SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 27
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
www.facebook.com/Drseksun
การสื่อสารคือการที่ผู้ส่งสารมีวัตถุประสงค์ที่จะบอก
กล่าวข่าวสารไปยังผู้รับสาร เพื่อให้ทราบเรื่องราวที่
ต้องการ โดยการผ่านสื่อที่สามารถเข้าถึงผู้รับสารได้
การสื่อสารคืออะไร?
ผู้ส่งสาร
สาร
สื่อ
ผู้รับสาร
การสื่อสารต้องมีอะไรบ้าง?
ผู้ส่งสาร หมายถึงบุคคล คณะบุคคลหรือหน่วยงานที่
มีข่าวสารที่จะแจ้งให้ผู้รับสารได้รับทราบ ได้แก่
ผู้อานวยการ อาจารย์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์
คณะกรรมการนักเรียน หัวหน้าห้อง นักเรียน เป็นต้น
ใครคือผู้ส่งสาร
ข่าวสาร หมายถึง เนื้อหา สาระ เรื่องราวต่าง ๆ ที่ผู้ส่งสาร
ต้องสารส่งไปยังผู้รับสารให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน เช่น การ
เปิดภาคเรียน การเก็บค่าอินเทอร์เน็ต การสอน
ภาษาอังกฤษเสริม การจัดกิจกรรมรับน้องใหม่ การชนะเลิศ
การแข่งขันโอลิมปิกส์วิชาการ เป็นต้น
ข่าวสาร คืออะไร?
สื่อ หรือช่องทางการสื่อสาร หมายถึง เครื่องมือที่เป็น
ตัวกลางที่ทาให้ข่าวสารไปถึงผู้รับสารได้อย่างทั่วถึง และ
หลากหลาย ได้แก่ สื่อบุคคล สื่อกระจายเสียง เสียงตาม
สาย โทรโข่ง หอกระจายข่าว ป้ายประกาศ วิทยุ โทรทัศน์
หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ นิตยสาร อินเทอร์เน็ต
สื่อ หรือช่องทางคืออะไร?
 ผู้รับสาร หมายถึง ผู้ที่เป็นเป้าหมายในการส่งสารเพื่อให้ไปถึง และ
ทาให้ผู้รับสารเข้าใจในเนื้อหา สาระของข่าวสารนั้น และสร้างให้
เกิดการยอมรับ ในข่าวสาร เชื่อถือ คล้อยตามต่อผู้ส่งสาร
ผู้รับสารเป็นใคร?
ผู้รับสารภายในหน่วยงาน นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์
นักการ แม่ค้า
ผู้รับสารภายนอกหน่วยงาน ผู้ปกครอง ประชาชนในระแวก
ใกล้เคียง ประชาชนทั่วไป
ผู้รับสาร
การโน้มน้าวใจ หมายถึง การสื่อสารที่มีความตั้งใจจะ
มีอิทธิพลเหนือความคิดเห็นของผู้รับสาร หรือการ
สื่อสาร ชักจูงใจให้ผู้รับสารคล้อยตาม ยอมรับ และ
ปฏิบัติตามในการสื่อสารนั้น
การโน้มน้าวใจ คืออะไร?
 เพื่อชักนาหรือโน้มน้าวใจให้เกิดความเชื่อถือ ศรัทธา
 เพื่อกระตุ้นหรือเร้าใจให้เห็นความสาคัญของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
 เพื่อปลุกใจให้เกิดความสานึกและปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
 เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความเห็นคล้อยตามและ
นาไปปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ของการโน้มน้าวใจ
 ผู้ส่งสาร ผู้อานวยการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการนักเรียน นักเรียน
 ข่าวสาร แจ้งทุนการศึกษา การแข่งขัน กาหนดการเรียน ประกาศการจัด
กิจกรรม
 สื่อ สื่อบุคคล เสียงตามสาย โทรโข่ง เครื่องขยายเสียง ป้ายประกาศ
วารสาร
 ผู้รับสาร ภายใน ครู นักเรียน นักการ แม่ค้า ฯลฯ
ภายนอก ผู้ปกครอง ชุมชนใกล้เคียง ประชาชนทั่วไป
การสื่อสารในโรงเรียน
การเชิญชวนให้เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน
การเชิญชวนให้ร่วมงานบุญผ้าป่าโรงเรียน
การเชิญชวนให้การสนับสนุนโรงเรียน
การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อโรงเรียน
การโน้มน้าวใจในโรงเรียน
การวิเคราะห์ผู้อ่าน
การใช้หลักจิตวิทยา
การให้เหตุผล
การใช้ภาษา
หลักในการเขียนโน้มน้าวใจ
 ผู้โน้มน้าวใจมีความตั้งใจที่จะมีอิทธิพลบางประการเหนือผู้ถูกโน้ม
น้าวใจ
 ผู้ถูกโน้มน้าวใจจะมีทางเลือกมากกว่าหนึ่งและผู้โน้มน้าวใจจะ
พยายามชักจูงผู้ถูกโน้มน้าวใจให้ยอมรับทางเลือกที่ตนเสนอ
 สิ่งที่ผู้โน้มน้าวใจต้องการคือการเปลี่ยนแปลงหรือการสร้างหรือการ
ดารงไว้ซึ่งความคิดเห็น ทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อของผู้ถูกโน้ม
น้าวใจ ซึ่งจะส่งผลต่อปัจจัยอื่นอันได้แก่ อารมณ์ พฤติกรรม เป็นต้น
ลักษณะของการสื่อสารโน้มน้าวใจ
 มีความรู้จริง มีคุณธรรม และมีความปรารถนาดี ต่อผู้อื่น
 เหตุผลหนักแน่น และมีคุณค่าควร แก่การยอมรับ อย่างแท้จริง
 การแสดงให้เห็นถึงความรู้สึก และอารมณ์ร่วม บุคคลที่มีอารมณ์
ร่วมกันคล้อยตามกัน ได้ง่ายกว่าบุคคล ที่มีความรู้สึกอคติต่อกัน
 การแสดงให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย
 การสร้างความสุขให้แก่ผู้รับสาร
 การเร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า
กลวิธีในการโน้มน้าวใจ
 จงให้ความสนใจแก่ผู้นั้น หรือกลุ่มนั้นอย่างจริงใจ
