SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 14
วิ จ ั ย ชั ้ น เรี ย น
เรื ่ อ ง การพั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการทาง
                 วิ ท ยาศาสตร์
   โดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะกระบวนการ
             วิ ท ยาศาสตร์
สำ า หรั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ١ โรงเรี ย น
                  เทพเสด็ จ วิ ท ยา



                     ผู ้ ว ิ จ ั ย
         นายอนุ ส รณ์ อรุ ณ สวั ส ดิ ์
             ตำ า แหน่ ง ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย
  กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์
              ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥٣
โรงเรี ย นเทพเสด็ จ วิ ท ยา
ชื ่ อ งานวิ จ ั ย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้
แบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

            สำาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา

ชื ่ อ ผู ้ ว ิ จ ั ย : นายอนุสรณ์ อรุณสวัสดิ์

กลุ ่ ม สาระ : วิทยาศาสตร์




                                  บทคั ด ย่ อ
       วิจัยนี้เป็นงานวิจัยในวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว ٢١١٠١ เพื่อพัฒนา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١
โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการทดลอง เรื่อง สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของพืชอย่างไร ซึ่งให้นักเรียนเพาะเมล็ดถั่วเขียว เมื่อการ
ทดลองเสร็จสิ้นลงให้นักเรียนทดสอบแบบฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ นักเรียนจะได้รู้วิธีการตั้งปัญหา สมมติฐาน การ
สังเกต การลงมือปฏิบัติ และการจัดกระทำาข้อมูล ผลที่นักเรียนจะได้รับ คือ
ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นและมีทักษะความ
ชำานาญในการทดลองและเรียนวิทยาศาสตร์อย่างมีความสุข
١. ความเป็ น มา/ปั ญ หา
      การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่จำาเป็น
มากสำาหรับนักเรียนที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เนื่องจากว่าในการเรียน
วิทยาศาสตร์นั้นนักเรียนจะต้องรู้จักการแก้ปัญหา ตั้งสมมติฐาน การลงมือ
ปฏิบัติ จัดกระทำาข้อมูลเพื่อรายงานผล เมื่อผู้เรียนอยากรู้ในเรื่องที่ตนเอง
สนใจและจากการสังเกตนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ ในขณะทำาการ
ทดลอง พบว่านักเรียนยังไม่สามารถใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ได้ดีเท่าที่ควร เช่น นักเรียนตั้งปัญหา สมมติฐาน สรุปผลเพื่อนนำาเสนอไม่
ได้ และที่สำาคัญนักเรียนยังไม่สามารถวางแผนการทดลองด้วยตนเองได้
เนื่องจากขาดทักษะ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงทำาวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกและให้นักเรียนรู้จักการคิดอย่างเป็น
ระบบและสามารถนำาไปใช้ศึกษาต่อในระดับสูงได้

٢. วั ต ถุ ป ระสงค์
     ١. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ดีขึ้น

    ٢. เพื่อให้นักเรียนรู้จักการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักแก้ปัญหาด้วย
ตนเอง

     ٣. นักเรียนสามารถนำาไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับสูงได้

٣. ขอบเขตการวิ จ ั ย
          ٣.١ วิจัยนักเรียนเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
     วิทยาศาสตร์จากการทดลองในห้องปฏิบัติการและใช้แบบฝึกทักษะ
     กระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ

          ٣.٢ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา
     จำานวน ١١ คน
٣.٣ ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย คือ วันที่ ١ ก.ค. ٣١ – ٥٣ ก.ค. ٥٣

           ٣.٤ สถานที่ คือ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา

           ٣.٥ ตัวแปรที่ศึกษา

                 ตัวแปรต้น คือ นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์

                 ตัวแปรตาม คือ นักเรียนยังใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ไม่ดีเท่าที่ควร

4. นิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะ
     ทักษะ หมายถึง การฝึกฝนในสิ่งที่ตนเองสนใจจนเกิดความชำานาญ

     กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ เป็นทักษะที่ใช้ในการเรียน
วิทยาศาสตร์หรือการทดลอง ซึ่งมีทั้งหมด ١٣ ทักษะ ดังนี้

     1.ทักษะการกำาหนดและควบคุมตัวแปร การกำาหนดตัวแปร
เป็นการชี้บงตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องการควบคุมใน
           ่
สมมติฐานหนึ่ง ๆ การควบคุมตัวแปร เป็นการควบคุมสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือ
จากตัวแปรต้น ถ้าหากไม่ควบคุม ให้เหมือนๆ กัน ก็จะทำาให้ผลการ
ทดลองคลาดเคลื่อน
ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้แตกต่างกัน ซึ่งเป็นต้นเหตุ ทำาให้เกิด
ผล ซึ่งเราคาดหวังว่าจะแตกต่างกัน ตัว
แปรตาม คือ สิ่งที่เราต้องติดตามดู ซึ่งเป็นผลจากการจัดสถานการณ์
บางอย่าง ให้แตกต่างกัน
ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราต้องควบคุมจัดให้เหมือนกันเพื่อให้แน่ใจว่า
ผลการทดลอง เกิดจากตัวแปรต้นเท่านั้น

     2.ทักษะการคำานวณ คือ การนับจำานวนของวัตถุและการนำา
ตัวเลขแสดงจำานวนที่นบได้ มาคิดคำานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร
                    ั
หรือหาค่าเฉลี่ย

     3.ทักษะการจัดทำาและสื่อความหมายข้อมูล เป็นการนำาผลการ
สังเกต การวัด การทดลองจากแหล่งต่าง ๆ โดยการหาความถี่ เรียง
ลำาดับ จัดแยกประเภท หรือคำานวณหาค่าใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความ
หมาย ของข้อมูลดียิ่งขึ้น โดยอาจเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ
แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ และการเขียนบรรยาย

      4.ทักษะการจำาแนกประเภท คือ การแบ่งพวก หรือเรียงลำาดับ
วัตถุ หรือสิ่งที่อยู่ในปรากฏการณ์ โดยใช้เกณฑ์ ความเหมือน ความแตก
ต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง

      5.ทักษะการตั้งสมมติฐาน คือ การคิดหาคำาตอบล่วงหน้า ก่อน
จะทำาการทดสองโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิม เป็นพื้น
ฐานคำาตอบที่คิดล่วงหน้าซึ่งยังไม่ทราบ หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ
หรือ ทฤษฎีมาก่อน สมมติฐาน หรือคำาตอบที่คิดไว้ลวงหน้า มักกล่าวไว้
                                                  ่
เป็นข้อความ ทีบอก ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม
               ่
สมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจถูก หรือผิดก็ได้ ซึ่งจะทราบภายหลัง การทดลอง
หาคำาตอบเพื่อสนับสนุน หรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้

      6.ทักษะการตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป การตีความ
หมายข้อมูล คือ การแปรความหมาย หรือ การบรรยาย ลักษณะและ
สมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การลงข้อสรุป คือ การสรุปความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลทังหมด
        ้

       7.ทักษะการทดลอง มี 3 ประเภท คือ การทดลองแบบแบ่งกลุ่ม
เปรียบเทียบ ไม่มีกลุ่ม เปรียบเทียบและลองผิดลองถูก การทดลอง
เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำาตอบ หรือการทดสอบ สมมติฐานที่
ตั้งไว้ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติ
การทดลองและการบันทึกผลการทดลอง

      8.ทักษะการกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ คือ การกำาหนดความ
หมายและขอบเขตของสิ่งต่าง ๆ (ที่อยูในสมมติฐานที่ต้องทดลอง) ให้
                                  ่
เข้าใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวัดไว้

