อการแจก  เพื่อการแจก        เพื่อการแจก     เพื่อการแจก
การ
   แจกจ่ า ย    จ่าย         จ่าย               จ่าย            จ่าย
                พร้อมยก      พร้อมยก            พร้อมยก         พร้อมยก
                ตัวอย่าง     ตัวอย่าง           ตัวอย่าง        ตัวอย่าง
                                                                ประกอบได้ถูก
                ประกอบได้ถูก ประกอบถูก          ประกอบถูก       ต้อง
                ต้อง ชัดเจน  ต้องค่อนข้าง       ต้องค่อนข้าง    แต่ไม่ชัดเจน
                             ชัดเจน             ชัดเจน
                             เป็นส่วนใหญ่       เป็นบางตอน



                          คำ า อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพ/ระดั บ คะแนน
  รายการ
  ประเมิ น       ดี ม าก (٤)          ดี (٣)        พอใช้ (٢) ปรั บ ปรุ ง (١)
٥. การนำ า      นำาเสนอผล       นำาเสนอผล       นำาเสนอผล       นำาเสนอผล
เสนอ            งาน             งาน             งาน             งาน
   ผลงาน        เรียงตาม        เรียงตาม        เรียงตาม        เรียงตาม
                ลำาดับขั้นตอน   ลำาดับขั้นตอน   ลำาดับขั้นตอน   ลำาดับขั้นตอน
                อย่างถูกต้อง    อย่างถูกต้อง    อย่างถูกต้อง    อย่างถูกต้อง
                ชัดเจน และ      ค่อนข้าง        แต่ค่อนข้าง     เป็นบางขั้น
                เข้าใจง่าย      ชัดเจน และ      วกวน            ตอน
                                เข้าใจง่าย                      แต่ไม่ชัดเจน




                                     51
เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น คุ ณ ภาพ
                 ช่ ว งคะแนน      ระดั บ คุ ณ ภาพ
                      ٢٠-١٧            ดีมาก
                      ١٦-١٣              ดี
                       ١٢-٩            พอใช้
                       ٨-٥           ปรับปรุง




 กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
    นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ٢


                  หน่ ว ยเศรษฐกิ จ และระบบเศรษฐกิ จ
กิ จ กรร วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อนโดยการ
 มที ่ 1 จั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค การ   เวลา 2
                                                            ชั ่ ว โมง
           ต่ อ เรื ่ อ งราว (Jigsaw)

     1. ครูนำาภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ มา
        ให้นักเรียนดูและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า ใครเป็นผู้
        ผลิต ใครเป็นผู้บริโภค ถ้านักเรียนเป็นผูบริโภคดังในภาพ
                                               ้
        นักเรียนจะปฏิบัติอย่างไร ผู้ผลิตในภาพดังกล่าวจะต้องดำาเนิน
        การอย่างไรจึงจะเกิดผลดีที่สุด



                                 52
2. ครูช่วยอธิบายสรุปให้นักเรียนเข้าใจว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
   ไม่วาจะเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค การ
       ่
   แลกเปลี่ยน การแจกจ่ายสินค้า และบริการไปยังผูบริโภคจะ
                                                  ้
   ดำาเนินการอย่างประหยัดและตอบสนองความต้องการของ
   ประชาชนในสังคมให้ได้มากที่สุด ผู้ดำาเนินกิจกรรมทาง
   เศรษฐกิจ เรียกว่า หน่วยเศรษฐกิจ

3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ในเรื่องต่อไปนี้

  - หน่วยเศรษฐกิจ

  - ระบบเศรษฐกิจ

4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ
   สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง
   อ่อน และอ่อน ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีหมายเลขประจำาตัว
   หมายเลข 1,2,3,4 เรียกว่า กลุมบ้าน ( Home Groups )
                                 ่

5. สมาชิกแต่ละหมายเลขของกลุ่มบ้านแยกย้ายกันไปหาสมาชิก
   ที่มีหมายเลขเดียวกัน รวมกันเป็นกลุมใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้
                                     ่
   เชี่ยวชาญ ( Expert Groups) จากนั้นสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
   แต่ละหมายเลขร่วมกันศึกษาหาความรู้และช่วยกันทำาใบงาน
   ดังนี้

  -   กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรู้ เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ และ
      ทำาใบงานที่ 1.1

  -   กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ
      ทุนนิยม และทำาใบงานที่ 1.2

  -   กลุ่มหมายเลข 3 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ
      สังคมนิยม และทำาใบงานที่ 1.3

  -   กลุ่มหมายเลข 4 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ
      ผสม และทำาใบงานที่ 1.4


                            53
6. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูก
        ต้องของใบงานที่รบผิดชอบแล้วกลับไปรวมกลุ่มเดิมที่เรียกว่า
                            ั
        กลุ่มบ้าน สมาชิกแต่ละหมายเลขผลัดกันอธิบายความรู้จาก
        ใบงานที่ตนรับผิดชอบให้สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง สมาชิกใน
        กลุ่มผลัดกันถามข้อสงสัยจนมีความเข้าใจชัดเจน

     7. ครูสุ่มเรียกตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกไปเฉลยคำาตอบในใบ
        งานหน้าชั้นเรียน โดยเรียงตามลำาดับตั้งแต่ใบงานที่ 1.1 – 1.4
        และครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง

     8. ครูและนักเรียนสรุปประเด็นสำาคัญของความรู้ในเรื่อง หน่วย
        เศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจประเภทต่าง ๆ


               ตลาดและการกำ า หนดราคาในระบบเศรษฐกิ จ
กิ จ กรร วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อนโดยการ
 มที ่ 2 จั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค การ       เวลา 4
               จั ด ที ม แข่ ง ขั น (Team Games                 ชั ่ ว โมง
               Tournament), เทคนิ ค คู ่ ค ิ ด

     1.   ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างตลาดสินค้าที่นักเรียนรู้จัก ซึ่ง
          อาจเป็นตลาดสินค้าในท้องถิ่นที่นักเรียนมีภูมิลำาเนาอยู่ หรือ
          ตลาดสินค้าในจังหวัดต่าง ๆ ทีนักเรียนเคยไปซื้อของ หรือจาก
                                        ่
          การอ่าน/ฟังข่าว และให้ช่วยกันวิเคราะห์ความสำาคัญของ
          ตลาด

     2.   ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ความหมายของตลาดในระบบ
          เศรษฐกิจ และอธิบายความรู้เกี่ยวกับเรื่องตลาดในระบบ
          เศรษฐกิจ ในหัวข้อ ดังนี้

          ١)     ความสำาคัญของตลาดในระบบเศรษฐกิจ

          ٢)     ขนาดของตลาด


                                   54
٣)     คนกลางในตลาด

     ٤)     ประเภทของตลาด

٣. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ
สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้าง

  เก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน และให้แต่ละกลุ่มศึกษา
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ

     เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ จากนั้นช่วยกันทำาใบงานที่ 2.1
เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

     โดยให้แต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้

     -    สมาชิกคนที่ 1 มีหน้าที่อ่านคำาถามและแยกแยะประเด็นที่
          โจทย์กำาหนด

     -    สมาชิกคนที่ 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคำาถามอธิบายให้
          ได้มาซึ่งแนวคำาตอบ

     -    สมาชิกคนที่ 3 รวมรวมข้อมูลและเขียนคำาตอบ

     -    สมาชิกคนที่ 4 สรุปขั้นตอนทั้งหมด ตรวจคำาตอบ

4.   ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำาตอบในใบงานที่ 2.1 และช่วย
     กันสรุปประเด็นสำาคัญเกี่ยวกับเรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

5.   ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเรื่อง การกำาหนดราคาตามอุปสงค์
     และอุปทานในประเด็นต่อไปนี้

     -     ความหมายของอุปสงค์และอุปทาน

     -     ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์

     -     ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทาน

٦.   นักเรียนกลุ่มเดิมแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ศึกษา
 หาความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือเรียน และ

                              55
หนังสืออ่านเพิ่มเติม จากนั้นร่วมมือกันทำาใบงานที่ 2.2 เรื่อง
     การกำาหนดราคา

   ٧.    ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำาตอบในใบงานที่ 2.2 และ
    ประเด็นสำาคัญ

   ٨.       ครูอธิบายความรู้ให้แก่นักเรียนในหัวข้อเรื่อง ต่อไปนี้

        ١) หลักเกณฑ์ในการกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน

        ٢) การเปลี่ยนแปลงของราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ

       ٣) ข้อดีและข้อเสียของการกำาหนดราคาตามอุปสงค์และ
     อุปทาน

        ٤) การกำาหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ที่มีในสังคมไทย

        ٥) ข้อดี – ข้อเสียของการกำาหนดเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย

      ٦) บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุม
     ราคาเพื่อการแจกจ่ายและจัดสรร  ในทางเศรษฐกิจ

      ٧) การกำาหนดค่าจ้าง อัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทยและ
     กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

    9.      นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือเรียน หนังสือ
อ่านเพิ่มเติม แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

      นักเรียนกลุ่มเดิมแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำาถามจากการฟังครู
อธิบายและจากการศึกษาความรู้

        เพิ่มเติม กลุ่มละ 10 ข้อ

    10.   นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันถามคำาถาม และให้กลุ่มอื่น
เป็นฝ่ายตอบหมุนเวียนกันไปโดยมี

      จำานวนข้อคำาถามตามความเหมาะสมของเวลา กลุ่มทีมีหน้าที่
                                                  ่
ถามจะเป็นผู้เฉลย และครูเป็น


                                   56
ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง

 11. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปทบทวนความรู้จาก
หนังสือเรียน หนังสืออ่านเพิ่มเติม

     เรื่อง ตลาดและการกำาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ เพื่อ
เตรียมการแข่งขันการตอบปัญหาใน

    ชั่วโมงต่อไป

 ١٢. นักเรียนและครูช่วยกันจัดสถานที่สำาหรับการแข่งขันตอบ
ปัญหา ดังนี้

   - โต๊ะหมายเลข 1 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ
                                                   ่
สามารถในระดับเก่ง

    - โต๊ะหมายเลข 2 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ
                                                    ่
      สามารถในระดับปานกลาง (ค่อนข้างเก่ง)

    - โต๊ะหมายเลข 3 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ
                                                    ่
      สามารถในระดับปานกลาง (ค่อนข้างอ่อน)

    - โต๊ะหมายเลข 4 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ
                                                    ่
      สามารถในระดับอ่อน

    ในกรณีที่มีนักเรียนจำานวนมาก โต๊ะหมายเลข 1 2 3 4 อาจมี
     ซำ้ากันหลายโต๊ะ เพื่อให้นักเรียน

    ทุกคนมีโอกาสแข่งขัน

13. นักเรียนแต่ละคนไปนั่งตามโต๊ะที่ครูจัดไว้ ครูแจกซองคำาถาม
    ให้ทุกโต๊ะ ซึ่งมีคำาถามเป็น 2 เท่าของจำานวนนักเรียน

14. เริ่มการแข่งขันให้นักเรียนผลัดกันทำาหน้าที่ ดังนี้
    - นักเรียนคนที่ 1 หยิบซองคำาถาม 1 ซอง เปิดอ่านคำาถาม
         แล้ววางลงกลางโต๊ะ
    - นักเรียนอีก 3 คน แข่งขันกันตอบคำาถาม โดยเขียนคำา
         ตอบลงในกระดาษคำาตอบของตนส่งให้คนอ่าน

                            57
- คนอ่านคำาถามทำาหน้าที่ให้คะแนน
                  - สมาชิกในทีมแข่งขันจะผลัดกันทำาหน้าที่อ่านคำาถามจน
                    ครบทุกคำาถาม ให้ทุกคนได้ตอบคำาถามจำานวนเท่ากัน
                  - สมาชิกทุกคนรวมคะแนนของตน โดยให้สมาชิกในกลุ่ม

                    ร่วมกันรับรองว่าถูกต้องพร้อมเซ็นชื่อ

       15.   นักเรียนทุกคนกลับเข้ากลุ่มเดิม นำาคะแนนที่ได้รับมารวมกันเป็น
             คะแนนของทีม ทีมที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับการประกาศ
             ชมเชย




       16.   ครูมอบหมายให้นักเรียนทำารายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ
             ในโลกปัจจุบัน โดยมีขอบข่าย ดังนี้

             1) การเปรียบเทียบผลดีและผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบ
             ต่าง ๆ

