SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 57
โครงการพัฒนาครู Social network ในฝัน54<br />สารบัญ<br />หน้า<br />บทที่ 1บทนำ1<br /> แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ในสังคมออนไลน์1<br />วัตถุประสงค์ของคู่มือ7<br />บทที่ 2 คู่มือ Facebook            8<br />บทที่ 3คู่มือ YouTube           32<br />บทที่ 4  คู่มือ Slideshare40 <br />บทที่ 1<br />บทนำ<br />     การเปลี่ยนแปลงระบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประกอบกับปัจจุบันเป็นยุคที่อินเตอร์เน็ตกำลังเป็นที่นิยมและได้รับการพัฒนาที่สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอีกด้วย จากยุคแรกหรือเว็บ 1.0 ซึ่งมีลักษณะเป็น static web คือมีการนำเสนอข้อมูลทางเดียว เข้าสู่ยุคที่ 2 หรือเว็บ 2.0 เป็นยุคที่เน้นให้อินเตอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ลงบนเว็บไซต์ร่วมกัน และสามารถโต้ตอบกับข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ได้ และผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา (content) แลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลกันได้ทั้งระบบบุคคลหรือกลุ่มจนกลายเป็นสังคมในโลกอินเตอร์เน็ต หรือเรียกว่าสังคมออนไลน์ (social network) โดยอาศัยรูปแบบการบริการเครือข้ายสังคมหรือ social networking service (SNS) ทำให้เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนความรู้และทำงานร่วมกันได้ทำให้เกิดแนวคิด Connectivism ซึ่งเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นโดย George  Siemens และ Stephen Downes  ทฤษฎีนี้ได้อธิบายการเรียนรู้ว่า ความรู้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในทุกวัน ทำให้ความรู้ที่มีอยู่นั้นมีอายุการใช้งานสั้นลง เนื่องจากเทคโนโลยีมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงทำให้คนเรามีความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อปรับตัวให้มีความสอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนไปและมีความรู้ที่ทันกับกาลเวลาและยุคสมัย อีกทั้งองค์ความรู้มีวิวัฒนาการอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล ข่าวสารที่มีจำนวนมากทำให้ไม่สามารถจะมีการเรียนรู้เฉพาะในห้องเรียนได้ตลอดไป เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีผลต่อวิธีเรียนรู้ แหล่งความรู้ และวิธีเข้าถึงแหล่งความรู้เกิดการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันอย่างรวดเร็ว กลายเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้<br />ในสหรัฐอเมริกา ได้มีการนำเครือข่ายทางสังคม (social networking) มาใช้ในการศึกษา จากการสำรวจของสภากรรมการโรงเรียนแห่งชาติ (National School Boards Association, NSBA) โดยสำรวจนักเรียนที่มีอายุ 9-17 ปี จำนวน 1,277 คน พ่อแม่ผู้ปกครองจำนวน 1,039 คน และผู้นำของโรงเรียนในทุกเขตทั่วสหรัฐอเมริกา จำนวน 250 คน (http://www.cotumnfivemedia.com/ ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2553)  พบว่า <br />ประเด็นการใช้งานของนักเรียน 96%  แสดงตนในอินเตอร์เน็ต โดยใช้เทคโนโลยีเครือข่ายทางสังคม เช่น การแชต การส่งข้อความ เขียนบล็อก และเข้าเยี่ยมชมตามชุมชนออนไลน์ต่าง ๆ  30% มีบล็อกของตนเอง และมากกว่า 1 ใน 6 เพิ่มข้อมูลในบล็อกที่เขาสร้างขึ้นอย่างน้อยทุกสัปดาห์ 59% ของผู้ใช้เครือข่ายทางสังคม มีการสนทนาในห้วข้อทางการศึกษาต่าง ๆ แบบออนไลน์ กว่า 50% ได้สนทนาเกี่ยวกับงานที่ครู/โรงเรียนมอบหมายให้ทำ เครื่องมือเครือข่ายทางสังคมที่นิยมใช้กันในโรงเรียนคือ Skype YouTube Wordpress Twitter Facebook และ Blogs<br />ประเด็นการส่งเสริมให้ใช้เครือข่ายทางสังคมในห้องเรียน 69% มีโปรแกรมเรียนทางเว็บไซต์ 49% มีนักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมการเรียนในทางออนไลน์หรือโปรแกรมนานาชาติอื่น ๆ 35% มีนักเรียนและ/หรือผู้สอนเขียนบล็อก 22% มีส่วนร่วมในการสร้างหรือดูแลเว็บสารานุกรม (Wiki) 27% มีครู/ผู้อำนวยการเข้าร่วมชุมชนออนไลน์ 59% มีบุคลากรอย่างน้อยที่สุดครึ่งหนึ่ง มีส่วนร่วมในเครือข่ายทางสังคมที่มีวัตถุประสงค์ในทางการศึกษา 49% ของโรงเรียนในกลุ่ม NSBA กล่าวว่าโรงเรียนของเขาได้เข้าร่วมโครงการออนไลน์ร่วมกันกับโรงเรียนอื่น<br />จะเห็นได้ว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์สามารถนำมาเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันที่นักเรียนสามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวก ครูจึงต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลแหล่งการเรียนรู้<br />แนวคิด/ทฤษฎี<br />,[object Object]