       9.ทักษะการพยากรณ์ คือ การสรุปคำาตอบล่วงหน้า ก่อนการ
ทดลองโดยอาศัยประสบการณ์ ทีเกิดขึ้นซำ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎี
                                  ่
ที่มีอยูแล้วในเรื่องนั้น มาช่วยในการสรุป การพยากรณ์มีสองทาง คือ
        ่
การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลที่มีอยูและ การพยากรณ์นอก
                                             ่
ขอบเขตข้อมูลที่มีอยู่
10.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล คือ การเพิ่มความคิดเห็น
ให้กับข้อมูลที่ได้จากากรสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมมาช่วย

     11.ทักษะการวัด คือ การเลือกและการใช้เครื่องมือทำาการวัดหา
ปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขทีแน่นอนได้อย่างเหมาะสม
                                     ่
และถูกต้อง โดยมีหน่วยกำากับเสมอ

       12.ทักษะการสังเกต คือ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส
อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อหาข้อมูล หรือรายละเอียดของ
สิ่งต่าง ๆ โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น ส่วนตัวลงไป

      13.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ และมิติกับ
เวลา วัตถุต่าง ๆ ในโลกนี้ จะทรงตัวอยู่ได้ ล้วนแต่ครองที่ทว่าง การ
                                                         ี่
ครอง ที่ของวัตถุในทีว่างนั้น โดยทัวไปแล้วจะมี 2 มิติ ได้แก่ มิติยาว
                     ่            ่
มิติกว้าง และมิติสูงหรือหนา




5. ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ
     นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรืเพิ่มมากขึ้น และ
สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดจากการทดลองได้อย่างรวดเร็วและถูก
ต้องแม่นยำา

٦. เอกสารที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
     ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมาคมความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์ (American Association for the Advancement of
Science-AAAS) ได้กำาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ทั้งสิ้น 13 ทักษะ
โดยจัดแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ
                        1) ทักษะพื้นฐาน หรือทักษะเบื้องต้น (Basic Science
Process Skill) ประกอบด้วย 8 ทักษะ ได้แก่ ทักษะที่ 1-8
                       2) ทักษะขั้นบูรณาการ หรือ ทักษะเชิงซ้อน
(Intergrated Science Process Skill) ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่ ทักษะ
ที่ 9-13 ดังนั้นผู้วิจัยจึงจัดทำาชุดแบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣
ทักษะจำานวน ١١ ชุด พร้อมทั้งให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ ลงมือปฏิบัติ
ทดลองในห้องปฏิบัติการภายในเวลา ١ ชั่วโมง

٧. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การวิ จ ั ย
     ٧.١ ประชากร/กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง

                    นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ จำานวน ١١ คน

     ٧.٢ เครื ่ อ งมื อ วิ จ ั ย

                    ١. แบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ

                    ٢. ทำาการทดลองในห้องปฏิบัติการ




     ٧.٣ วิ ธ ี ก ารเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล

      1. ศึกษาเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยใช้ทักษะการ
สังเกตขณะนักเรียนปฏิบัติการทดลอง

     ٢. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ก่อนปฏิบัติการทดลอง

      ٣. นักเรียนปฏิบัติการทดลอง โดยครูอธิบายวิธีการทดลองให้
นักเรียน

     ٤. นักเรียนลงมือปฏิบัติการทดลอง โดยใช้เวลา ١ ชั่วโมง
٥. นักเรียนนำาผลการทดลองที่ได้มาจัดกระทำาข้อมูลให้เรียบร้อยนำา
เสนอหน้าชั้นเรียน

      ٦. ครูให้คำาปรึกษาแนะนำาและให้ความรู้เพิ่มเติม

    ٧. หลังจากนักเรียนนำาเสนอหน้าชั้นเรียนแล้ว ให้นักเรียนทำาแบบทด
สอลหลังเรียนชุดเดิม