             2)     การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของตลาดประเภทต่าง ๆ

             3)     การกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน

             4) บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา
             เพื่อการแจกจ่าย



   •    นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2



 สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้
   9.1 สื ่ อ การเรี ย นรู ้
       1)     หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม. 4 - ม.6

                                      58
2)     หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
        (1)นราทิพย์ ชุติวงศ์ และชลดา จามรกุล. พื้นฐาน
           เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร :
           คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
       (2) พอพันธ์ อุยยานนท์. พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ ไทย
           ในประมวลสาระชุ ด วิ ช าไทยศึ ก ษา
           หน่ ว ยที ่ ٣ สาขาวิ ช าศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
           สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :
           โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ٢٥٤٦.
       (3) รัตนา สายคณิต. การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ในเอกสาร
           การสอนชุ ด วิ ช าสั ง คมศึ ก ษา ٣ :
           เศรษฐศาสตร์ ส ำ า หรั บ ครู หน่ ว ยที ่ ١٤ สาขาวิ ช า
   ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย -
           ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร
   รมาธิราช,٢٥٤٦.
       (4) รัตนา สายคณิต และคณะ. พื ้ น ฐานเศรษฐศาสตร์
           มหภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์
           จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٠.
       (5) วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลั ก เศรษฐศาสตร์ ม หภาค.
           พิมพ์ครั้งที่ ١٤. กรุงเทพมหานคร :
   3) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ

   4) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

   5) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

   6)   ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสาน

   7) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ

   8) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การกำาหนดราคา

9.2 แหล่ ง การเรี ย นรู ้
   1) ห้องสมุด
   2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
       http://www.bot.or.th

                               59
http://www.mof.go.th
            http://www.idis.ru.ac.th
                   http://www.mfa.go.th/business/1092.php
           http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354




   แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น หน่ ว ยการ
                  เรี ย นรู ้ ท ี ่ 2
คำ า ชี ้ แ จง ให้กา า ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุด
เพียงข้อเดียว

1. ข้อใดจัดเป็นหน่วยเศรษฐกิจ
   ก. บริษัท ห้างร้าน ห้างหุ้นส่วน
   ข.             ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐบาล
   ค. บริษัท ห้างสรรพสินค้า องค์การโทรศัพท์
   ง. สหกรณ์ ธนาคาร บริษทเงินทุนหลักทรัพย์
                             ั

                                  60
2. ข้อความใดสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ
      ก. การดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
      ข. การดำาเนินงานต่างๆ ทีมีความเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตจำานวนมาก
                                    ่
      ค. การนำาปัจจัยการผลิตออกสู่ตลาดในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์
ต่อผู้ผลิต แต่คำานึงถึง
                 ความเป็นธรรมของผู้บริโภค
      ง. ความร่ ว มมื อ กั น ของมนุ ษ ย์ ใ นการสร้ า งและใช้ ท รั พ ยากร เพื่ อ
สนองความต้องการของสมาชิกใน
                 สังคมที่มีการปฏิบัติคล้ายคลึงกัน
 3. ข้อใดจัดเป็นลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
     ก. มีกิจกรรมทีแสดงถึงการคุ้มครองสวัสดิภาพของแรงงาน
                   ่
     ข. รัฐจะเข้าไปควบคุมกิจการสาธารณูปโภค และกิจการธนาคาร
     ค. การดำาเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจโดยผ่านกลไกราคา
     ง. เอกชนสามารถดำา เนิ น กิ จ การทางด้ า นอุ ต สาหกรรมร่ ว มกั บ
รัฐบาลได้
 4. ในระบบเศรษฐกิจที่มีผู้ผลิตน้อยราย จะส่งผลสำาคัญในเรื่องใด
    ก. ผู้ผลิตมีกำาไรมาก
    ข. ทำาให้เกิดการผูกขาดการผลิต
    ค. ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าได้น้อยลง
    ง. มีการทำาลายทรัพยากรธรรมชาติลดน้อยลง




 5. ข้ อ ใ ด เ ป็ น ข้ อ ดี ข อ ง ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ทุ น นิ ย ม
     ก. การแข่งขันกันขายสินค้าทำาให้คุณภาพของสินค้าดีขึ้น
          ข. มีการกระจายรายได้ของประชาชนสูงขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน
     ค. เอกชนสามารถตัดสินใจผลิตสินค้าได้อย่างเสรีไม่ถูกจำา กัดจาก
รัฐบาล
          ง. ผู้บริโภคและผู้ผลิตมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกันในเรื่องของ
การตัดสินใจผลิตและบริโภค
 6. ลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นอย่างไร
    ก. รัฐและเอกชนร่วมมือกันประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ เพื่อประโยชน์
ของประเทศ

                                     61
ข. รั ฐ ควบคุ ม กิ จ การธนาคาร อุ ต สาหกรรมขั้ น พื้ น ฐาน และ
กิจการสาธารณูปโภค
     ค. ผู้ผลิตต้องแบ่งปันผลประโยชน์ เพื่อเป็นสวัสดิการประชาชน

          ง. ผู้ประกอบกิจการธุรกิจขนาดใหญ่มีเสรีภาพในการผลิต

 7. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อเสียอย่างไร
      ก. การลงทุนในธุรกิจต่างมีต้นทุนมาก แต่มีกำาไรน้อย
      ข. รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงกลไกราคาต่อผู้ผลิตทุกประเภท
      ค. ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่างเต็มทีในการทำาธุรกิจที่ต้องการ
                                       ่
      ง. มีการผูกขาดราคาสินค้าที่เอกชนเป็นผู้ผ ลิต และประชาชนไม่
ได้รับสวัสดิการจากรัฐบาล
8.   ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อดีอย่างไร
     ก. ประชาชนมีอำานาจต่อรองราคาสินค้า
     ข.    เอกชนมีแรงจูงใจในการผลิตหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ
     ค. ธุรกิจขนาดใหญ่มีกำาไรมาก เพราะมีการรวมกลุ่มกัน
     ง. ประชาชนได้รับการดูแลเกี่ยวกับสวัสดิการจากรัฐค่อนข้างดี
9.   ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะเด่นอย่างไร
     ก. รัฐไม่แทรกแซงราคาสินค้าหรือธุรกิจทุกขนาด
     ข. รัฐมีหน้าที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการขนาดเล็ก
     ค. รัฐเข้าไปดำาเนินกิจกรรมอุตสาหกรรมประเภทการบริการและการ
ท่องเที่ยว
     ง. รัฐบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลายด้าน เพื่อให้เกิด
ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ




10. ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร
    ก. รั ฐ บาลสามารถเข้ า ไปควบคุ ม หรื อ อกกฎหมายเพื่ อ กำา กั บ ถ้ า
เอกชนดำาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
               จนสร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน
    ข. รายได้ของแรงงานมีจำานวนเท่าเทียมกันทุกคน ส่งผลให้
ประชาชนมีความตั้งใจในการทำางาน

                                   62
ในองค์กรธุรกิจอย่างเต็มที่
     ค. เอกชนมีกำาลังใจในการผลิตสินค้าตามนโยบายของรัฐบาล
     ง. การบริหารงานขององค์กรธุรกิจมีประสิทธิภาพ
11. ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร
     ก. การบริหารงานของรัฐในกิจการอุตสาหกรรมบางประเภทขาด
ประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับเอกชน
     ข. เอกชนมี บทบาทสำา คั ญ ในการแข่ ง ขั น กั น ผลิ ตสิ น ค้ า กั บ รั ฐ บาล
ทำาให้เกิดการเปรียบเทียบ
     ค. รายได้จากการผลิตสินค้าต้องถูกนำา มาแบ่งปันให้ รัฐในรูปแบบ
ของการเสียภาษี
     ง. เอกชนมี พ ลั ง อำา นาจการต่ อ รองการผลิ ต และการบริ ก ารกั บ
รัฐบาล
12. ข้อความเกี่ยวกับตลาด ข้อใดถูกต้อง
            ก. ประเทศใดใช้ น โยบายการค้ า เสรี กับ ประเทศต่ า งๆ ตลาด
สินค้าจะกว้างขวาง
      ข. พ่ อ ค้ า คนกลางจะเป็ น ผู้ ที่ มี อำา นาจในการค้ า ขายที่ ใ กล้ ชิ ด
ประชาชนมากที่สุด
            ค. ตลาดจะมีอาณาเขตกว้างขวางเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบาย
ของรัฐ
      ง. สินค้าขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้งาย จะมีอาณาเขตแคบ
                                               ่
13. ข้อใดเป็นตลาดปัจจัยการผลิต
    ก. ตลาดหลักทรัพย์
    ข. ตลาดเสื้อผ้า อาหาร
    ค. ตลาดซื้อขายเครื่องสูบนำ้า
    ง. ตลาดซื้อเงินตราต่างประเทศ
14. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์มีลักษณะสำาคัญ ยกเว้นข้อใด
    ก. ธุรกิจรายใหม่มน้อย ผู้ขายมีอทธิพลในการกำาหนดราคา
                        ี            ิ
          ข. ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสภาวะตลาด
    ค. สินค้าที่ซื้อหรือขาย จะต้องมีลักษณะอย่างเดียวกัน

           ง. การติดต่อซื้อขายจะต้องกระทำาโดยสะดวก



                                     63
15. ข้อความใด ไม่สอดคล้องกับกฎของอุปสงค์ (Law of demand)
     ก. เมื่อทุเรียนมีราคาถูก คนก็จะซื้อทุเรียนมากขึ้น
     ข. เมื่อเงาะมีราคาแพง คนก็จะซื้อเงาะจำานวนน้อยลง
     ค. เมื่อโทรศัพท์มือถือราคาลดลง คนก็จะซื้อโทรศัพท์มือถือมาก
ขึ้น
     ง. เมื่ อยางพารามี ร าคาแพงขึ้ น มี ผ ลให้ ต ลาดต่ า งประเทศงดซื้ อ
ยางพาราของไทย
16. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์คืออะไร
    ก. ราคาสินค้า รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน จำานวนประชากร
    ข. ฤดูกาล รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ประเภทของสินค้า
    ค. ราคาสินค้า จำานวนประชากร รัฐบาล ประเภทสินค้า
    ง. การเปลียนแปลงราคาสินค้า จำานวนสินค้า
                ่
17. “ถ้าราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตสินค้าออกมาจำา หน่ายลดลง ถ้าราคา
    สิ นค้ าเพิ่ม ขึ้น ผู้ผลิ ตสิ นค้ า จะผลิ ตสิ น ค้ า ออกมาจำา หน่ า ยเพิ่ ม ขึ้ น ”
    ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใด
    ก. อุปสงค์                                                     ข. อุปทาน
    ค. กฎของอุปสงค์                                             ง. ก ฎ ข อ ง
อุปทาน
18. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทานคืออะไร
    ก. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน
    ข. จำานวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย
    ค. ความนิยมของผู้ผลิต
    ง.ฤดูกาล
19. ระดับราคาที่จำานวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อขณะนั้น จะเท่ากับ
     จำานวนสินค้าที่ผู้ผลิตจะผลิต       ออกมาจำาหน่ายในขณะ
     เดียวกันพอดี เรียกว่าอะไร
     ก. ราคาดุลยภาพ                                                  ข.
ราคายุติธรรม
     ค. ราคาของผู้ผลิต                               ง. ร า ค า ข อ ง ผู้
บริโภค
20. หลั กเกณฑ์ ใ นการกำา หนดราคาสิ น ค้ า ในเชิ ง กลยุ ท ธ์ ข้ อ ใดไม่ ถู ก
ต้อง

                                         64
ก.   กำาหนดราคาขายแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ซื้อ
   ข.   กำาหนดราคาขายให้แตกต่างกันตามปริมาณสินค้าที่ซื้อ
   ค.   กำาหนดราคาสินค้าตามวัตถุประสงค์ของผู้ถือหุ้น
   ง.   กำาหนดราคาสินค้าตามช่วงเวลาที่ต่างกัน
  21. การแทรกแซงด้ า นราคาของรั ฐ สามารถทำา ได้ ห ลายรู ป แบบ
ย       ก        เ       ว้    น        ข้ อ        ใ       ด
    ก. การควบคุมราคาสินค้าไม่ให้สูงขึ้น
         ข. รัฐกำาหนดราคาสินค้าทุกประเภท
    ค. การรับจำานำาสินค้าเกษตร
         ง. การประกันราคา
  22. กลไกสำาคัญที่เป็นตัวกำาหนดค่าจ้างคืออะไร
    ก. การกำาหนดราคาของรัฐ
         ข. อุปสงค์ต่อผู้บริโภค และอุปทานของผู้ผลิต
    ค. อุปสงค์ต่อแรงงาน และอุปทานของแรงงาน
         ง. อุปสงค์ต่อแรงงาน และการกำาหนดราคาของผู้ผลิต