เรียนรู้ ซึ่งมีนักการศึกษาได้นำเสนอทฤษฎีที่สำคัญ ดังนี้
       1.1 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)  เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์  รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ  เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล  นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว  ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย  การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคู่กันไป  หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้(process of knowledge construction)  เป้าหมายของการสอนจะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้รับสาระความรู้ที่แน่นอนตายตัว   ไปสู่การสาธิตกระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย  ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดกระทำกับข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆ  และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง  โดยการให้ผู้เรียนอยู่ในบริบทจริง  ในการจัดการเรียนการสอนครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้เกิดขึ้น  ผู้เรียนได้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่โดยผู้เรียนจะนำตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้  บทบาทของครูจะเป็นผู้ให้ความร่วมมือ  อำนวยความสะดวกและช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้  การประเมินผลการเรียนรู้ตามทฤษฏีนี้มีลักษณะที่ยืดหยุ่นกันไปในแต่ละบุคคล  การประเมินควรใช้วิธีการที่หลากหลาย  การวัดผลจะต้องใช้กิจกรรมหรืองานในบริบทจริงด้วย  ซึ่งในกรณีที่จำเป็นต้องจำลองของจริงมา  ก็สามารถทำได้  แต่เกณฑ์ที่ใช้ควรเป็นเกณฑ์ที่ใช้ในโลกความจริงด้วย1.2 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน(Constructionism)  แนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ  การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเอง  หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและนำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  จะทำให้ความคิดเห็นนั้นเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น    หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ  ครูจะต้องทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน  ให้คำปรึกษาชี้แนะแก่ผู้เรียน  เกื้อหนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ  ในการประเมินผลนั้นต้องมีการประเมินทั้งทางด้านผลงานและกระบวนการซึ่งสามารถใช้วิธีการที่หลากหลาย  เช่น  การประเมินตนเอง  การประเมินโดยครูและเพื่อน  การสังเกต  การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมงาน<br />1.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ในโลกดิจิตัล (Connectivism) แนวคิดของทฤษฎีนี้อธิบายการเรียนรู้ว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการสร้างการเชื่อมโยงเพื่อการพัฒนาเป็นเครือข่าย (network) โดยมองว่า ทฤษฎีการเรียนรู้ในยุคเดิม ๆ ไม่สามารถตอบสนองวิธีการเรียนรู้ของเยาวชนในยุคดิจิตัลได้ ท่ามกลางการพัฒนาของเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว เช่น โทรศัพท์มือถือ กล้องดิจิตัล คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค อินเตอร์เน็ต ฯลฯ ซึ่งเยาวชนใช้เวลาส่วนใหญ่เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีเหล่านั้น<br />การเรียนรู้ภายใต้ทฤษฎี connectivism เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของผู้เรียนที่จะเลือกสรรทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งอยู่รอบตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่ในโลกออนไลน์มาคัดกรอง และทำให้ทรัพยากรการเรียนรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมีความหมายสำหรับตนเอง การเรียนรู้จำเป็นต้องเชื่อมต่อกับสังคม คนรอบตัวและการสร้างเครือข่าย เมื่อใดที่ข้อมูลสารสนเทศ ความคิดเห็น ความรู้สึก ภาพ การมีปฏิสัมพันธ์ นำมาร้อยเรียงให้เกิดการเชื่อมโยงที่มีความหมายสำหรับการเรียนรู้ของตนเองและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ได้นั้น เมื่อนั้นการเรียนรู้ก็เกิดขึ้นแล้ว<br />,[object Object]
ทำกิจกรรมร่วมกันบนอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบของเว็บไซต์มีการแผ่ขยายออกไปเรื่อย ๆ เป็นรูปแบบของการสื่อสารข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรืออินเทอร์เน็ตเป็นสังคมขึ้นมา การสร้างชุมชนใหม่บนอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสำคัญในการติดต่อสื่อสาร สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งเพื่อการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิงทุกวันนี้มีคนใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน และมีการใช้ Social Media ที่ผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทำขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนำมาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนออนไลน์  ปัจจุบันการสื่อสารแบบนี้ทำผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือ เช่น กระดานความคิดเห็น เว็บบล็อก วิกิ (wiki)  Podcast รูปภาพ และวิดีโอ  โดยมีเทคโนโลยีที่รองรับเนื้อหา (content) เหล่านี้ ได้แก่ เว็บบล็อก เว็บไซต์ที่แชร์รูปภาพ แชร์เพลง แชร์วิดีโอ  เว็บบอร์ด  อีเมล์  IM (Instant Massage) เครื่องมือที่ให้บริการ เช่น Voice over IP  ส่วนเว็บไซต์ที่ให้บริการ Social Network ได้แก่ Google Group   Facebook   MySpace  หรือ Youtube เป็นต้น<br />Social Media แบ่งตามหมวดการใช้งานได้ 5 หมวด ดังนี้<br />หมวดการสื่อสาร (Communication) ก็จัดแบ่งตามกลุ่มการใช้<br />Blogs  เช่น  Blogger (google), Blognone, gotoKnow, Typepad, WordPress,<br />Internet forums   เช่น  vBulletin, phpBB<br />Micro-blogging เช่น Twitter, Plurk, Pownce, Jaiku<br />Social networking เช่น Facebook, LinkedIn, MySpace, Orkut, Skyrock, Netlog, Hi5, Friendster, Multiply <br />Social network aggregation เช่น FriendFeed, NutshellMail, Spokeo, Youmeo<br />หมวดความร่วมมือ และแบ่งปัน (Collaboration) จัดกลุ่มการใช้<br />Wikis เช่น  Wikipedia, PBwiki, wetpaint<br />Social bookmarking เช่น Delicious, StumbleUpon, Stumpedia, Google Reader, CiteULike<br />Social news  Digg,  Mixx,  Reddit<br />Opinion sites  เช่น epinions, Yelp<br />หมวดมัลติมีเดีย (Multimedia)<br />Photo sharing เว็บที่แบ่งปันการใช้งานรูป เช่น  Flickr,  Zooomr,  Photobucket, SmugMug<br />Video sharing แบ่งปันวิดีโอ เช่น  YouTube, Vimeo, Revver<br />Art sharing แบ่งปันภาพศิลปะ deviantART<br />Livecasting การถ่ายทอดสด : Ustream.tv, Justin.tv, Skype <br />Audio and Music Sharing เว็บที่มีการแชร์เพลงจากสถานีวิทยุ และเว็บเพลงหรือดนตรี เช่น imeem, The Hype Machine, Last.fm, ccMixter<br />หมวดรีวิว และแสดงความคิดเห็น (Reviews and Opinions)<br />Product Reviews : epinions.com, MouthShut.com, Yelp.com <br />Q&A : Yahoo Answers<br />หมวดบันเทิง (Entertainment) ส่วนใหญ่จะเป็นเกมส์<br />Virtual worlds : Second Life, The Sims Online<br />Online gaming : World of Warcraft, EverQuest, Age of Conan, Spore (2008 video game)<br />Game sharing : Miniclip<br />สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หมายถึง  