      ٨. ครูนำาคะแนนสอบก่อน-หลังมาประมวลผล



      ٧.٤ วิ ธ ี ก ารวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล

     - วิเคราะห์เป็นร้อยละ โดยนำาคะแนนทดสอบก่อนหลังของนักเรียน
แต่ละคนมาเปรียบเทียบดูพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียน

    - นำาผลที่ได้จากการวิจัยมาทำาเป็นกราฟเส้นแสดงผลความก้าวหน้า
ของผู้เรียน




      ٨. เอกสารอ้ า งอิ ง
              สุวิมล ว่องวาณิช.٢٥٥٢.การวิ จ ั ย ปฏิ บ ั ต ิ ก ารในชั ้ น เรี ย น.
พิมพ์ครั้งที่ ١٢ กรุงเทพฯ:

                       โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รัตนะ บัวสนธ์.(٢٥٥٢).การวิ จ ั ย และพั ฒ นานวั ต กรรมการ
ศึ ก ษา.กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์คำาสมัย.

          สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(٢
          ٥٥٠).เอกสารการเรี ย นรู ้ ก ารทำ า วิ จ ั ย

                  ด้ ว ยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ ١ กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์
          มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

           ทิศนา แขมมณี.(٢٥٥٢).ศาสตร์ ส อนองค์ ค วามรู ้ เ พื ่ อ การ
     จั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ม ี

                   ประสิ ท ธิ ภ าพ. พิมพ์ครั้งที่ ٩.กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์
     แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




٩. ผลการวิ จ ั ย
ผลจากการทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ จำานวน ١١ คน ได้
           ผลดังนี้
                        ทดสอบ           คิ ด              ทดสอบ           คิ ด             เพิ ่ ม    ลด
                       ก่ อ นเรี ย น             ค่ า    หลั ง เรี ย น             ค่ า                        ค่ า
                                       เป็ น                             เป็ น             ขึ ้ น     ลง
 ชื ่ อ – นามสกุ ล                              เฉลี ่                            เฉลี ่                      เฉลี ่
                        เต็ ม ١٠       ร้ อ ย              เต็ ม ١٠      ร้ อ ย            ร้ อ ย    ร้ อ ย
                                                 ย                                 ย                           ย
                        คะแนน           ละ                คะแนน           ละ                ละ        ละ

ด.ช.รัชกาล     แสง          ٢           ٢٠       ٠.٢          ٣           ٣٠       ٠.٣      ١٠         -       ٠.١
แก้ว

ด.ช. ธนวัฒน์                ٦           ٦٠       ٠.٦          ٧           ٧٠       ٠.٧      ١٠         -       ٠.١
วรรณฤทธิ์

ด.ช.ณัฐพงษ์ เปรม            ٢           ٢٠       ٠.٢          ٤           ٤٠       ٠.٤      ٢٠         -       ٠.٢
จิตต์ชื่น

 ด.ช.เอกมล                  ٨           ٨٠       ٠.٨          ٨           ٨٠       ٠.٨       -         -      ٠.٠٠
เดชอุดม

ด.ช.สุรศักดิ์ นาม           ٦           ٦٠       ٠.٦          ٧           ٧٠       ٠.٧      ١٠         -       ٠.١
สวาท

ด.ญ.ศิริรัตน์ อุ่นลิ        ٦           ٦٠       ٠.٦          ٧           ٧٠       ٠.٧      ١٠         -       ٠.١
วรรณ์

ด.ญ.นุสรา ประ               ١           ١٠       ٠.١          ٢           ٢٠       ٠.٢      ١٠         -       ٠.١
วรรณเนย์

ด.ญ.ส้ม     จิงตา
              ่             ٣           ٣٠       ٠.٣          ٤           ٤٠       ٠.٤      ١٠         -       ٠.١

ด.ญ.พัชรินภรณ์              ٤           ٤٠       ٠.٤          ٥           ٥٠       ٠.٥      ١٠         -       ٠.١
นาคบุญตัน