  23. ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีระบบเศรษฐกิจแบบใด
    ก. ทุนนิยม
    ข. เสรีนิยม
    ค. แบบผสม
    ง. สังคมนิยม
  24. อัตราค่าจ้างขั้นตำ่าของกรุงเทพมหานคร วันละเท่าใด
    ก. 200 บาท
    ข. 206 บาท
    ค. 260 บาท
    ง. 266 บาท
    25. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับปัจจุบันมีความสำาคัญใน
ข้อใดมากที่สุด
     ก. กำาหนดราคาค่าจ้างของแรงงานทั่วประเทศ
     ข. ควบคุมนายจ้างให้มีสวัสดิการที่ดีต่อแรงงาน
     ค. แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง
         ง. กำาหนดราคาค่าจ้างขั้นตำ่าสำาหรับแรงงานในโรงงาน


                               65
เฉลย          แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น-หลั ง เรี ย น
                  หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 2
ข้ อ   1    2      3   4    5     6    7    8    9       10
เฉล    ข    ง      ค   ข    ก     ข    ค    ง        ง
 ย                                                       ก

ข้ อ   11   12    13   14   15    16   17   18   19      20
เฉล    ก    ก     ค    ก     ง    ก     ง   ข    ก       ค
 ย

ข้ อ   21   22    23   24   25
เฉล    ข    ค     ค    ข    ค
 ย




                             66
แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١
                          เศรษฐศาสตร์
หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 2 ระบบเศรษฐกิ จ ในชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษา
โลกปั จ จุ บ ั น                                          ปี ท ี ่ ٤-6
เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ และระบบ                         เวลา ٢
เศรษฐกิ จ                                                  ชั ่ ว โมง

 สาระสำ า คั ญ /ความคิ ด รวบยอด
     ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ ล้วนมีทั้งผลดีและผลเสียแตกต่างกัน
และมีผลต่อการกำาหนดราคา

และค่าจ้าง


 ตั ว ชี ้ ว ั ด /จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
   2.1 ตั ว ชี ้ ว ั ด
        ส ٣.١ ม.٦/١-٤             อภิปรายการกำาหนดราคาและค่าจ้างใน
ระบบเศรษฐกิจ

    2.2 จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้
       1) อธิบายประเภทของระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบนได้
                                                   ั

        2) วิเคราะห์ผลดีและผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆได้

 สาระการเรี ย นรู ้
   3.1 สาระการเรี ย นรู ้ แ กนกลาง
        - ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบัน ผลดีและผลเสียของ
ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ

    3.2 สาระการเรี ย นรู ้ ท ้ อ งถิ ่ น
          -



                                      67
 สมรรถนะสำ า คั ญ ของผู ้ เ รี ย น
       4.١ ความสามารถในการคิ ด
          - ทักษะการคิดวิเคราะห์
            -    ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
       4.٢ ความสามารถในการใช้ ท ั ก ษะชี ว ิ ต
          - กระบวนการทำางานกลุ่ม

 คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
       ١. ใฝ่เรียนรู้
          ٢. มุ่งมั่นในการทำางาน

 กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ (วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อน
โดยการจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค
                                          การต่ อ เรื ่ อ งราว
(Jigsaw))

        นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

                                ชั ่ ว โมงที ่

  1.    ครูนำาภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ มาให้
        นักเรียนดู เช่น

        - การซื้อขายสินค้าในตลาดสด ตลาดนัด ในห้างสรรพสินค้า

        -   ช่างเสริมสวยกำาลังเสริมสวยให้แก่ลูกค้า

  2.    ครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้

        -   ใครเป็นผู้บริโภค

        - ถ้านักเรียนเป็นส่วนหนึงของผู้บริโภคในภาพ นักเรียนจะปฏิบัติ
                                ่
        อย่างไร อธิบายเหตุผล

        - ใครเป็นผู้ผลิต


                                    68
- ผู้ผลิตในภาพนั้นจะต้องดำาเนินงานอย่างไร จึงจะเกิดผลดีที่สุด

  3. ครูช่วยอธิบายสรุปให้นักเรียนเข้าใจว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่วา
                                                                 ่
     จะเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน
     การแจกจ่ายสินค้า และบริการไปยังผู้บริโภค จะต้องดำาเนินการ
     อย่างประหยัดและตอบสนองความต้องการของประชาชนในสังคม
     ให้ได้มากที่สุด ผู้ดำาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เรียกว่า หน่วย
     เศรษฐกิจ




  4. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ในเรื่องต่อไปนี้

     1) หน่วยเศรษฐกิจ

       -       ประเภทของหน่วยเศรษฐกิจ

       -       ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ

     ٢) ระบบเศรษฐกิจ

           -   ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)

           -   ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism)

           -   ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed economy)

   ٥.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ
คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง

      ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน โดยแบ่งกลุ่มไว้ล่วงหน้า ให้
นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มมีหมายเลข

     1,2,3,4 เรียกกลุ่มนี้วา กลุ่มบ้าน ( Home Groups )
                           ่

  ٦.สมาชิกแต่ละหมายเลขของกลุ่มบ้านแยกย้ายกันไป หากลุ่ม
สมาชิกใหม่ที่มีหมายเลขเหมือนกัน

                                  69
หมายเลข 1 ไปรวมกับหมายเลข 1        หมายเลข 2 ไปรวมกับ
หมายเลข 2 หมายเลข 3 ไปรวมกับ

       หมายเลข 3 หมายเลข 4 ไปรวมกับหมายเลข 4 เรียกกลุ่ม
ใหม่วา กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert
     ่

    Groups) สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลข อาจมีจำานวน
มากในกรณีที่นักเรียนในห้องมี

    จำานวนมาก ดังนั้น ครูอาจให้สมาชิกที่มีหมายเลขเดียวกันแยก
ออกเป็น 2 กลุ่มย่อย เช่น หมายเลข 1

     มี 2 กลุม คือ
             ่

     - กลุมหมายเลข ١ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ١ ก และกลุ่ม 1 ข
          ่                  ่              ่

     - กลุมหมายเลข ٢ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ٢ ก และกลุ่ม ٢ ข
          ่                  ่              ่

      - กลุมหมายเลข ٣ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ٣ ก และกลุ่ม ٣ ข
           ่                  ่              ่
เป็นต้น

   ٧.สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups) แต่ละหมายเลขร่วม
     กันศึกษาหาความรู้ และช่วยกันทำา ใบงาน ดังนี้

     - กลุมหมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ และทำาใบ
          ่
     งานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ

     - กลุมหมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
          ่
     และทำาใบงานที่ 1.2 เรื่องระบบ

       เศรษฐกิจแบบทุนนิยม




     - กลุมหมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ
          ่
     สังคมนิยม และทำาใบงานที่ 1.3 เรื่อง


                               70
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม

     - กลุมหมายเลข 4 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
          ่
     และทำาใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบ

      เศรษฐกิจแบบผสม

                            ชั ่ ว โมงที ่

1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนถึงความรูที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้
                                     ้
   ศึกษาและทำาใบงานว่ากลุ่มใด

  มีปัญหาที่สงสัยในเรื่องใด ครูอธิบายเพิ่มเติมจนนักเรียนมีความ
เข้าใจชัดเจน

2.   นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups ) แต่ละหมายเลขช่วย
     กันตรวจสอบความถูกต้องของ

     การทำาใบงานที่ตนรับผิดชอบ

3.   สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขกลับไปยังกลุ่มเดิมที่เรียก
     ว่า กลุ่มบ้าน ( Home Groups)

 แล้วให้แต่ละหมายเลขผลัดกันอธิบายความรู้จากใบงานที่ตนรับผิด
ชอบให้สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง

     กรณีถ้ามีสมาชิกคนใดสงสัยให้ซักถามจนมีความเข้าใจตรงกัน

٤. ครูสุ่มเรียกตัวแทนแต่ละกลุมออกไปเฉลยคำาตอบในใบงาน
                                ่
หน้าชั้นเรียน เรียงตามลำาดับตั้งแต่

  ใบงานที่ 1.1 - 1.4 โดยให้กลุ่มอื่นที่มีผลงานแตกต่างกันไปได้
เสนอเพิ่มเติม

٥. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญของความรูในเรื่อง
                                                  ้
หน่วยเศรษฐกิจ และระบบเศรษฐกิจ


                               71
ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนข้อดีและข้อจำากัดของระบบเศรษฐกิจ
  แต่ละประเภท



 การวั ด และประเมิ น ผล

      วิ ธ ี ก าร            เครื ่ อ งมื อ       เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อน        แบบทดสอบก่อนเรียน    ร้อยละ 60 ผ่าน
เรียน                                        เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.1        ใบงานที่ ١.1         ร้อยละ 60 ผ่าน
                                             เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.2        ใบงานที่ ١.2         ร้อยละ 60 ผ่าน
                                             เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.3        ใบงานที่ ١.3         ร้อยละ 60 ผ่าน
                                             เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 1.4        ใบงานที่ ١.4         ร้อยละ 60 ผ่าน
                                             เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการ       แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ 2
ทำางานกลุ่ม             ทำางานกลุ่ม          ผ่านเกณฑ์
 สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้
   8.1 สื ่ อ การเรี ย นรู ้
       ١) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.٤-ม.٦
       2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
             (١) นราทิพย์ ชุติวงศ์ และชลดา จามรกุล. พื้นฐาน
             เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร :
                คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
             (٢) พอพันธ์ อุยยานนท์. พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ ไทย
             ในประมวลสาระชุ ด วิ ช าไทยศึ ก ษา
                หน่ ว ยที ่ ٣ สาขาวิ ช าศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
                สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :
                โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ٢٥٤٦.
             (٣) รัตนา สายคณิต. การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ใน
             เอกสารการสอนชุ ด วิ ช าสั ง คมศึ ก ษา ٣ :

                                72
เศรษฐศาสตร์ ส ำ า หรั บ ครู หน่ ว ยที ่ ١٤ สาขาวิ ช า
           ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย -
                  ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร
           รมาธิราช,٢٥٤٦.
               (٤) รัตนา สายคณิต และคณะ. พื ้ น ฐานเศรษฐศาสตร์
               มหภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะ
                    เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٠.
               (٥) วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลั ก เศรษฐศาสตร์ ม หภาค.
               พิมพ์ครั้งที่ ١٤. กรุงเทพมหานคร :
           ٣) ใบงานที่ ١.١ เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ
           ٤) ใบงานที่ ١.٢ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
           ٥) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
           ٦) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

     ٨.2 แหล่ ง การเรี ย นรู ้
                  1) ห้องสมุด
            2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
         http://www.bot.or.th
         http://www.mof.go.th
         http://www.idis.ru.ac.th
                http://www.mfa.go.th/business/1092.php
         http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354




                                         ١.١
                      เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ

คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้




                                   73
หน่วยเศรษฐกิจ
 ที่สำาคัญ ได้แก่
 หน่วยเศรษฐกิจ
 ประเภทใดบ้าง
 จงอธิบาย

                                     1. ครัวเรือน เป็นหน่วยเศรษฐกิจที่
                                     อาจเป็นบุคคลเพียงคนเดียวหรือ
                                     หลายคนร่วมกันตัดสินใจ เพื่อใช้
                                     ทรัพยากรไม่ว่า จะเป็นเงิน ทรัพย์สิน
                                     และแรงงานให้เกิดประโยชน์มาก
                                     ที่สุด สมาชิกครัวเรือนอาจเป็น
                                     เจ้าของปัจจัยการผลิต เป็นแรงงาน
                                     และเป็นผู้ประกอบกิจการใดกิจการ
                                     หนึ่ง
                                     2.ธุรกิจ เป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่
                                     ทำาหน้าที่ในการนำาเอาปัจจัยการผลิต
                                     ต่าง ๆ แล้วนำาไปจ่ายให้แก่ผู้บริโภค
                                     จุดมุ่งหมายสำาคัญ คือ การแสวงหา
                                             ١.١
                                     กำาไรสูงสุดจากการประกอบการของ
                       เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ
                                     ตน
                                     3.องค์กรรัฐบาล เป็นหน่วยงานของ
คำ า ชี ้ แ จง                       รัฐส่วนราชการ ต่าง ๆ มีหน้าที่และ
                 ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
                                     ความสัมพันธ์ กับหน่วยงานอื่น ๆ ใน
                                     ระบบเศรษฐกิจ และอาจเป็นเจ้าของ
                                     ปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต ผู้บริโภคใน
                                     คราวเดียวกัน