พฤติกรรมที่คาดหวังที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนเกิด<br />สมรรถนะสำคัญยึดกรอบตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย<br />ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร  มีวัฒนธรรม<br />ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม<br />ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ <br />เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน  การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม <br />ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ <br />การคิด อย่างสร้างสรรค์  การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม<br />      3.4 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค   ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม<br />3.5 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ<br />ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น<br />วัตถุประสงค์ของคู่มือ<br />เพื่อให้ครูอาจารย์สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้<br />บทที่ 2<br />Facebook (เฟสบุ๊ค)<br />Facebook (เฟสบุ๊ค) คือ บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการหนึ่ง ที่จะทำให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารและร่วมทำกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่งหรือหลายๆ กิจกรรมกับผู้ใช้ Facebook คนอื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งประเด็นถามตอบในเรื่องที่สนใจ, โพสต์รูปภาพ , โพสต์คลิปวิดีโอ, เขียนบทความหรือบล็อก, แชทคุยกันแบบสดๆ , เล่นเกมส์แบบเป็นกลุ่ม (เป็นที่นิยมกันอย่างมาก) และยังสามารถทำกิจกรรมอื่นๆ ผ่านแอพลิเคชั่นเสริม (Applications) ที่มีอยู่อย่างมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกล่าวได้ถูกพัฒนาเข้ามาเพิ่ม เติมอยู่เรื่อยๆ จนเรียกได้ว่าเลือกใช้กันทั้งปีก็ไม่หมดครับ<br />ที่น่าสนใจที่สุดก็คือ Facebook ยังเปิดโอกาสให้เราได้พบปะสังสรรค์กับเพื่อนๆ ทั้งเพื่อนซี้เพื่อนเก่าก๊วนรัก เพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมชมรม เพื่อนของเพื่อนของเพื่อน เพื่อนเราคนบ้านเดียวกัน และไม่นานนักเราก็จะได้พบกับเพื่อนใหม่ที่ถูกใจจริงๆ ครับ<br />วิธีสมัคร Facebookleft0สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนการสมัครก็คือ อีเมล์ ครับ จะเป็น Gmail, Hotmail, Yahoo! หรืออีเมล์ใดๆ ก็ได้และ ไม่ควรนำอีเมล์สำคัญๆมาใช้ในการเล่นเฟสบุ๊ค ครับ เป็นต้นว่าอีเมล์ติดต่องานหรืออีเมล์บริษัท ทั้งนี้ ก็เพราะตลอดการเล่น Facebook เราจะต้องใช้อีเมล์นี้รับข้อมูลที่ส่งมาจากบริการของ Facebook อยู่บ่อยๆครับ ถ้าเราใช้บริการเฟสบุ๊คบ่อยแค่ไหนก็ Inbox ของเราก็จะยิ่งรับข้อมูลมากขึ้นครับซึ่งจะทำให้เราเกิดความรำคาญได้ครับเอาล่ะทีนี้ก็ถึงเวลาเริ่มต้นสมัครเล่น Facebook กันเสียที ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ครับ1. เข้าที่เว็บไซต์  HYPERLINK quot;
http://www.facebook.comquot;
  quot;
_blankquot;
 http://www.facebook.com2. คลิกที่ ภาษาไทย (ขออนุญาตใช้งาน Facebook ในแบบภาษาไทยครับ)3. กรอกรายละเอียดของเรา ให้ครบทุกช่อง ถ้าเป็นไปได้ควรกรอกให้ตรงกับความเป็นจริง โดยเฉพาะ อีเมล์ ครับ4. พิมพ์ตัวอักษรที่เรามองเห็น จากนั้นให้คลิกปุ่ม ลงทะเบียน ครับ 5. คลิกที่ ข้าม6. คลิกที่ ข้ามขั้นตอนนี้ 7. คลิกที่ ข้าม8. คลิกที่ ข้าม9. คลิกที่ ข้าม10.  จะปรากฏแถบข้อความแจ้งกับเราว่า ได้ส่งคำขอการยืนยันการสมัครจากทีมงาน Facebook ไปยังอีเมล์ของเรา (อีเมล์ที่กรอกตอนสมัคร) ให้เรารีบไปเช็คอีเมล์ได้เลยครับ11.  เปิดเช็คอีเมล์ใน Inbox เราจะพบว่ามีอีเมล์มาใหม่อยู่ 2 ฉบับ ให้เราคลิกเปิดอ่านอีเมล์หัวข้อ การยืนยันชื่อเข้าใช้งาน Facebook ดังรูป12.  คลิกลิงค์ยืนยันการสมัครได้เลยครับ13.  การสมัครได้รับการยืนยันแล้ว ให้คลิก ตกลง ครับ14.  จะกลับเข้าสู่หน้าเว็บ Facebook อีกครั้ง ซึ่งหน้าตาอาจจะยังดูแปลกๆ นิดหน่อยครับ เนื่องจากเรายังไม่มีเพื่อนเล่นFacebook กับเรา15.  