ด.ญ.รุ่งนภา     จิโน        ٣           ٣٠       ٠.٣          ٤           ٤٠       ٠.٤      ١٠         -       ٠.١

ด.ญ.วาสนา บุญ               ٤           ٤٠       ٠.٤          ٥           ٥٠       ٠.٥      ١٠         -       ٠.١
ผ่อง
ผลการวิ จ ั ย ที ่ ไ ด้ จ ะนำ า มาวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เป็ น กราฟเส้ น แสดง
ค่ า คะแนน ร้ อ ยละ และค่ า เฉลี ่ ย ก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น ดั ง นี ้




ค่ า คะแนนทดสอบก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น




ค่ า ร้ อ ยละก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น
ค่ า เฉลี ่ ย ก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น
١٠. สรุ ป ผลการวิ จ ั ย
      จากการวิจัยในครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ พบว่านักเรียนมี
ความรู้ความสามารถในกระบวนการวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นร้อยละ ١٠
และมีนักเรียนบางคนที่ได้ค่าร้อยละเท่าเดิมทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน
แสดงว่ามีความรู้ความสามารถเท่าเดิม ซึ่งค่าร้อยละเพิ่มที่สูงสุดและค่า
เฉลี่ยสูงสุด คือ ร้อยละ ٤٠ คิดเป็นค่าเฉลี่ย ٠.٤ แสดงว่านักเรียนมีความรู้
ความสามารถอยู่ในระดับดีมากและค่าร้อยละเพิ่มที่ตำ่าสุดและค่าเฉลี่ยตำ่า
สุด คือ ร้อยละ ١٠ คิดเป็นค่าเฉลี่ย ٠.١ แสดงว่านักเรียนมีความรู้ความ
สามารถอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งผลจากการวิจัยนั้นทำาให้ผู้วิจัย
สามารถนำาผลที่ได้ไปพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้ได้ในครั้งต่อไป




ข้ อ เสนอแนะ
     ครูผู้สอนสามารถนำาชุดฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ไป
ประยุกต์ใช้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นอื่นๆได้ ชุดฝึกทักษะ
กระบวนการวิทยาศาสตร์อาจแยกเป็นชุดย่อยๆได้ เพื่อความเหมาะสม
กับเวลาเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้
เรียนเรียนรู้อย่างอิสระโดยครูผู้สอนเป็นเพียงที่ปรึกษา ให้คำาชี้แนะเป็น
รายบุคคลเพื่อให้นักเรียนมีทักษะที่หลากหลาย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 

Was ist angesagt? (20)

แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 

Andere mochten auch

รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...Joy Kularbam
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...Joy Kularbam
 

Andere mochten auch (20)

วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2

Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาCha-am Chattraphon
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงNalai Rinrith
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงNalai Rinrith
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2 (20)

PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 

วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2

  • 1. วิ จ ั ย ชั ้ น เรี ย น เรื ่ อ ง การพั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการทาง วิ ท ยาศาสตร์ โดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะกระบวนการ วิ ท ยาศาสตร์ สำ า หรั บ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ١ โรงเรี ย น เทพเสด็ จ วิ ท ยา ผู ้ ว ิ จ ั ย นายอนุ ส รณ์ อรุ ณ สวั ส ดิ ์ ตำ า แหน่ ง ครู ผ ู ้ ช ่ ว ย กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์ ปี ก ารศึ ก ษา ٢٥٥٣
  • 2. โรงเรี ย นเทพเสด็ จ วิ ท ยา ชื ่ อ งานวิ จ ั ย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ แบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ สำาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา ชื ่ อ ผู ้ ว ิ จ ั ย : นายอนุสรณ์ อรุณสวัสดิ์ กลุ ่ ม สาระ : วิทยาศาสตร์ บทคั ด ย่ อ วิจัยนี้เป็นงานวิจัยในวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว ٢١١٠١ เพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการทดลอง เรื่อง สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืชอย่างไร ซึ่งให้นักเรียนเพาะเมล็ดถั่วเขียว เมื่อการ ทดลองเสร็จสิ้นลงให้นักเรียนทดสอบแบบฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ นักเรียนจะได้รู้วิธีการตั้งปัญหา สมมติฐาน การ สังเกต การลงมือปฏิบัติ และการจัดกระทำาข้อมูล ผลที่นักเรียนจะได้รับ คือ ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นและมีทักษะความ ชำานาญในการทดลองและเรียนวิทยาศาสตร์อย่างมีความสุข
  • 3. ١. ความเป็ น มา/ปั ญ หา การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่จำาเป็น มากสำาหรับนักเรียนที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เนื่องจากว่าในการเรียน วิทยาศาสตร์นั้นนักเรียนจะต้องรู้จักการแก้ปัญหา ตั้งสมมติฐาน การลงมือ ปฏิบัติ จัดกระทำาข้อมูลเพื่อรายงานผล เมื่อผู้เรียนอยากรู้ในเรื่องที่ตนเอง สนใจและจากการสังเกตนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ ในขณะทำาการ ทดลอง พบว่านักเรียนยังไม่สามารถใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ดีเท่าที่ควร เช่น นักเรียนตั้งปัญหา สมมติฐาน สรุปผลเพื่อนนำาเสนอไม่ ได้ และที่สำาคัญนักเรียนยังไม่สามารถวางแผนการทดลองด้วยตนเองได้ เนื่องจากขาดทักษะ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงทำาวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกและให้นักเรียนรู้จักการคิดอย่างเป็น ระบบและสามารถนำาไปใช้ศึกษาต่อในระดับสูงได้ ٢. วั ต ถุ ป ระสงค์ ١. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ดีขึ้น ٢. เพื่อให้นักเรียนรู้จักการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักแก้ปัญหาด้วย ตนเอง ٣. นักเรียนสามารถนำาไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับสูงได้ ٣. ขอบเขตการวิ จ ั ย ٣.١ วิจัยนักเรียนเรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์จากการทดลองในห้องปฏิบัติการและใช้แบบฝึกทักษะ กระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ ٣.٢ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา จำานวน ١١ คน