                                    74
หน่วยเศรษฐกิจ
 ที่สำาคัญ ได้แก่
 หน่วยเศรษฐกิจ
 ประเภทใดบ้าง
 จงอธิบาย




                                          ١.٢
                 เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม
คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้


   ระบบเศรษฐกิจ
   แบบ
   ทุนนิยม มี
   ลักษณะสำาคัญ



                                    75
ระบบเศรษฐกิจ
   แบบ
   ทุนนิยม มีข้อดี
   อย่างไร




 ระบบเศรษฐกิจ
 แบบ
 ทุนนิยม มีข้อเสีย
 อย่างไร



                                        ١.٢
                 เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม
คำ า ชี ้ แ จงให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้
                                 เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน มี
                                 เสรีภาพในการผลิต สามารถ
   ระบบเศรษฐกิจ                  ตัดสินใจในการผลิตว่าจะผลิต
   แบบ                           อะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร
   ทุนนิยม มี                    โดยรัฐบาลไม่มีส่วน
   ลักษณะสำาคัญ                  เข้าไปเกี่ยวข้ง ใจในการผลิ ต และ
                                 ١ . เกิ ด แรงจู องและควบคุม
                                 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีการ ของ
                                 การทำา งานทำา ให้ เ ศรษฐกิ จ
                                 แข่งขันกัน เพื่ออย่าปัจจัยสำาคัญ
                                 ประเทศขยายตัวเป็น งรวดเร็ว
                                 ٢ . การแข่ ง ขั น การผลิ ต จะทำา ให้
                                 คุณภาพของงานและคุณภาพของ
                                 สินค้าดีขึ้น
                                 76บุคคลในระบบเศรษฐกิจมีอิสระ
                                 ٣.
                                 ในการใช้ทรัพยากร หรือ ประกอบ
                                 กิจการที่ต้องการ
                                 ٤ . ผู้บริโภคมีโอกาสบริโภคสินค้า
ระบบเศรษฐกิจ
   แบบ
   ทุนนิยม มีข้อดี
   อย่างไร



                                     ١ .การกระจายรายได้ของ
                                     ประชาชนไม่เท่าเทียมกันคนมี
                                     ทรัพย์สินมากหรือนายทุนย่อม
 ระบบเศรษฐกิจ                        แสวงหารายได้จากทรัพย์สินได้
 แบบ                                 มาก
 ทุนนิยม มีข้อเสีย                   ٢ .อาจเป็นเหตุทำาให้วิกฤติการณ์
 อย่างไร                             ทางเศรษฐกิจ           มีความรุนแรง
                                     เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำาให้เกิดการ
                                     ขาดแคลน ในบางครั้งรัฐบาล
                                     จำาเป็นต้องควบคุมราคา
                                             ١.٣
                                     ٣ .ผู้ผลิตอาจจะรวมตัวกันผูกขาด
                 เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม
คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้




   ระบบเศรษฐกิจ
   แบบสังคมนิยม
   มีลักษณะสำาคัญ
   อย่างไร




                                    77
ระบบเศรษฐกิจ
แบบสังคมนิยม
มีข้อดีอย่างไร




ระบบเศรษฐกิจ
แบบสังคมนิยม
มีข้อเสียอย่างไร




                   78
١.٣
                 เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม
คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้

                                       ١ . รัฐบาลเข้าไปเป็นผู้
                                       ควบคุมและโอนกิจการ
                                       ธนาคารทั้งหมดเป็นของรัฐ
                                       ٢ . รัฐจะเข้าไปควบคุม
   ระบบเศรษฐกิจ                        อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานและ
   แบบสังคมนิยม                        อุตสาหกรรมหนักต่าง ๆ ไว้
   มีลักษณะสำาคัญ                      และควบคุมกิจการ
   อย่างไร                             สาธารณูปโภค
                                       ٣ . รัฐเข้าไปจัดสวัสดิการให้
                                       กั.ประชาชนได้รับการดูแล
                                       ١ บประชาชน
                                       ٤ .่ยวกับดโอกาสให้เอกชนมีน
                                       เกี รัฐเปิ สวัสดิการจากรัฐค่อ
                                       กรรมสิทธิ์ใน ที่อยูอาศัยมี
                                       ข้างดี               ่
                                       อิสระในการประกอบอาชีพ
                                       ٢ .รัฐบาลมีกำาลังทรัพย์มาก
                                       ในธุรกิจขนาดย่อโครงการ
                                       พอในการดำาเนิน ม มี
                                       เสรีภๆ ที่เป็นประโยชน์้อ ่อ
                                       ต่าง าพในการเลือกซื ต
                                       ประชาชนส่วนใหญ่
                                       ٣ .เป็นการล้มเลิกการผูกขาด
                                       ธุรกิจของเอกชนในธุรกิจบาง
                                    79 ชนิด ทำาให้เศรษฐกิจไม่ค่อย
                                       ผันแปรขึ้นลงมากนัก
ระบบเศรษฐกิจ
แบบสังคมนิยม
มีข้อดีอย่างไร




                    ١ . ถ้าการวางแผนการดำาเนิน
                    กิจการขนาดใหญ่ โดยรัฐไม่ดี
                    ทำาให้การตัดสินใจและการ
                    จัดสรรทรัพยากรไม่ก่อให้เกิด
                    ประโยชน์สูงสุด และผู้บริโภค
ระบบเศรษฐกิจ        ไม่มีโอกาสเลือกบริโภคสินค้า
แบบสังคมนิยม        มากนัก
มีข้อเสียอย่างไร    ٢ .ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่าง
                    เต็มที่ในการ ทำาธุรกิจที่ตนมี
                    ความรู้ ความสามารถ ทำาให้
                    ขาดกำาลังใจในการปรับปรุง
                    กิจการให้เกิดประสิทธิภาพ

                    ٣ . ขาดแรงจูงใจในการผลิต
                    หรือคิดค้น สิ่งใหม่ ๆ




                   80
١.٤
                   เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบผสม
คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้




   ระบบเศรษฐกิจ
   แบบผสม
   มีลักษณะสำาคัญ
   อย่างไร




                                    81
ข้อดีของระบบ
เศรษฐกิจแบบ
ผสม คืออะไร




ข้อเสียของ
ระบบ
เศรษฐกิจแบบ
ผสม




               82
١.٤
                   เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบผสม
คำ า ชี ้ แ จง   ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้


                                     ١ . เอกชนและรัฐบาล มีส่วนร่วมใน
                                     การใช้กลไกราคา และ การ
                                     วางแผนในการตัดสินใจเพื่อให้
                                     เกิดประโยชน์และความเป็นธรรม
                                     มากที่สุด
                                     2. เอกชนและรัฐบาลสามารถเป็น
                                     เจ้าของปัจจัยการผลิตสินค้าและ
                                     บริการ กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วน
   ระบบเศรษฐกิจ                      ใหญ่เอกชนจะเป็นผู้ดำาเนินการ
   แบบผสม                            ยกเว้นในการผลิตสินค้าและ
   มีลักษณะสำาคัญ                    บริการบางประเภทเกี่ยวกับความ
   อย่างไร                           มั่นคงของชาติ หรือกิจการที่
                                     เอกชนไม่นิยมลงทุน
                                     ٣ . รัฐมีอำานาจเข้าไปแทรกแซง
                                     หากมีการค้ากำาไรเกินควร หรือ
                                     ธุรกิจมีการดำาเนินการที่จะนำาไปสู่
                                     การผูกขาด

                                     ٤ . รัฐจะเข้าไปควบคุม ส่งเสริม
                                     และอำานวยความสะดวกแก่ผู้
                                     ประกอบการ ด้วยการสร้าง
                                     โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
                                     เพื่ออำานวยความสะดวกและกระตุ้น
                                     เศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว




                                    83
١ .มีความคล่องตัวในการดำาเนิน
                         การ เพราะสามารถปรับตัวให้เข้า
                         กับสถานการณ์ของสภาพเศรษฐกิจ
ข้อดีของระบบ             ได้ ถ้าเป็นเอกชนดำาเนินกิจกรรม
เศรษฐกิจแบบ              ทางเศรษฐกิจจนเกิดปัญหา รัฐบาล
ผสมผสาน                  ก็อาจเข้าไปควบคุม หรือออก
คืออะไร                  กฎหมายได้

                         ٢ .เอกชนมีการแข่งขันผลิตสินค้า
                         ทำาให้เกิดสินค้า    มีดุลยภาพ
                         ประชาชนสามารถเลือกบริโภคได้
                         ٣ . เอกชนสามารถเข้าถึงบริการ
                         ของรัฐทั้งในระบบสาธารณูปโภค
                         การศึกษา สาธารณสุข


                         ١ . เอกชนอาจถูกควบคุมกิจการ
                         จากรัฐ
                         ٢ .การที่รัฐเข้ามาวางแผนบางส่วน
                         ทำาให้ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อ
                         การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว
ข้อเสียของ
ระบบ                     ٣ . การวางแผนจากส่วนกลางเพื่อ
เศรษฐกิจแบบ              ประสานประโยชน์ของรัฐกับเอกชน
ผสม                      ให้เกิดผลดีตอส่วนรวมนั้นในทาง
                                       ่
                         ปฏิบัติทำาได้ยาก
                         ٤ . การบริหารงานของรัฐในกิจการ
                         อุตสาหกรรมบางประเภท หรือ การ
                         บริการจำานวนมากยังขาด
                         ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับการ
                         บริหารงานของเอกชน


               แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม
                 การทำ า งานกลุ ่ ม

                         84
การ
          ชื ่ อ –
                                     การ     การรั บ               ร่ ว ม
          สกุ ล                                          การ                 รวม
  ลำ า                  ความ       แสดง         ฟั ง              ปรั บ ปรุ
          ของ                                           ตั ้ ง ใจ             ٢٠
  ดั บ                 ร่ ว มมื อ  ความ       ความ                 งผล
          ผู ้ ร ั บ                                    ทำ า งาน            คะแน
  ที ่                            คิ ด เห็ น คิ ด เห็ น            งาน
          การ                                                                 น
                                                                   กลุ ่ ม
         ประเมิ น
                       ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١




                   ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
                                                                                     .
เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน
                  ............./.................../................
ดีมาก         =        4
ดี            =        3
พอใช้         =        2
ปรับปรุง               =    1



เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น คุ ณ ภาพ
 ช่ ว ง   ระดั บ             หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบ
 คะแนน คุ ณ ภา               หมายให้หัวหน้ากลุ่ม
          พ                  เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตวแทนกลุ่มผลัด
                                                    ั
 17 – 20     ดีมาก           กันประเมิน
 13 – 16       ดี            หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัว
             พอใช้           นักเรียนเอง
  9 – 12
   ٥–8
                แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ได้
          ปรับปรุง           ตามความเหมาะสมก็ ٢
                                เศรษฐศาสตร์

                                         85
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 

Andere mochten auch

ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1Parich Suriya
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 

Andere mochten auch (9)

ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Ähnlich wie หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานsakkawang
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศpummath
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานNarumol Surasak
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docamppbbird
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมIsriya Paireepairit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10sasamart02
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 

Ähnlich wie หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน (20)

หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานแบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10แผนการจัดการเรียนรู้ที่  10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mehr von SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