ขั้นตอนสมัคร Facebook ก็จบแต่เพียงเท่านี้ครับ และทุกครั้งที่เล่น Facebook เสร็จแล้วก็อย่าลืม ออกจากระบบ อย่างถูกวิธี ดังรูป<br />ตั้งค่า Profile ใน Facebookleft0Profile (โปรไฟล์) คือ รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเรา ครับ อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ วันเดือนปีเกิด ชอบอะไรเรียนที่ไหน ทำงานอะไร ฯลฯ เรียกได้ว่าถ้าใส่รายละเอียดได้มากเท่าไรก็ยิ่งดีครับ เพราะรายละเอียดทั้งหมดเหล่านั้นจะมีผลต่อการใช้ Facebook อยู่พอสมควร อย่างน้อยที่สุดเราก็จะได้แสดงความจริงใจในการใช้บริการ Social Network เวลาที่ใครสักคนอยากจะ Add เราเป็นเพื่อน เค้าก็จะได้มาอ่านตรงนี้ก่อนครับ สำหรับเพื่อนๆ บางคน อาจจะไม่สะดวกที่จะกรอกทั้งหมด ก็ไม่เป็นไรครับ สามารถเลือกกรอกเฉพาะส่วนที่ต้องการ วันไหนอยากมาแก้ไขข้อมูลหรือกรอกเพิ่มเติมก็สามารถทำได้ 1. เข้าที่เว็บไซต์  HYPERLINK quot;
http://www.facebook.comquot;
  quot;
_blankquot;
 http://www.facebook.com จากนั้นให้เข้าสู่ระบบ ด้วยการกรอก อีเมล์ และ รหัสผ่าน(ที่เราได้สมัคร Facebook ไว้)2. จะเข้าสู่หน้าเว็บ Facebook ของเรา ดังรูป3. คลิกที่ ดูและแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของคุณ 4. ในการกรอกข้อมูลใน Profile คงต้องขออนุญาตอธิบายเป็นหน้าๆ ไปครับ เนื่องจากแบบฟอร์มที่ให้กรอกนั้นค่อนข้างยาว เริ่มต้นด้วยการกรอก ข้อมูลเบื้องต้น หัวข้อนี้เราสามารถกรอกข้อมูลได้ตามต้องการครับ ถ้าเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง 5. ถัดมาเป็นการกรอก ข้อมูลส่วนบุคคล และเพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจของเพื่อนๆ ให้มา Add เรารายละเอียดส่วนนี้ควรเพิ่มความใส่ใจในการกรอกขึ้นอีกนิดนึง เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง6. กรอกข้อมูลการติดต่อ ได้แก่ เบอร์โทรศัพท์, ที่อยู่, IM(เช่น MSN, Gtalk) และเว็บไซต์(ถ้ามี) เราสามารถเลือกกรอกข้อมูลเพียงบางส่วนได้ โดยทั่วไปในส่วนของ ข้อมูลการติดต่อ นั้น ผู้ใช้ Facebook หลายท่านมักไม่ค่อยได้กรอก นั่นอาจเป็นเพราะต้องการความเป็นส่วนตัว ซึ่งก็ไม่ผิดกติกาครับ เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลงสำหรับบางท่านที่ต้องการกรอกข้อมูลการติดต่อ ท่านก็สามารถที่จะเลือกได้ว่าจะให้แสดงข้อมูลแก่ใครบ้าง โดยคลิกที่เมนู ปรับแต่ง ดังรูปจากนั้นก็ให้เลือกว่าใครบ้างที่จะมองเห็นข้อมูลติดต่อตรงนี้7. หัวข้อ การศึกษาและการทำงาน ข้อมูลส่วนนี้จะมีประโยชน์ต่อการติดตามเพื่อนร่วมชั้นเรียนและเพื่อนๆ ในองค์กรเดียวกับเราครับ เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง8. ใส่รูปแทนตัวโดยคลิกที่ Upload a Photo ดังรูป9. คลิกปุ่ม Browse เพื่อเลือกรูปจากในเครื่องของเราครับ (ควรเลือกรูปที่ดีที่สุดของเราครับ)10.  คลิกเลือกรูป จากนั้นคลิกปุ่ม Open11.  และนี่คือรูปแทนตัวของเราครับ เจ้าของ Facebook สามารถเปลี่ยนรูปของตนเองได้ตลอดครับ <br />อะไร ตรงไหน ที่เราต้องใช้บ่อยๆใน Facebook    ผู้เริ่มต้นใช้ Facebook หลายท่านมักจะบ่นให้ฟังว่า ใช้งานยาก เพราะไม่รู้ว่าอะไรอยู่ตรงไหนบ้าง จะคลิกหรือจะพิมพ์อะไรก็กลัวจะผิดซึ่งก็ต้องยอมรับครับว่าเมนูการใช้งานใน Facebook นั้นค่อนข้างเยอะจริงแต่ทุกเมนูล้วนแล้วแต่นำมาซึ่งประโยชน์กับตัวผู้ใช้งานแทบทั้งสิ้นครับ และจากประสบการณ์ เมนูที่เราเข้าไปใช้บ่อยๆนั้นมีอยู่ไม่กี่จุดครับ มาดูกันครับว่ามีตรงไหนบ้าง1. ก่อนอื่นให้คลิกเมนู หน้าแรก กลับไปหน้าหลัก2. และนี่คือส่วนที่เราต้องใช้บ่อยๆ ใน Facebook Wall (วอลล์) เป็นส่วนที่เราจะสามารถโพสต์ ข้อความ, วิดีโอ, กิจกรรมนัดหมาย และรูปภาพ ครับส่วนแสดงการโพสต์ข้อมูล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวอลล์นั่นเองครับ ตรงนี้จะแสดงข้อมูลที่เราได้โพสต์และข้อมูลของเพื่อนๆ ของเราครับUpdate Status เป็นส่วนที่จะแสดงข้อมูลใหม่ๆ ได้แก่ ได้เพื่อนใหม่ , ได้ข้อความส่วนตัวใหม่ และได้รับโพสต์ใหม่ คำร้องขอ ส่วนนี้จะคล้ายกับ Update Status ครับ ได้แก่ ได้รับเชื้อเชิญให้เราไปร่วมกิจกรรม, ได้รับเชื้อเชิญให้เราไปร่วมเล่นเกมส์ และได้เพื่อนใหม่ <br />วิธีโพสต์วิดีโอใน Facebook การโพสต์วิดีโอในที่นี้ก็คือ การอัพโหลดไฟล์วิดีโอของเราขึ้นไปบนเฟสบุ๊คครับ โดยจะมีวิธีการอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ อัพโหลดผ่านการบันทึกจากกล้องเว็บแคม และ การอัพโหลดไฟล์วิดีโอจากในคอมพิวเตอร์ของเรา แน่นอนครับว่าวิธีการนี้จะไม่ได้ไปเกี่ยวข้องกับโพสต์คลิปจาก Youtube (จะได้อธิบายวิธีการโพสต์คลิปจากยูทูปล้วนๆ ไว้ให้แล้วครับ) ทีนี้มาดูวิธีการโพสต์วิดีโอทั้ง 2 วิธีกันครับ1. ไปที่ช่องโพสต์ข้อมูลบนวอลล์2. คลิกปุ่ม วิดีโอ3. เลือกวิธีการโพสต์วิดีโอ โดยจะมี 2 วิธีให้เลือกดังภาพด้านล่างครับ       วิธีที่ 1 อัพโหลดวิดีโอเป็นการอัพโหลดไฟล์วิดีโอจากในเครื่องของเราขึ้นไปยังเฟสบุ๊คนั่นเองครับคลิก อัพโหลดวิดีโอคลิกปุ่ม Browse เพื่อเลือกไฟล์วิดีโอของเรา จากนั้นให้คลิกปุ่ม แบ่งปันไฟล์วิดีโอของเราก็จะไปปรากฏในวอลล์เพื่อนๆ ที่เข้ามาเจอวิดีโอของเราก็จะสามารถคลิกเล่นได้ทันทีครับ       วิธีที่ 2 บันทึกวิดีโอจากกล้องเว็บแคมเป็นการอัพโหลดไฟล์วิดีโอด้วยการบันทึกจากกล้องเว็บแคมในคอมพิวเตอร์ของเราส่งไฟล์วิดีโอตรงขึ้นไปยังเฟสบุ๊คนั่นเองครับคลิก บันทึกวิดีโอ คลิกปุ่ม บันทึก จากนั้นคลิกปุ่ม แบ่งปัน วิดีโอที่เราบันทึกจากกล้องเว็บแคมก็จะถูกโพสต์ขึ้นไปบนวอลล์ให้เพื่อนๆ ของเราได้ชมกันครับ<br />วิธีโพสต์ตารางกิจกรรมนัดหมายใน Facebookผู้ใช้เฟสบุ๊คสามารถสร้างตารางกิจกรรมนัดหมายกับเพื่อนๆ ได้ง่ายๆไม่กี่ขั้นตอนดังนี้ครับ 1. ไปที่ช่องโพสต์ข้อมูลบนวอลล์2. คลิกที่ปุ่ม กิจกรรม 3. ใส่หัวเรื่องกิจกรรมนัดหมาย กำหนดสถานที่ และกำหนดวันเวลา จากนั้นคลิกปุ่ม แบ่งปัน ครับ4. ตารางนัดหมายของเราก็จะไปปรากฏในวอลล์ดังรูป<br />วิธีโพสต์คลิปยูทูปใน Facebookเมื่อไปเจอคลิป Youtubeที่น่าสนใจและอยากจะโพสต์ให้กับเพื่อนๆ ได้ดูได้ชมกัน เราก็สามารถที่จะนำลิงค์ของ Youtube มาโพสต์ในวอลล์ได้เลยทันทีครับ ให้เพื่อนๆ 1. คลิปวิดีโอในยูทูปที่ถูกใจ ก็ให้ copy ลิงค์จากช่อง URL มาครับ2. ที่ช่องโพสต์บนวอลล์ ให้คลิกที่ไอคอน ลิงค์ ครับ3. ทำการโพสต์ลิงค์ของ Youtube ตามขั้นตอนในรูปด้านล่างครับ4. คลิป Youtube ที่เราโพสต์ ก็จะไปปรากฏในวอลล์ให้เพื่อนๆ ได้ชมและสามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกันได้อีกด้วยครับ<br />บทที่ 3<br />คู่มือการใช้งาน YouTube<br />YouTube เป็น website ที่ให้บริการฝากไฟล์ ประเภท งานนำเสนอในรูปแบบไฟล์งานนำเสนอ             (power point)  และ ไฟล์วีดีโอในรูปแบบ (Flash) และสามารถนำไปแชร์ให้ผู้อื่นได้เข้ามาดู หรือ Download ไปใช้ได้ <br />วิธีการใช้งาน YouTube<br />การใช้งานเว็บไซต์ YouTube นั้นจะต้องสมัครสมาชิกก่อนเพื่อที่จะสามารถใช้งานได้ โดย ขั้นตอนในการสมัครสามารถทำได้ดังนี้ <br />1. เข้าไปที่เว็บไซต์ http//www.YouTube.com<br />2. คลิกเพื่อสร้าง Account YouTube<br />3. ทำการกรอกรายละเอียดการสมัคร Account<br />2.1 กรอก Username โดยเป็นชื่อภาษาอังกฤษหรือ ตัวเลข2.2 คลิกที่คำว่า Check Availiability เพื่อทำการตรวจสอบ ชื่อ username ที่ตั้งไว้2.3 เลือกประเทศในแถบ Location2.4 เลือกวันเกิดของตนเองในแถบ Date of Birth2.5 เลือกเพศ ในแถบ Gender2.6 กดปุ่ม I accept เมื่อยอมรับข้อตกลงการสมัคร<br />4. เมื่อทำการ Accept ข้อตกลงแล้วจะปรากฏหน้าจอการตั้งชื่อ Username และ Password<br />1. กรอกอีเมล์ที่จะใช้ในการสมัครในช่อง Your current email address2. กรอกรหัสผ่าน อย่างน้อย 8 อักษร ในช่อง Choose a password3. พิมพ์รหัสผ่านซ้ำ าอีกครั้งโดยให้เหมือนกับในช่องที่สอง4. กรอก รหัสตรวจสอบ ในช่อง word virificationโดยให้กรอกตัวอักษร ตามรูปที่แสดง5. กดปุ่ม Create New Account and Finish<br />5. เมื่อทำการสมัครเรียบร้อยแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์ หากจะสมบูรณ์ได้จะต้องรอจดหมายืนยันการสมัครจาก YouTube ก่อน โดยจดหมายยืนยันการสมัครจะส่งไปยังอีเมล์ที่เราใช้ในการสมัคร<br />แจ้งให้ไปเช็คจดหมายยืนยันการสมัครที่อีเมล์ของตัวเองที่ใช้ในการสมัครแสดงชื่อ username และ Googleaccount email address<br />ขั้นตอนการอัพโหลดไฟล์วีดีโอ<br />1. คลิกที่ชื่อ Account แล้วเลือก My Videos<br />2. จะเข้าสู่หน้าจอการจัดการไฟล์ วีดีโอ<br />คลิกเพื่อ อัพโหลดไฟล์วีดีโอ<br />3. คลิกที่ Start uploading a video now! หรือปุ่ม <br />คำแนะนำในการอัพไฟล์วีดิโอ:<br />1. สามารถอัพไฟล์วีดีโอได้ครั้งละ 10ไฟล์<br />2. สามารถอัพไฟล์ได้ขนาด 2 gb ขึ้นไป<br />3. สามารถอัพไฟล์ที่มีความยาวเกิน10 นาทีขึ้นไป<br />1.