  • 4. ٣.٣ ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย คือ วันที่ ١ ก.ค. ٣١ – ٥٣ ก.ค. ٥٣ ٣.٤ สถานที่ คือ โรงเรียนเทพเสด็จวิทยา ٣.٥ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ตัวแปรตาม คือ นักเรียนยังใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไม่ดีเท่าที่ควร 4. นิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะ ทักษะ หมายถึง การฝึกฝนในสิ่งที่ตนเองสนใจจนเกิดความชำานาญ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ เป็นทักษะที่ใช้ในการเรียน วิทยาศาสตร์หรือการทดลอง ซึ่งมีทั้งหมด ١٣ ทักษะ ดังนี้ 1.ทักษะการกำาหนดและควบคุมตัวแปร การกำาหนดตัวแปร เป็นการชี้บงตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องการควบคุมใน ่ สมมติฐานหนึ่ง ๆ การควบคุมตัวแปร เป็นการควบคุมสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือ จากตัวแปรต้น ถ้าหากไม่ควบคุม ให้เหมือนๆ กัน ก็จะทำาให้ผลการ ทดลองคลาดเคลื่อน ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้แตกต่างกัน ซึ่งเป็นต้นเหตุ ทำาให้เกิด ผล ซึ่งเราคาดหวังว่าจะแตกต่างกัน ตัว แปรตาม คือ สิ่งที่เราต้องติดตามดู ซึ่งเป็นผลจากการจัดสถานการณ์ บางอย่าง ให้แตกต่างกัน ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราต้องควบคุมจัดให้เหมือนกันเพื่อให้แน่ใจว่า ผลการทดลอง เกิดจากตัวแปรต้นเท่านั้น 2.ทักษะการคำานวณ คือ การนับจำานวนของวัตถุและการนำา ตัวเลขแสดงจำานวนที่นบได้ มาคิดคำานวณโดยการบวก ลบ คูณ หาร ั หรือหาค่าเฉลี่ย 3.ทักษะการจัดทำาและสื่อความหมายข้อมูล เป็นการนำาผลการ สังเกต การวัด การทดลองจากแหล่งต่าง ๆ โดยการหาความถี่ เรียง
  • 5. ลำาดับ จัดแยกประเภท หรือคำานวณหาค่าใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความ หมาย ของข้อมูลดียิ่งขึ้น โดยอาจเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ และการเขียนบรรยาย 4.ทักษะการจำาแนกประเภท คือ การแบ่งพวก หรือเรียงลำาดับ วัตถุ หรือสิ่งที่อยู่ในปรากฏการณ์ โดยใช้เกณฑ์ ความเหมือน ความแตก ต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง 5.ทักษะการตั้งสมมติฐาน คือ การคิดหาคำาตอบล่วงหน้า ก่อน จะทำาการทดสองโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิม เป็นพื้น ฐานคำาตอบที่คิดล่วงหน้าซึ่งยังไม่ทราบ หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน สมมติฐาน หรือคำาตอบที่คิดไว้ลวงหน้า มักกล่าวไว้ ่ เป็นข้อความ ทีบอก ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้น กับตัวแปรตาม ่ สมมติฐานที่ตั้งไว้ อาจถูก หรือผิดก็ได้ ซึ่งจะทราบภายหลัง การทดลอง หาคำาตอบเพื่อสนับสนุน หรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้ 6.ทักษะการตีความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป การตีความ หมายข้อมูล คือ การแปรความหมาย หรือ การบรรยาย ลักษณะและ สมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ การลงข้อสรุป คือ การสรุปความสัมพันธ์ของ ข้อมูลทังหมด ้ 7.ทักษะการทดลอง มี 3 ประเภท คือ การทดลองแบบแบ่งกลุ่ม เปรียบเทียบ ไม่มีกลุ่ม เปรียบเทียบและลองผิดลองถูก การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำาตอบ หรือการทดสอบ สมมติฐานที่ ตั้งไว้ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติ การทดลองและการบันทึกผลการทดลอง 8.ทักษะการกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ คือ การกำาหนดความ หมายและขอบเขตของสิ่งต่าง ๆ (ที่อยูในสมมติฐานที่ต้องทดลอง) ให้ ่ เข้าใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวัดไว้ 9.ทักษะการพยากรณ์ คือ การสรุปคำาตอบล่วงหน้า ก่อนการ ทดลองโดยอาศัยประสบการณ์ ทีเกิดขึ้นซำ้า ๆ หลักการ กฎ หรือทฤษฎี ่ ที่มีอยูแล้วในเรื่องนั้น มาช่วยในการสรุป การพยากรณ์มีสองทาง คือ ่ การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลที่มีอยูและ การพยากรณ์นอก ่ ขอบเขตข้อมูลที่มีอยู่