  • 1. ٢ เศรษฐศาสตร์ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และ วั ฒ นธรรม ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ٤-6 เวลาเรี ย น ٦ ชั ่ ว โมง  มาตรฐานการเรี ย นรู ้ /ตั ว ชี ้ ว ั ด ส 3.1 ม.4-6/1 อภิปรายการกำาหนดราคาและค่าจ้างใน ระบบเศรษฐกิจ  สาระสำ า คั ญ /ความคิ ด รวบยอด ระบบเศรษฐกิจของโลกในโลกยุคปัจจุบันมีผลต่อการกำาหนด ราคาและค่าจ้าง โดยรัฐบาล มีบทบาทในการแทรกแซงและควบคุมราคาเพื่อการแจกจ่ายและจัดสรร ในทางเศรษฐกิจ  สาระการเรี ย นรู ้ 3.1สาระการเรี ย นรู ้ แ กนกลาง 1) ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบน ผลดีและผลเสียของระบบ ั เศรษฐกิจแบบต่าง ๆ 2) ตลาดและประเภทของตลาด ข้อดีและข้อเสียของตลาด ประเภทต่าง ๆ 3) การกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน การกำาหนดราคาใน เชิงกลยุทธ์ที่มีในสังคมไทย 4) การกำาหนดค่าจ้าง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และอัตราค่าจ้าง แรงงานในสังคมไทย 48
  • 2. 5) บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพื่อ การแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ 3.2สาระการเรี ย นรู ้ ท ้ อ งถิ ่ น -  สมรรถนะสำ า คั ญ ของผู ้ เ รี ย น 4.١ ความสามารถในการสื ่ อ สาร ٤.٢ ความสามารถในการคิ ด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ - ทักษะการคิดแก้ปัญหา 4.٢ ความสามารถในการใช้ ท ั ก ษะชี ว ิ ต - กระบวนการทำางานกลุ่ม  คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ١. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำางาน  ชิ ้ น งาน/ภาระงาน (รวบยอด) รายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน  การวั ด และการประเมิ น ผล 7.1 การประเมิ น ก่ อ นเรี ย น - แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 7.2 การประเมิ น ระหว่ า งการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ 1) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ ٢) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ٣) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ٤) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 5) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 6) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การกำาหนดราคา 7) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ٧.٣ การประเมิ น หลั ง เรี ย น 49
  • 3. - แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 7.4 การประเมิ น ชิ ้ น งาน / ภาวะงาน (รวบยอด) - ประเมินรายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจในโลก ปัจจุบัน การประเมิ น ชิ ้ น งาน/ ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมิ น รายงานสรุ ป เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ ในโลก ปั จ จุ บ ั น คำ า อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพ/ระดั บ คะแนน รายการ ประเมิ น ดี ม าก (٤) ดี (٣) พอใช้ (٢) ปรั บ ปรุ ง (١) ١. การ เขียนเปรียบ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เปรี ย บเที ย บ เทียบผลดีและ เทียบผลดีและ เทียบผลดีและ เทียบผลดีแ ละ ผลดี แ ละ ผลเสียของ ผ ล เ สี ย ข อ ง ผ ล เ สี ย ข อ ง ผ ล เ สี ย ข อ ง ผลเสี ย ระบบ ร ะ บ บ ร ะ บ บ ร ะ บ บ ของระบบ เศรษฐกิจ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เศรษฐกิ จ ประเภทต่างๆ ประเภทต่างๆ ประเภทต่างๆ ประเภทต่างๆ แบบต่ า งๆ ได้ถูกต้องครบ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ถ้วน ทุก เ กื อ บ ทุ ก บางประเด็น บางประเด็น ประเด็น ประเด็น แต่ สำา นวนวก วน ٢. การ เขียนเปรียบ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เ ขี ย น เ ป รี ย บ เปรี ย บเที ย บ เทียบข้อดีและ เทียบข้อดีและ เทียบข้อดีและ เทียบข้อดีและ ข้ อ เ สี ย ข อ ง ข้ อ เ สี ย ข อ ง ข้ อ เ สี ย ข อ ง ข้ อ ดี แ ละ ข้อเสียของ ตลาดประเภท ตลาดประเภท ตลาดประเภท ข้ อ เสี ย ตลาดประเภท ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก ต่ า ง ๆ ไ ด้ ถู ก ของตลาด ต่างๆ ได้ถูก ต้อง ต้อง ต้อง ประเภท ต้องครบถ้วน เ กื อ บ ทุ ก บางประเด็น บางประเด็น ประเด็น แต่ สำา นวนวก ต่ า งๆ ทุกประเด็น วน ٣. การ อธิบายการ อธิบายการ อธิบายการ อธิบายการ กำ า หนด กำาหนดราคา กำาหนดราคา กำาหนดราคา กำาหนดราคา ราคา ตามอุปสงค์ ตามอุปสงค์ ตามอุปสงค์ ตามอุปสงค์ อุปทาน ตาม อุ ป สงค์ แ ละ อุปทาน อุปทาน อุปทาน พร้อมยก อุ ป ทาน พร้อมยก พร้อมยก พร้อมยก ตัวอย่าง ประกอบได้ถูก 50
  • 4. ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ต้อง ประกอบได้ถูก ประกอบถูก ประกอบถูก แต่ไม่ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ต้องค่อนข้าง ต้องค่อนข้าง ชัดเจนเป็น ชัดเจนเป็น ส่วนใหญ่ บางตอน ٤. บทบาท อธิบาย อธิบาย อธิบาย อธิบาย ของรั ฐ ใน บทบาทของ บทบาทของ บทบาทของ บทบาทของรัฐ การ รัฐในการ รัฐในการ รัฐในการ ในการ แทรกแซง ราคา แทรกแซง แทรกแซง แทรกแซง แทรกแซง และการ ราคาและการ ราคาและการ ราคาและการ ราคาและการ ควบคุ ม ควบคุมราคา ควบคุมราคา ควบคุมราคา ควบคุมราคา ราคาเพื ่ อ เพื่อการแจก เพื่อการแจก เพื่อการแจก เพื่อการแจก การ แจกจ่ า ย จ่าย จ่าย จ่าย จ่าย พร้อมยก พร้อมยก พร้อมยก พร้อมยก ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ประกอบได้ถูก ประกอบได้ถูก ประกอบถูก ประกอบถูก ต้อง ต้อง ชัดเจน ต้องค่อนข้าง ต้องค่อนข้าง แต่ไม่ชัดเจน ชัดเจน ชัดเจน เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางตอน คำ า อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพ/ระดั บ คะแนน รายการ ประเมิ น ดี ม าก (٤) ดี (٣) พอใช้ (٢) ปรั บ ปรุ ง (١) ٥. การนำ า นำาเสนอผล นำาเสนอผล นำาเสนอผล นำาเสนอผล เสนอ งาน งาน งาน งาน ผลงาน เรียงตาม เรียงตาม เรียงตาม เรียงตาม ลำาดับขั้นตอน ลำาดับขั้นตอน ลำาดับขั้นตอน ลำาดับขั้นตอน อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง ชัดเจน และ ค่อนข้าง แต่ค่อนข้าง เป็นบางขั้น เข้าใจง่าย ชัดเจน และ วกวน ตอน เข้าใจง่าย แต่ไม่ชัดเจน 51
  • 5. เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น คุ ณ ภาพ ช่ ว งคะแนน ระดั บ คุ ณ ภาพ ٢٠-١٧ ดีมาก ١٦-١٣ ดี ١٢-٩ พอใช้ ٨-٥ ปรับปรุง  กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้  นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ٢ หน่ ว ยเศรษฐกิ จ และระบบเศรษฐกิ จ กิ จ กรร วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อนโดยการ มที ่ 1 จั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค การ เวลา 2 ชั ่ ว โมง ต่ อ เรื ่ อ งราว (Jigsaw) 1. ครูนำาภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ มา ให้นักเรียนดูและให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า ใครเป็นผู้ ผลิต ใครเป็นผู้บริโภค ถ้านักเรียนเป็นผูบริโภคดังในภาพ ้ นักเรียนจะปฏิบัติอย่างไร ผู้ผลิตในภาพดังกล่าวจะต้องดำาเนิน การอย่างไรจึงจะเกิดผลดีที่สุด 52
  • 6. 2. ครูช่วยอธิบายสรุปให้นักเรียนเข้าใจว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ไม่วาจะเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค การ ่ แลกเปลี่ยน การแจกจ่ายสินค้า และบริการไปยังผูบริโภคจะ ้ ดำาเนินการอย่างประหยัดและตอบสนองความต้องการของ ประชาชนในสังคมให้ได้มากที่สุด ผู้ดำาเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ เรียกว่า หน่วยเศรษฐกิจ 3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ในเรื่องต่อไปนี้ - หน่วยเศรษฐกิจ - ระบบเศรษฐกิจ 4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง อ่อน และอ่อน ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีหมายเลขประจำาตัว หมายเลข 1,2,3,4 เรียกว่า กลุมบ้าน ( Home Groups ) ่ 5. สมาชิกแต่ละหมายเลขของกลุ่มบ้านแยกย้ายกันไปหาสมาชิก ที่มีหมายเลขเดียวกัน รวมกันเป็นกลุมใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้ ่ เชี่ยวชาญ ( Expert Groups) จากนั้นสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แต่ละหมายเลขร่วมกันศึกษาหาความรู้และช่วยกันทำาใบงาน ดังนี้ - กลุ่มหมายเลข 1 ศึกษาความรู้ เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ และ ทำาใบงานที่ 1.1 - กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยม และทำาใบงานที่ 1.2 - กลุ่มหมายเลข 3 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ สังคมนิยม และทำาใบงานที่ 1.3 - กลุ่มหมายเลข 4 ศึกษาความรู้ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ ผสม และทำาใบงานที่ 1.4 53
  • 7. 6. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูก ต้องของใบงานที่รบผิดชอบแล้วกลับไปรวมกลุ่มเดิมที่เรียกว่า ั กลุ่มบ้าน สมาชิกแต่ละหมายเลขผลัดกันอธิบายความรู้จาก ใบงานที่ตนรับผิดชอบให้สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง สมาชิกใน กลุ่มผลัดกันถามข้อสงสัยจนมีความเข้าใจชัดเจน 7. ครูสุ่มเรียกตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกไปเฉลยคำาตอบในใบ งานหน้าชั้นเรียน โดยเรียงตามลำาดับตั้งแต่ใบงานที่ 1.1 – 1.4 และครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 8. ครูและนักเรียนสรุปประเด็นสำาคัญของความรู้ในเรื่อง หน่วย เศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจประเภทต่าง ๆ ตลาดและการกำ า หนดราคาในระบบเศรษฐกิ จ กิ จ กรร วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อนโดยการ มที ่ 2 จั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค การ เวลา 4 จั ด ที ม แข่ ง ขั น (Team Games ชั ่ ว โมง Tournament), เทคนิ ค คู ่ ค ิ ด 1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างตลาดสินค้าที่นักเรียนรู้จัก ซึ่ง อาจเป็นตลาดสินค้าในท้องถิ่นที่นักเรียนมีภูมิลำาเนาอยู่ หรือ ตลาดสินค้าในจังหวัดต่าง ๆ ทีนักเรียนเคยไปซื้อของ หรือจาก ่ การอ่าน/ฟังข่าว และให้ช่วยกันวิเคราะห์ความสำาคัญของ ตลาด 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ความหมายของตลาดในระบบ เศรษฐกิจ และอธิบายความรู้เกี่ยวกับเรื่องตลาดในระบบ เศรษฐกิจ ในหัวข้อ ดังนี้ ١) ความสำาคัญของตลาดในระบบเศรษฐกิจ ٢) ขนาดของตลาด 54