 ความยิ้มแย้ม เป็นเงื่อนไขสาคัญในการสร้างความประทับใจให้แก่ทุก
คนเมื่อแรกพบ
 จงจาชื่อผู้ที่มาติดต่อให้ได้และใช้เรียกได้อย่างถูกต้อง
 จงเป็นนักฟังที่ดี ด้วยการให้ความสนใจเรื่องที่เขาพูด
 จงพูดในเรื่องที่เขากาลังสนใจ
 จงทาให้เขารู้สึกว่าเขาเป็นคนสาคัญ
ศิลปโน้มน้าวจิตใจ
 การพูดโน้มน้าวใจเป็นพฤติกรรมการสื่อสารอย่างหนึ่ง คือ การใช้
ความพยายามเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม และการกระทา
ของบุคคลอื่น โดยใช้กลวิธีที่เหมาะสมให้มีผลกระทบใจบุคคล ทั้ง
โดยใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษา จนเกิดการยอมรับและยอม
เปลี่ยนตามที่ผู้โน้มน้าวใจประสงค์
การพูดโน้มน้าวใจ
คาขวัญ คือ คาพูดที่กล่าวให้เป็นข้อคิดหรือแนวทางปฏิบัติ
เนื่องในกรณีใดกรณีหนึ่ง หรือโอกาสใดโอกาสหนึ่ง เป็น
ข้อความเตือนให้ระลึกถึงหน้าที่การงาน และความประพฤติ
ต่าง ๆ หรือการปลูกฝังหรือเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อสถาบัน
หรือเพื่อผนึกความคิดรวบยอดของสินค้า
การเขียนคาขวัญโน้มน้าวใจ
 คาขวัญที่ดีคือ คาขวัญที่กระทบใจผู้รับสาร ทาให้ผู้รับสารสนใจ
และจดจาคาขวัญได้ทันที และ/หรือ เป็นการอ้างเตือนผู้รับสาร
ไม่ให้ลืมข้อเด่นในคาขวัญนั้น
การเขียนคาขวัญที่ดี
คาขวัญจังหวัดอุดรธานี
 เขียนให้ตรงจุดมุ่งหมาย
 เป็นถ้อยคาที่สั้น กะทัดรัด
 มีใจความสมบูรณ์ ชัดเจน ไม่คลุมเครือ
 เขียนด้วยถ้อยคาภาษาง่าย ๆ
 หากเป็นคาขวัญโฆษณาสินค้า น่าจะมีชื่อสินค้าอยู่ในคาขวัญ
การเขียนคาขวัญโน้มน้าวใจ
 ข่าว คือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น น่าสนใจ เมื่อเร็ว ๆ นี้ มี
ประโยชน์ต่อผู้อ่าน
 ข่าวประชาสัมพันธ์ รายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน ที่
น่าสนใจ เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีประโยชน์ต่อผู้อ่าน สร้างภาพลักษณ์ที่ดี
ให้กับโรงเรียน หรือหน่วยงาน
ข่าวประชาสัมพันธ์
 ใคร (Who) ใครคือบุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับข่าว
 ทาอะไร (What) เกิดอะไรขึ้น การกระทาหรือเหตุการณ์ใดที่สาคัญ
 ที่ไหน (Where) การกระทาหรือเหตุการณ์นั้นๆ เกิดขึ้นที่ไหน
 เมื่อไร (When) การกระทาหรือเหตุการณ์นั้นๆ เกิดขึ้นวัน เวลาใด
 ทาไมและอย่างไร (Why and How) ทาไมเหตุการณ์นั้นจึงเกิด
และเกิดขึ้นได้อย่างไร
องค์ประกอบของข่าวประชาสัมพันธ์
หาข้อมูล โดยการค้นคว้า รวบรวมข้อมูล และสัมภาษณ์
วางแผนการเขียน ศึกษากลุ่มเป้าหมายและนโยบายของสื่อ
ที่จะส่งเผยแพร่
ร่างเนื้อหา รูปแบบ ภาษา ทบทวน
ประเมินผล โดยการอ่านทบทวนด้วยตนเอง หรือผู้ที่
เกี่ยวข้องช่วยอ่าน
ขั้นตอนในการเขียนข่าว
การเขียนข่าวแบบข้าวหลาม
การเขียนข่าวแบบโอเลี้ยงถูกลืม
เทคนิคและวิธีการเขียนเนื้อหาข่าว
การเขียนข่าวแบบข้าวหลาม
ความสาคัญที่สุด
รายละเอียด
รายละเอียด
การเขียนข่าวแบบโอเลี้ยงถูกลืม
รายละเอียด
รายละเอียด
ส่วนสาคัญที่สุด

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 

Was ist angesagt? (20)

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 

Andere mochten auch

PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54Wonder Juey
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Andere mochten auch (15)

PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 

Ähnlich wie การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ

สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนmaymymay
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้ratiporn-hk
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7jujudy
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7jujudy
 
บทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุดบทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุดjujudy
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7jujudy
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7newjujudy
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 

Ähnlich wie การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ (20)

สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุดบทที่7ล่าสุด
บทที่7ล่าสุด
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 

การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