ส่วนแสดงสถานการณ์อัพโหลดไฟล์2. Title : ชื่อของไฟล์วีดีโอ3. Description : เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับคลิปวีดีโอ4. Tag : คีอคำที่ใช้ในการค้นหาวิดีโอนี้5. Category : ประเภทไฟล์วีดีโอที่ต้องการจัดหมวด6. Privacy : สิทธิการเข้าถึงวิดีโอ6.1 ให้ทุกคนสามารถเข้ามาดูได้6.2 ให้สามารถดูได้ครั้งละ 2 5 คน<br />แสดงสถานะการอัพโหลดไฟล์ว่าเรียบร้อยแล้ว<br />วิธีนำไฟล์จาก Youtube ขึ้นเว็บไซต ์<br />1. คลิกที่ไฟล์วีดีโอที่เราอัพโหลด หรือต้องกา ร<br />2. คลิกที่ช่อง Embed เพื่อทำการ Copy Code<br />3. นำโค๊ดที่เราทำการ Copy ไปใส่ในหน้าเว็บตรงส่วนที่ต้องการ<br />Option ที่ใช้ในการตกแต่งส่วนแสดงไฟล์วีดีโอCopy Code จากช่อง Embed<br />การเชื่อมโยง YouTube กับการจัดการความรู้วิชสุขศึกษาในสังคมออนไลน์<br />คลิกเพื่อนำEmbed มาวาง<br />ตัวอย่างผลงานของนักเรียน<br />,[object Object]
คู่มือ SlideshareSlideShare เป็น website ที่ให้บริการฝากไฟล์งานนำเสนอ (power point) ไฟล์เอกสาร (word)  และ ไฟล์วีดีโอในรูปแบบ (Flash) ขนาดไฟล์สูงสุด 100MB และสามารถนำไปแชร์ให้ผู้อื่นได้เข้ามาดู หรือ Download ไปใช้ได้ <br />วิธีการใช้งาน SlideShare <br />การใช้งานเว็บไซต์ Slideshare.net นั้นจะต้องสมัครสมาชิกก่อนเพื่อที่จะสามารถใช้งานได้ โดย ขั้นตอนในการสมัครสามารถทำได้ดังนี้ <br />1. เข้าไปที่เว็บไซต์ http//www.slideshare.net <br />2. คลิกปุ่ม Signup<br />,[object Object],4. กรอกรายละเอียดเพิ่มเติมในส่วนของ รหัสผ่าน ยืนยันโค้ดเพื่อตรวจสอบว่ามีการสมัครจริงๆ และ คลิก I accept the TOS & Privacy Policy <br />5. คลิกปุ่ม SignUp เป็นอันเสร็จสิ้นการสมัคร<br />เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้วคลิก I acceptแล้วคลิก signup<br />6. เมื่อได้กดปุ่ม Sign Up แล้วจะพบว่า ระบบจะ login ให้อัตโนมัติ หากใครขึ้น user ตัวเองแล้วแสดงว่า การสมัครสมบูรณ์<br />การ Upload ไฟล์เข้า Slideshare.net <br />1. เตรียม Presentation ซึ่ง format ที่support ได้แก่ นามสกุล ppt, pps & pot (PowerPoint), pdf, <br />2. คลิกปุ่ม Upload<br />3. จะปรากฏหน้าให้ upload ไฟล์ขึ้นมา                        4. คลิกปุ่ม UPLOAD…<br />5. ให้หาไฟล์ Presentation ที่เตรียมไว้ แล้วคลิกปุ่ม Open <br />6. เมื่อคลิกปุ่ม Open เรียบร้อยแล้วทางเว็บจะโหลด Presentation ที่เราเลือกเข้าไปที่ระบบ รอจนกว่าครบ 100 เปอร์เซ็นต์ <br />7. พอครบ 100 เปอร์เซ็นต์ แล้วระบบจะให้กรอกรายละเอียดของ Slide เช่น Title, Tags, Category, Privacy, Description (จะกรอกหรือไม่ก็ได้) <br />8. คลิกปุ่ม Save changes เพื่อเผยแพร่และรอจนเสร็จ<br />9. ไปดูไฟล์ที่ตัวเองได้ Upload ด้วยการคลิกที่ My UPLOAD <br />10. เมื่อคลิกที่ปุ่ม My SlideShare แล้วคุณจะพบ Presentation ที่คุณได้ Upload เข้าไป ซึ่งสามารถคลิกเพื่อ ดูผลลัพธ์ได้ โดยผลลัพธ์ที่ปรากฎนั้นจะเป็นไฟล์ที่มีรูปแบบเป็น flash <br />ผลลัพธ์ที่ปรากฎนั้นจะเป็นไฟล์ที่มีรูปแบบเป็น flash ในส่วนของการแสดงผลก็ใช้เมาส์คลิกเพื่อไปหน้าถัดไป หรือหากต้องการ download กลับมาก็คลิกที่ปุ่ม Download<br />การเชื่อมโยง SlideShare กับการจัดการความรู้วิชาสุขศึกษาในสังคมออนไลน์ <br />1              2                                21. คลิกที่ Tab Embed <br />2. คลิกที่ customize<br />3. copy Code ที่ Embed this presentation<br />,[object Object],ตัวอย่างผลงาน Slideshare ของนักเรียน<br />
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54
Social network 54