  • 8. ٣) คนกลางในตลาด ٤) ประเภทของตลาด ٣. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้าง เก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน และให้แต่ละกลุ่มศึกษา ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ จากนั้นช่วยกันทำาใบงานที่ 2.1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ โดยให้แต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ ดังนี้ - สมาชิกคนที่ 1 มีหน้าที่อ่านคำาถามและแยกแยะประเด็นที่ โจทย์กำาหนด - สมาชิกคนที่ 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคำาถามอธิบายให้ ได้มาซึ่งแนวคำาตอบ - สมาชิกคนที่ 3 รวมรวมข้อมูลและเขียนคำาตอบ - สมาชิกคนที่ 4 สรุปขั้นตอนทั้งหมด ตรวจคำาตอบ 4. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำาตอบในใบงานที่ 2.1 และช่วย กันสรุปประเด็นสำาคัญเกี่ยวกับเรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 5. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเรื่อง การกำาหนดราคาตามอุปสงค์ และอุปทานในประเด็นต่อไปนี้ - ความหมายของอุปสงค์และอุปทาน - ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์ - ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทาน ٦. นักเรียนกลุ่มเดิมแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือเรียน และ 55
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติม จากนั้นร่วมมือกันทำาใบงานที่ 2.2 เรื่อง การกำาหนดราคา ٧. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำาตอบในใบงานที่ 2.2 และ ประเด็นสำาคัญ ٨. ครูอธิบายความรู้ให้แก่นักเรียนในหัวข้อเรื่อง ต่อไปนี้ ١) หลักเกณฑ์ในการกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน ٢) การเปลี่ยนแปลงของราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ ٣) ข้อดีและข้อเสียของการกำาหนดราคาตามอุปสงค์และ อุปทาน ٤) การกำาหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ที่มีในสังคมไทย ٥) ข้อดี – ข้อเสียของการกำาหนดเชิงกลยุทธ์ในสังคมไทย ٦) บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคาเพื่อการแจกจ่ายและจัดสรร ในทางเศรษฐกิจ ٧) การกำาหนดค่าจ้าง อัตราค่าจ้างแรงงานในสังคมไทยและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 9. นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติม จากหนังสือเรียน หนังสือ อ่านเพิ่มเติม แหล่งข้อมูลสารสนเทศ นักเรียนกลุ่มเดิมแต่ละกลุ่มช่วยกันตั้งคำาถามจากการฟังครู อธิบายและจากการศึกษาความรู้ เพิ่มเติม กลุ่มละ 10 ข้อ 10. นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันถามคำาถาม และให้กลุ่มอื่น เป็นฝ่ายตอบหมุนเวียนกันไปโดยมี จำานวนข้อคำาถามตามความเหมาะสมของเวลา กลุ่มทีมีหน้าที่ ่ ถามจะเป็นผู้เฉลย และครูเป็น 56
  • 10. ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 11. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปทบทวนความรู้จาก หนังสือเรียน หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง ตลาดและการกำาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ เพื่อ เตรียมการแข่งขันการตอบปัญหาใน ชั่วโมงต่อไป ١٢. นักเรียนและครูช่วยกันจัดสถานที่สำาหรับการแข่งขันตอบ ปัญหา ดังนี้ - โต๊ะหมายเลข 1 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ ่ สามารถในระดับเก่ง - โต๊ะหมายเลข 2 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ ่ สามารถในระดับปานกลาง (ค่อนข้างเก่ง) - โต๊ะหมายเลข 3 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ ่ สามารถในระดับปานกลาง (ค่อนข้างอ่อน) - โต๊ะหมายเลข 4 เป็นโต๊ะแข่งขันสำาหรับนักเรียนทีมีความ ่ สามารถในระดับอ่อน ในกรณีที่มีนักเรียนจำานวนมาก โต๊ะหมายเลข 1 2 3 4 อาจมี ซำ้ากันหลายโต๊ะ เพื่อให้นักเรียน ทุกคนมีโอกาสแข่งขัน 13. นักเรียนแต่ละคนไปนั่งตามโต๊ะที่ครูจัดไว้ ครูแจกซองคำาถาม ให้ทุกโต๊ะ ซึ่งมีคำาถามเป็น 2 เท่าของจำานวนนักเรียน 14. เริ่มการแข่งขันให้นักเรียนผลัดกันทำาหน้าที่ ดังนี้ - นักเรียนคนที่ 1 หยิบซองคำาถาม 1 ซอง เปิดอ่านคำาถาม แล้ววางลงกลางโต๊ะ - นักเรียนอีก 3 คน แข่งขันกันตอบคำาถาม โดยเขียนคำา ตอบลงในกระดาษคำาตอบของตนส่งให้คนอ่าน 57
  • 11. - คนอ่านคำาถามทำาหน้าที่ให้คะแนน - สมาชิกในทีมแข่งขันจะผลัดกันทำาหน้าที่อ่านคำาถามจน ครบทุกคำาถาม ให้ทุกคนได้ตอบคำาถามจำานวนเท่ากัน - สมาชิกทุกคนรวมคะแนนของตน โดยให้สมาชิกในกลุ่ม ร่วมกันรับรองว่าถูกต้องพร้อมเซ็นชื่อ 15. นักเรียนทุกคนกลับเข้ากลุ่มเดิม นำาคะแนนที่ได้รับมารวมกันเป็น คะแนนของทีม ทีมที่ได้คะแนนสูงสุดจะได้รับการประกาศ ชมเชย 16. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำารายงานสรุป เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ ในโลกปัจจุบัน โดยมีขอบข่าย ดังนี้ 1) การเปรียบเทียบผลดีและผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบ ต่าง ๆ 2) การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของตลาดประเภทต่าง ๆ 3) การกำาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน 4) บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา เพื่อการแจกจ่าย • นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้ 9.1 สื ่ อ การเรี ย นรู ้ 1) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม. 4 - ม.6 58
  • 12. 2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม (1)นราทิพย์ ชุติวงศ์ และชลดา จามรกุล. พื้นฐาน เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. (2) พอพันธ์ อุยยานนท์. พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ ไทย ในประมวลสาระชุ ด วิ ช าไทยศึ ก ษา หน่ ว ยที ่ ٣ สาขาวิ ช าศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ٢٥٤٦. (3) รัตนา สายคณิต. การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ในเอกสาร การสอนชุ ด วิ ช าสั ง คมศึ ก ษา ٣ : เศรษฐศาสตร์ ส ำ า หรั บ ครู หน่ ว ยที ่ ١٤ สาขาวิ ช า ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย - ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร รมาธิราช,٢٥٤٦. (4) รัตนา สายคณิต และคณะ. พื ้ น ฐานเศรษฐศาสตร์ มหภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٠. (5) วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลั ก เศรษฐศาสตร์ ม หภาค. พิมพ์ครั้งที่ ١٤. กรุงเทพมหานคร : 3) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ 4) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 5) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 6) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสาน 7) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ 8) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การกำาหนดราคา 9.2 แหล่ ง การเรี ย นรู ้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.bot.or.th 59
  • 13. http://www.mof.go.th http://www.idis.ru.ac.th http://www.mfa.go.th/business/1092.php http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354 แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น หน่ ว ยการ เรี ย นรู ้ ท ี ่ 2 คำ า ชี ้ แ จง ให้กา า ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นคำาตอบที่ถูกที่สุด เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดจัดเป็นหน่วยเศรษฐกิจ ก. บริษัท ห้างร้าน ห้างหุ้นส่วน ข. ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐบาล ค. บริษัท ห้างสรรพสินค้า องค์การโทรศัพท์ ง. สหกรณ์ ธนาคาร บริษทเงินทุนหลักทรัพย์ ั 60
  • 14. 2. ข้อความใดสัมพันธ์กับระบบเศรษฐกิจ ก. การดำาเนินกิจกรรมต่างๆ ของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ข. การดำาเนินงานต่างๆ ทีมีความเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตจำานวนมาก ่ ค. การนำาปัจจัยการผลิตออกสู่ตลาดในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์ ต่อผู้ผลิต แต่คำานึงถึง ความเป็นธรรมของผู้บริโภค ง. ความร่ ว มมื อ กั น ของมนุ ษ ย์ ใ นการสร้ า งและใช้ ท รั พ ยากร เพื่ อ สนองความต้องการของสมาชิกใน สังคมที่มีการปฏิบัติคล้ายคลึงกัน 3. ข้อใดจัดเป็นลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ก. มีกิจกรรมทีแสดงถึงการคุ้มครองสวัสดิภาพของแรงงาน ่ ข. รัฐจะเข้าไปควบคุมกิจการสาธารณูปโภค และกิจการธนาคาร ค. การดำาเนินกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจโดยผ่านกลไกราคา ง. เอกชนสามารถดำา เนิ น กิ จ การทางด้ า นอุ ต สาหกรรมร่ ว มกั บ รัฐบาลได้ 4. ในระบบเศรษฐกิจที่มีผู้ผลิตน้อยราย จะส่งผลสำาคัญในเรื่องใด ก. ผู้ผลิตมีกำาไรมาก ข. ทำาให้เกิดการผูกขาดการผลิต ค. ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าได้น้อยลง ง. มีการทำาลายทรัพยากรธรรมชาติลดน้อยลง 5. ข้ อ ใ ด เ ป็ น ข้ อ ดี ข อ ง ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ ทุ น นิ ย ม ก. การแข่งขันกันขายสินค้าทำาให้คุณภาพของสินค้าดีขึ้น ข. มีการกระจายรายได้ของประชาชนสูงขึ้นอย่างเท่าเทียมกัน ค. เอกชนสามารถตัดสินใจผลิตสินค้าได้อย่างเสรีไม่ถูกจำา กัดจาก รัฐบาล ง. ผู้บริโภคและผู้ผลิตมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกันในเรื่องของ การตัดสินใจผลิตและบริโภค 6. ลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นอย่างไร ก. รัฐและเอกชนร่วมมือกันประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ เพื่อประโยชน์ ของประเทศ 61
  • 15. ข. รั ฐ ควบคุ ม กิ จ การธนาคาร อุ ต สาหกรรมขั้ น พื้ น ฐาน และ กิจการสาธารณูปโภค ค. ผู้ผลิตต้องแบ่งปันผลประโยชน์ เพื่อเป็นสวัสดิการประชาชน ง. ผู้ประกอบกิจการธุรกิจขนาดใหญ่มีเสรีภาพในการผลิต 7. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อเสียอย่างไร ก. การลงทุนในธุรกิจต่างมีต้นทุนมาก แต่มีกำาไรน้อย ข. รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงกลไกราคาต่อผู้ผลิตทุกประเภท ค. ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่างเต็มทีในการทำาธุรกิจที่ต้องการ ่ ง. มีการผูกขาดราคาสินค้าที่เอกชนเป็นผู้ผ ลิต และประชาชนไม่ ได้รับสวัสดิการจากรัฐบาล 8. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีข้อดีอย่างไร ก. ประชาชนมีอำานาจต่อรองราคาสินค้า ข. เอกชนมีแรงจูงใจในการผลิตหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ ค. ธุรกิจขนาดใหญ่มีกำาไรมาก เพราะมีการรวมกลุ่มกัน ง. ประชาชนได้รับการดูแลเกี่ยวกับสวัสดิการจากรัฐค่อนข้างดี 9. ระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะเด่นอย่างไร ก. รัฐไม่แทรกแซงราคาสินค้าหรือธุรกิจทุกขนาด ข. รัฐมีหน้าที่อำานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ค. รัฐเข้าไปดำาเนินกิจกรรมอุตสาหกรรมประเภทการบริการและการ ท่องเที่ยว ง. รัฐบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลายด้าน เพื่อให้เกิด ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ 10. ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร ก. รั ฐ บาลสามารถเข้ า ไปควบคุ ม หรื อ อกกฎหมายเพื่ อ กำา กั บ ถ้ า เอกชนดำาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จนสร้างความเดือดร้อนต่อประชาชน ข. รายได้ของแรงงานมีจำานวนเท่าเทียมกันทุกคน ส่งผลให้ ประชาชนมีความตั้งใจในการทำางาน 62
  • 16. ในองค์กรธุรกิจอย่างเต็มที่ ค. เอกชนมีกำาลังใจในการผลิตสินค้าตามนโยบายของรัฐบาล ง. การบริหารงานขององค์กรธุรกิจมีประสิทธิภาพ 11. ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสมคืออะไร ก. การบริหารงานของรัฐในกิจการอุตสาหกรรมบางประเภทขาด ประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับเอกชน ข. เอกชนมี บทบาทสำา คั ญ ในการแข่ ง ขั น กั น ผลิ ตสิ น ค้ า กั บ รั ฐ บาล ทำาให้เกิดการเปรียบเทียบ ค. รายได้จากการผลิตสินค้าต้องถูกนำา มาแบ่งปันให้ รัฐในรูปแบบ ของการเสียภาษี ง. เอกชนมี พ ลั ง อำา นาจการต่ อ รองการผลิ ต และการบริ ก ารกั บ รัฐบาล 12. ข้อความเกี่ยวกับตลาด ข้อใดถูกต้อง ก. ประเทศใดใช้ น โยบายการค้ า เสรี กับ ประเทศต่ า งๆ ตลาด สินค้าจะกว้างขวาง ข. พ่ อ ค้ า คนกลางจะเป็ น ผู้ ที่ มี อำา นาจในการค้ า ขายที่ ใ กล้ ชิ ด ประชาชนมากที่สุด ค. ตลาดจะมีอาณาเขตกว้างขวางเพียงใดขึ้นอยู่กับนโยบาย ของรัฐ ง. สินค้าขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายได้งาย จะมีอาณาเขตแคบ ่ 13. ข้อใดเป็นตลาดปัจจัยการผลิต ก. ตลาดหลักทรัพย์ ข. ตลาดเสื้อผ้า อาหาร ค. ตลาดซื้อขายเครื่องสูบนำ้า ง. ตลาดซื้อเงินตราต่างประเทศ 14. ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์มีลักษณะสำาคัญ ยกเว้นข้อใด ก. ธุรกิจรายใหม่มน้อย ผู้ขายมีอทธิพลในการกำาหนดราคา ี ิ ข. ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสภาวะตลาด ค. สินค้าที่ซื้อหรือขาย จะต้องมีลักษณะอย่างเดียวกัน ง. การติดต่อซื้อขายจะต้องกระทำาโดยสะดวก 63
  • 17. 15. ข้อความใด ไม่สอดคล้องกับกฎของอุปสงค์ (Law of demand) ก. เมื่อทุเรียนมีราคาถูก คนก็จะซื้อทุเรียนมากขึ้น ข. เมื่อเงาะมีราคาแพง คนก็จะซื้อเงาะจำานวนน้อยลง ค. เมื่อโทรศัพท์มือถือราคาลดลง คนก็จะซื้อโทรศัพท์มือถือมาก ขึ้น ง. เมื่ อยางพารามี ร าคาแพงขึ้ น มี ผ ลให้ ต ลาดต่ า งประเทศงดซื้ อ ยางพาราของไทย 16. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปสงค์คืออะไร ก. ราคาสินค้า รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน จำานวนประชากร ข. ฤดูกาล รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ประเภทของสินค้า ค. ราคาสินค้า จำานวนประชากร รัฐบาล ประเภทสินค้า ง. การเปลียนแปลงราคาสินค้า จำานวนสินค้า ่ 17. “ถ้าราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตสินค้าออกมาจำา หน่ายลดลง ถ้าราคา สิ นค้ าเพิ่ม ขึ้น ผู้ผลิ ตสิ นค้ า จะผลิ ตสิ น ค้ า ออกมาจำา หน่ า ยเพิ่ ม ขึ้ น ” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใด ก. อุปสงค์ ข. อุปทาน ค. กฎของอุปสงค์ ง. ก ฎ ข อ ง อุปทาน 18. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนดอุปทานคืออะไร ก. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ข. จำานวนผู้ผลิตหรือผู้ขาย ค. ความนิยมของผู้ผลิต ง.ฤดูกาล 19. ระดับราคาที่จำานวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อขณะนั้น จะเท่ากับ จำานวนสินค้าที่ผู้ผลิตจะผลิต ออกมาจำาหน่ายในขณะ เดียวกันพอดี เรียกว่าอะไร ก. ราคาดุลยภาพ ข. ราคายุติธรรม ค. ราคาของผู้ผลิต ง. ร า ค า ข อ ง ผู้ บริโภค 20. หลั กเกณฑ์ ใ นการกำา หนดราคาสิ น ค้ า ในเชิ ง กลยุ ท ธ์ ข้ อ ใดไม่ ถู ก ต้อง 64
  • 18. ก. กำาหนดราคาขายแตกต่างกันขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ซื้อ ข. กำาหนดราคาขายให้แตกต่างกันตามปริมาณสินค้าที่ซื้อ ค. กำาหนดราคาสินค้าตามวัตถุประสงค์ของผู้ถือหุ้น ง. กำาหนดราคาสินค้าตามช่วงเวลาที่ต่างกัน 21. การแทรกแซงด้ า นราคาของรั ฐ สามารถทำา ได้ ห ลายรู ป แบบ ย ก เ ว้ น ข้ อ ใ ด ก. การควบคุมราคาสินค้าไม่ให้สูงขึ้น ข. รัฐกำาหนดราคาสินค้าทุกประเภท ค. การรับจำานำาสินค้าเกษตร ง. การประกันราคา 22. กลไกสำาคัญที่เป็นตัวกำาหนดค่าจ้างคืออะไร ก. การกำาหนดราคาของรัฐ ข. อุปสงค์ต่อผู้บริโภค และอุปทานของผู้ผลิต ค. อุปสงค์ต่อแรงงาน และอุปทานของแรงงาน ง. อุปสงค์ต่อแรงงาน และการกำาหนดราคาของผู้ผลิต 23. ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีระบบเศรษฐกิจแบบใด ก. ทุนนิยม ข. เสรีนิยม ค. แบบผสม ง. สังคมนิยม 24. อัตราค่าจ้างขั้นตำ่าของกรุงเทพมหานคร วันละเท่าใด ก. 200 บาท ข. 206 บาท ค. 260 บาท ง. 266 บาท 25. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฉบับปัจจุบันมีความสำาคัญใน ข้อใดมากที่สุด ก. กำาหนดราคาค่าจ้างของแรงงานทั่วประเทศ ข. ควบคุมนายจ้างให้มีสวัสดิการที่ดีต่อแรงงาน ค. แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง ง. กำาหนดราคาค่าจ้างขั้นตำ่าสำาหรับแรงงานในโรงงาน 65
  • 19. เฉลย แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น-หลั ง เรี ย น หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 2 ข้ อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉล ข ง ค ข ก ข ค ง ง ย ก ข้ อ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เฉล ก ก ค ก ง ก ง ข ก ค ย ข้ อ 21 22 23 24 25 เฉล ข ค ค ข ค ย 66
  • 20. แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١ เศรษฐศาสตร์ หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ 2 ระบบเศรษฐกิ จ ในชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษา โลกปั จ จุ บ ั น ปี ท ี ่ ٤-6 เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ และระบบ เวลา ٢ เศรษฐกิ จ ชั ่ ว โมง  สาระสำ า คั ญ /ความคิ ด รวบยอด ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ ล้วนมีทั้งผลดีและผลเสียแตกต่างกัน และมีผลต่อการกำาหนดราคา และค่าจ้าง  ตั ว ชี ้ ว ั ด /จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ 2.1 ตั ว ชี ้ ว ั ด ส ٣.١ ม.٦/١-٤ อภิปรายการกำาหนดราคาและค่าจ้างใน ระบบเศรษฐกิจ 2.2 จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ 1) อธิบายประเภทของระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบนได้ ั 2) วิเคราะห์ผลดีและผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆได้  สาระการเรี ย นรู ้ 3.1 สาระการเรี ย นรู ้ แ กนกลาง - ระบบเศรษฐกิจของโลกในปัจจุบัน ผลดีและผลเสียของ ระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ 3.2 สาระการเรี ย นรู ้ ท ้ อ งถิ ่ น - 67
  • 21.  สมรรถนะสำ า คั ญ ของผู ้ เ รี ย น 4.١ ความสามารถในการคิ ด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4.٢ ความสามารถในการใช้ ท ั ก ษะชี ว ิ ต - กระบวนการทำางานกลุ่ม  คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ١. ใฝ่เรียนรู้ ٢. มุ่งมั่นในการทำางาน  กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ (วิ ธ ี ส อนแบบบรรยาย วิ ธ ี ส อน โดยการจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ : เทคนิ ค การต่ อ เรื ่ อ งราว (Jigsaw))  นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชั ่ ว โมงที ่ 1. ครูนำาภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ มาให้ นักเรียนดู เช่น - การซื้อขายสินค้าในตลาดสด ตลาดนัด ในห้างสรรพสินค้า - ช่างเสริมสวยกำาลังเสริมสวยให้แก่ลูกค้า 2. ครูให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่อไปนี้ - ใครเป็นผู้บริโภค - ถ้านักเรียนเป็นส่วนหนึงของผู้บริโภคในภาพ นักเรียนจะปฏิบัติ ่ อย่างไร อธิบายเหตุผล - ใครเป็นผู้ผลิต 68
  • 22. - ผู้ผลิตในภาพนั้นจะต้องดำาเนินงานอย่างไร จึงจะเกิดผลดีที่สุด 3. ครูช่วยอธิบายสรุปให้นักเรียนเข้าใจว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่วา ่ จะเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยน การแจกจ่ายสินค้า และบริการไปยังผู้บริโภค จะต้องดำาเนินการ อย่างประหยัดและตอบสนองความต้องการของประชาชนในสังคม ให้ได้มากที่สุด ผู้ดำาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เรียกว่า หน่วย เศรษฐกิจ 4. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ในเรื่องต่อไปนี้ 1) หน่วยเศรษฐกิจ - ประเภทของหน่วยเศรษฐกิจ - ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ ٢) ระบบเศรษฐกิจ - ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) - ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) - ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed economy) ٥.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน โดยแบ่งกลุ่มไว้ล่วงหน้า ให้ นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มมีหมายเลข 1,2,3,4 เรียกกลุ่มนี้วา กลุ่มบ้าน ( Home Groups ) ่ ٦.สมาชิกแต่ละหมายเลขของกลุ่มบ้านแยกย้ายกันไป หากลุ่ม สมาชิกใหม่ที่มีหมายเลขเหมือนกัน 69
  • 23. หมายเลข 1 ไปรวมกับหมายเลข 1 หมายเลข 2 ไปรวมกับ หมายเลข 2 หมายเลข 3 ไปรวมกับ หมายเลข 3 หมายเลข 4 ไปรวมกับหมายเลข 4 เรียกกลุ่ม ใหม่วา กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert ่ Groups) สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลข อาจมีจำานวน มากในกรณีที่นักเรียนในห้องมี จำานวนมาก ดังนั้น ครูอาจให้สมาชิกที่มีหมายเลขเดียวกันแยก ออกเป็น 2 กลุ่มย่อย เช่น หมายเลข 1 มี 2 กลุม คือ ่ - กลุมหมายเลข ١ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ١ ก และกลุ่ม 1 ข ่ ่ ่ - กลุมหมายเลข ٢ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ٢ ก และกลุ่ม ٢ ข ่ ่ ่ - กลุมหมายเลข ٣ มี 2 กลุม กลุ่ม คือ กลุม ٣ ก และกลุ่ม ٣ ข ่ ่ ่ เป็นต้น ٧.สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups) แต่ละหมายเลขร่วม กันศึกษาหาความรู้ และช่วยกันทำา ใบงาน ดังนี้ - กลุมหมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ และทำาใบ ่ งานที่ 1.1 เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ - กลุมหมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ่ และทำาใบงานที่ 1.2 เรื่องระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยม - กลุมหมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบ ่ สังคมนิยม และทำาใบงานที่ 1.3 เรื่อง 70
  • 24. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม - กลุมหมายเลข 4 ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ่ และทำาใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบ เศรษฐกิจแบบผสม ชั ่ ว โมงที ่ 1. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนถึงความรูที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ ้ ศึกษาและทำาใบงานว่ากลุ่มใด มีปัญหาที่สงสัยในเรื่องใด ครูอธิบายเพิ่มเติมจนนักเรียนมีความ เข้าใจชัดเจน 2. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups ) แต่ละหมายเลขช่วย กันตรวจสอบความถูกต้องของ การทำาใบงานที่ตนรับผิดชอบ 3. สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขกลับไปยังกลุ่มเดิมที่เรียก ว่า กลุ่มบ้าน ( Home Groups) แล้วให้แต่ละหมายเลขผลัดกันอธิบายความรู้จากใบงานที่ตนรับผิด ชอบให้สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง กรณีถ้ามีสมาชิกคนใดสงสัยให้ซักถามจนมีความเข้าใจตรงกัน ٤. ครูสุ่มเรียกตัวแทนแต่ละกลุมออกไปเฉลยคำาตอบในใบงาน ่ หน้าชั้นเรียน เรียงตามลำาดับตั้งแต่ ใบงานที่ 1.1 - 1.4 โดยให้กลุ่มอื่นที่มีผลงานแตกต่างกันไปได้ เสนอเพิ่มเติม ٥. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญของความรูในเรื่อง ้ หน่วยเศรษฐกิจ และระบบเศรษฐกิจ 71