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Tangkwa Tom
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Chi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tangkwa Tom
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
oajirapa
 

Was ist angesagt? (15)

Mxcc
MxccMxcc
Mxcc
 
งานใหม่1
งานใหม่1งานใหม่1
งานใหม่1
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
 
Introduction to Social Networks
Introduction to Social NetworksIntroduction to Social Networks
Introduction to Social Networks
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Social media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnutSocial media2011 15dec10_arnut
Social media2011 15dec10_arnut
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง555555502 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง5555555
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
Socialnetwork
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงานแบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงาน
 

Ähnlich wie Social network 54

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pitthaya203
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
pitthaya203
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
pui003
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
Wilaiporn7
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
decnun
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Poonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chi Cha Pui Fai
 

Ähnlich wie Social network 54 (20)

2012education1
2012education12012education1
2012education1
 
2012education
2012education2012education
2012education
 
สอน Social network
สอน Social  networkสอน Social  network
สอน Social network
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Mehr von Udomwit Nakdontree (11)

Line27 28june2014-kawila-cmu
Line27 28june2014-kawila-cmuLine27 28june2014-kawila-cmu
Line27 28june2014-kawila-cmu
 
Computergraphics l1
Computergraphics l1Computergraphics l1
Computergraphics l1
 
Multimedia1
Multimedia1Multimedia1
Multimedia1
 
Computer graphics 1/15 Intro
Computer graphics 1/15 IntroComputer graphics 1/15 Intro
Computer graphics 1/15 Intro
 
นศ.331
นศ.331นศ.331
นศ.331
 
Webdesign2
Webdesign2Webdesign2
Webdesign2
 
Webdesign3
Webdesign3Webdesign3
Webdesign3
 
Sn54 part4-slide share
Sn54 part4-slide shareSn54 part4-slide share
Sn54 part4-slide share
 
Sn54 part1-theory
Sn54 part1-theorySn54 part1-theory
Sn54 part1-theory
 
Sn54 part3-youtube
Sn54 part3-youtubeSn54 part3-youtube
Sn54 part3-youtube
 
Sn54 part2-facebook
Sn54 part2-facebookSn54 part2-facebook
Sn54 part2-facebook