  • 25. ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนข้อดีและข้อจำากัดของระบบเศรษฐกิจ แต่ละประเภท  การวั ด และประเมิ น ผล วิ ธ ี ก าร เครื ่ อ งมื อ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อน แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่าน เรียน เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ ١.1 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ ١.2 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.3 ใบงานที่ ١.3 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.4 ใบงานที่ ١.4 ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ 2 ทำางานกลุ่ม ทำางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์  สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้ 8.1 สื ่ อ การเรี ย นรู ้ ١) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.٤-ม.٦ 2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม (١) นราทิพย์ ชุติวงศ์ และชลดา จามรกุล. พื้นฐาน เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. (٢) พอพันธ์ อุยยานนท์. พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ ไทย ในประมวลสาระชุ ด วิ ช าไทยศึ ก ษา หน่ ว ยที ่ ٣ สาขาวิ ช าศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ٢٥٤٦. (٣) รัตนา สายคณิต. การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ใน เอกสารการสอนชุ ด วิ ช าสั ง คมศึ ก ษา ٣ : 72
  • 26. เศรษฐศาสตร์ ส ำ า หรั บ ครู หน่ ว ยที ่ ١٤ สาขาวิ ช า ศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย - ธรรมาธิ ร าช. นนทบุรี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร รมาธิราช,٢٥٤٦. (٤) รัตนา สายคณิต และคณะ. พื ้ น ฐานเศรษฐศาสตร์ มหภาค. กรุงเทพมหานคร : คณะ เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٠. (٥) วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลั ก เศรษฐศาสตร์ ม หภาค. พิมพ์ครั้งที่ ١٤. กรุงเทพมหานคร : ٣) ใบงานที่ ١.١ เรื่อง หน่วยเศรษฐกิจ ٤) ใบงานที่ ١.٢ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ٥) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ٦) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ٨.2 แหล่ ง การเรี ย นรู ้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.bot.or.th http://www.mof.go.th http://www.idis.ru.ac.th http://www.mfa.go.th/business/1092.php http://www.itd.or.th/th/comment/reply/354 ١.١ เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ 73
  • 27. หน่วยเศรษฐกิจ ที่สำาคัญ ได้แก่ หน่วยเศรษฐกิจ ประเภทใดบ้าง จงอธิบาย 1. ครัวเรือน เป็นหน่วยเศรษฐกิจที่ อาจเป็นบุคคลเพียงคนเดียวหรือ หลายคนร่วมกันตัดสินใจ เพื่อใช้ ทรัพยากรไม่ว่า จะเป็นเงิน ทรัพย์สิน และแรงงานให้เกิดประโยชน์มาก ที่สุด สมาชิกครัวเรือนอาจเป็น เจ้าของปัจจัยการผลิต เป็นแรงงาน และเป็นผู้ประกอบกิจการใดกิจการ หนึ่ง 2.ธุรกิจ เป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ ทำาหน้าที่ในการนำาเอาปัจจัยการผลิต ต่าง ๆ แล้วนำาไปจ่ายให้แก่ผู้บริโภค จุดมุ่งหมายสำาคัญ คือ การแสวงหา ١.١ กำาไรสูงสุดจากการประกอบการของ เรื ่ อ ง หน่ ว ยเศรษฐกิ จ ตน 3.องค์กรรัฐบาล เป็นหน่วยงานของ คำ า ชี ้ แ จง รัฐส่วนราชการ ต่าง ๆ มีหน้าที่และ ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ความสัมพันธ์ กับหน่วยงานอื่น ๆ ใน ระบบเศรษฐกิจ และอาจเป็นเจ้าของ ปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต ผู้บริโภคใน คราวเดียวกัน 74
  • 28. หน่วยเศรษฐกิจ ที่สำาคัญ ได้แก่ หน่วยเศรษฐกิจ ประเภทใดบ้าง จงอธิบาย ١.٢ เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ระบบเศรษฐกิจ แบบ ทุนนิยม มี ลักษณะสำาคัญ 75
  • 29. ระบบเศรษฐกิจ แบบ ทุนนิยม มีข้อดี อย่างไร ระบบเศรษฐกิจ แบบ ทุนนิยม มีข้อเสีย อย่างไร ١.٢ เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย ม คำ า ชี ้ แ จงให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ เอกชนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน มี เสรีภาพในการผลิต สามารถ ระบบเศรษฐกิจ ตัดสินใจในการผลิตว่าจะผลิต แบบ อะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร ทุนนิยม มี โดยรัฐบาลไม่มีส่วน ลักษณะสำาคัญ เข้าไปเกี่ยวข้ง ใจในการผลิ ต และ ١ . เกิ ด แรงจู องและควบคุม กิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีการ ของ การทำา งานทำา ให้ เ ศรษฐกิ จ แข่งขันกัน เพื่ออย่าปัจจัยสำาคัญ ประเทศขยายตัวเป็น งรวดเร็ว ٢ . การแข่ ง ขั น การผลิ ต จะทำา ให้ คุณภาพของงานและคุณภาพของ สินค้าดีขึ้น 76บุคคลในระบบเศรษฐกิจมีอิสระ ٣. ในการใช้ทรัพยากร หรือ ประกอบ กิจการที่ต้องการ ٤ . ผู้บริโภคมีโอกาสบริโภคสินค้า
  • 30. ระบบเศรษฐกิจ แบบ ทุนนิยม มีข้อดี อย่างไร ١ .การกระจายรายได้ของ ประชาชนไม่เท่าเทียมกันคนมี ทรัพย์สินมากหรือนายทุนย่อม ระบบเศรษฐกิจ แสวงหารายได้จากทรัพย์สินได้ แบบ มาก ทุนนิยม มีข้อเสีย ٢ .อาจเป็นเหตุทำาให้วิกฤติการณ์ อย่างไร ทางเศรษฐกิจ มีความรุนแรง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำาให้เกิดการ ขาดแคลน ในบางครั้งรัฐบาล จำาเป็นต้องควบคุมราคา ١.٣ ٣ .ผู้ผลิตอาจจะรวมตัวกันผูกขาด เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ระบบเศรษฐกิจ แบบสังคมนิยม มีลักษณะสำาคัญ อย่างไร 77
  • 32. ١.٣ เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ١ . รัฐบาลเข้าไปเป็นผู้ ควบคุมและโอนกิจการ ธนาคารทั้งหมดเป็นของรัฐ ٢ . รัฐจะเข้าไปควบคุม ระบบเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานและ แบบสังคมนิยม อุตสาหกรรมหนักต่าง ๆ ไว้ มีลักษณะสำาคัญ และควบคุมกิจการ อย่างไร สาธารณูปโภค ٣ . รัฐเข้าไปจัดสวัสดิการให้ กั.ประชาชนได้รับการดูแล ١ บประชาชน ٤ .่ยวกับดโอกาสให้เอกชนมีน เกี รัฐเปิ สวัสดิการจากรัฐค่อ กรรมสิทธิ์ใน ที่อยูอาศัยมี ข้างดี ่ อิสระในการประกอบอาชีพ ٢ .รัฐบาลมีกำาลังทรัพย์มาก ในธุรกิจขนาดย่อโครงการ พอในการดำาเนิน ม มี เสรีภๆ ที่เป็นประโยชน์้อ ่อ ต่าง าพในการเลือกซื ต ประชาชนส่วนใหญ่ ٣ .เป็นการล้มเลิกการผูกขาด ธุรกิจของเอกชนในธุรกิจบาง 79 ชนิด ทำาให้เศรษฐกิจไม่ค่อย ผันแปรขึ้นลงมากนัก
  • 33. ระบบเศรษฐกิจ แบบสังคมนิยม มีข้อดีอย่างไร ١ . ถ้าการวางแผนการดำาเนิน กิจการขนาดใหญ่ โดยรัฐไม่ดี ทำาให้การตัดสินใจและการ จัดสรรทรัพยากรไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด และผู้บริโภค ระบบเศรษฐกิจ ไม่มีโอกาสเลือกบริโภคสินค้า แบบสังคมนิยม มากนัก มีข้อเสียอย่างไร ٢ .ประชาชนไม่มีเสรีภาพอย่าง เต็มที่ในการ ทำาธุรกิจที่ตนมี ความรู้ ความสามารถ ทำาให้ ขาดกำาลังใจในการปรับปรุง กิจการให้เกิดประสิทธิภาพ ٣ . ขาดแรงจูงใจในการผลิต หรือคิดค้น สิ่งใหม่ ๆ 80
  • 34. ١.٤ เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบผสม คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ระบบเศรษฐกิจ แบบผสม มีลักษณะสำาคัญ อย่างไร 81
  • 36. ١.٤ เรื ่ อ ง ระบบเศรษฐกิ จ แบบผสม คำ า ชี ้ แ จง ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ ١ . เอกชนและรัฐบาล มีส่วนร่วมใน การใช้กลไกราคา และ การ วางแผนในการตัดสินใจเพื่อให้ เกิดประโยชน์และความเป็นธรรม มากที่สุด 2. เอกชนและรัฐบาลสามารถเป็น เจ้าของปัจจัยการผลิตสินค้าและ บริการ กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วน ระบบเศรษฐกิจ ใหญ่เอกชนจะเป็นผู้ดำาเนินการ แบบผสม ยกเว้นในการผลิตสินค้าและ มีลักษณะสำาคัญ บริการบางประเภทเกี่ยวกับความ อย่างไร มั่นคงของชาติ หรือกิจการที่ เอกชนไม่นิยมลงทุน ٣ . รัฐมีอำานาจเข้าไปแทรกแซง หากมีการค้ากำาไรเกินควร หรือ ธุรกิจมีการดำาเนินการที่จะนำาไปสู่ การผูกขาด ٤ . รัฐจะเข้าไปควบคุม ส่งเสริม และอำานวยความสะดวกแก่ผู้ ประกอบการ ด้วยการสร้าง โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่ออำานวยความสะดวกและกระตุ้น เศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว 83
  • 37. ١ .มีความคล่องตัวในการดำาเนิน การ เพราะสามารถปรับตัวให้เข้า กับสถานการณ์ของสภาพเศรษฐกิจ ข้อดีของระบบ ได้ ถ้าเป็นเอกชนดำาเนินกิจกรรม เศรษฐกิจแบบ ทางเศรษฐกิจจนเกิดปัญหา รัฐบาล ผสมผสาน ก็อาจเข้าไปควบคุม หรือออก คืออะไร กฎหมายได้ ٢ .เอกชนมีการแข่งขันผลิตสินค้า ทำาให้เกิดสินค้า มีดุลยภาพ ประชาชนสามารถเลือกบริโภคได้ ٣ . เอกชนสามารถเข้าถึงบริการ ของรัฐทั้งในระบบสาธารณูปโภค การศึกษา สาธารณสุข ١ . เอกชนอาจถูกควบคุมกิจการ จากรัฐ ٢ .การที่รัฐเข้ามาวางแผนบางส่วน ทำาให้ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ข้อเสียของ ระบบ ٣ . การวางแผนจากส่วนกลางเพื่อ เศรษฐกิจแบบ ประสานประโยชน์ของรัฐกับเอกชน ผสม ให้เกิดผลดีตอส่วนรวมนั้นในทาง ่ ปฏิบัติทำาได้ยาก ٤ . การบริหารงานของรัฐในกิจการ อุตสาหกรรมบางประเภท หรือ การ บริการจำานวนมากยังขาด ประสิทธิภาพ เมื่อเทียบกับการ บริหารงานของเอกชน แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม การทำ า งานกลุ ่ ม 84
  • 38. การ ชื ่ อ – การ การรั บ ร่ ว ม สกุ ล การ รวม ลำ า ความ แสดง ฟั ง ปรั บ ปรุ ของ ตั ้ ง ใจ ٢٠ ดั บ ร่ ว มมื อ ความ ความ งผล ผู ้ ร ั บ ทำ า งาน คะแน ที ่ คิ ด เห็ น คิ ด เห็ น งาน การ น กลุ ่ ม ประเมิ น ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ٤ ٣ ٢ ١ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน . เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนน ............./.................../................ ดีมาก = 4 ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุง = 1 เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น คุ ณ ภาพ ช่ ว ง ระดั บ หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบ คะแนน คุ ณ ภา หมายให้หัวหน้ากลุ่ม พ เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตวแทนกลุ่มผลัด ั 17 – 20 ดีมาก กันประเมิน 13 – 16 ดี หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัว พอใช้ นักเรียนเอง 9 – 12 ٥–8 แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ได้ ปรับปรุง ตามความเหมาะสมก็ ٢ เศรษฐศาสตร์ 85