  • 6. 10.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล คือ การเพิ่มความคิดเห็น ให้กับข้อมูลที่ได้จากากรสังเกตอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือ ประสบการณ์เดิมมาช่วย 11.ทักษะการวัด คือ การเลือกและการใช้เครื่องมือทำาการวัดหา ปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขทีแน่นอนได้อย่างเหมาะสม ่ และถูกต้อง โดยมีหน่วยกำากับเสมอ 12.ทักษะการสังเกต คือ ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อหาข้อมูล หรือรายละเอียดของ สิ่งต่าง ๆ โดยไม่เพิ่มความคิดเห็น ส่วนตัวลงไป 13.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ และมิติกับ เวลา วัตถุต่าง ๆ ในโลกนี้ จะทรงตัวอยู่ได้ ล้วนแต่ครองที่ทว่าง การ ี่ ครอง ที่ของวัตถุในทีว่างนั้น โดยทัวไปแล้วจะมี 2 มิติ ได้แก่ มิติยาว ่ ่ มิติกว้าง และมิติสูงหรือหนา 5. ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรืเพิ่มมากขึ้น และ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดจากการทดลองได้อย่างรวดเร็วและถูก ต้องแม่นยำา ٦. เอกสารที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมาคมความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์ (American Association for the Advancement of Science-AAAS) ได้กำาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ทั้งสิ้น 13 ทักษะ
  • 7. โดยจัดแบ่งออกเป็น 2 หมวด คือ 1) ทักษะพื้นฐาน หรือทักษะเบื้องต้น (Basic Science Process Skill) ประกอบด้วย 8 ทักษะ ได้แก่ ทักษะที่ 1-8 2) ทักษะขั้นบูรณาการ หรือ ทักษะเชิงซ้อน (Intergrated Science Process Skill) ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่ ทักษะ ที่ 9-13 ดังนั้นผู้วิจัยจึงจัดทำาชุดแบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะจำานวน ١١ ชุด พร้อมทั้งให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ ลงมือปฏิบัติ ทดลองในห้องปฏิบัติการภายในเวลา ١ ชั่วโมง ٧. วิ ธ ี ด ำ า เนิ น การวิ จ ั ย ٧.١ ประชากร/กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ จำานวน ١١ คน ٧.٢ เครื ่ อ งมื อ วิ จ ั ย ١. แบบฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ١٣ ทักษะ ٢. ทำาการทดลองในห้องปฏิบัติการ ٧.٣ วิ ธ ี ก ารเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล 1. ศึกษาเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยใช้ทักษะการ สังเกตขณะนักเรียนปฏิบัติการทดลอง ٢. ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ก่อนปฏิบัติการทดลอง ٣. นักเรียนปฏิบัติการทดลอง โดยครูอธิบายวิธีการทดลองให้ นักเรียน ٤. นักเรียนลงมือปฏิบัติการทดลอง โดยใช้เวลา ١ ชั่วโมง
  • 8. ٥. นักเรียนนำาผลการทดลองที่ได้มาจัดกระทำาข้อมูลให้เรียบร้อยนำา เสนอหน้าชั้นเรียน ٦. ครูให้คำาปรึกษาแนะนำาและให้ความรู้เพิ่มเติม ٧. หลังจากนักเรียนนำาเสนอหน้าชั้นเรียนแล้ว ให้นักเรียนทำาแบบทด สอลหลังเรียนชุดเดิม ٨. ครูนำาคะแนนสอบก่อน-หลังมาประมวลผล ٧.٤ วิ ธ ี ก ารวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล - วิเคราะห์เป็นร้อยละ โดยนำาคะแนนทดสอบก่อนหลังของนักเรียน แต่ละคนมาเปรียบเทียบดูพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียน - นำาผลที่ได้จากการวิจัยมาทำาเป็นกราฟเส้นแสดงผลความก้าวหน้า ของผู้เรียน ٨. เอกสารอ้ า งอิ ง สุวิมล ว่องวาณิช.٢٥٥٢.การวิ จ ั ย ปฏิ บ ั ต ิ ก ารในชั ้ น เรี ย น. พิมพ์ครั้งที่ ١٢ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 9. รัตนะ บัวสนธ์.(٢٥٥٢).การวิ จ ั ย และพั ฒ นานวั ต กรรมการ ศึ ก ษา.กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์คำาสมัย. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(٢ ٥٥٠).เอกสารการเรี ย นรู ้ ก ารทำ า วิ จ ั ย ด้ ว ยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ ١ กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ทิศนา แขมมณี.(٢٥٥٢).ศาสตร์ ส อนองค์ ค วามรู ้ เ พื ่ อ การ จั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ม ี ประสิ ท ธิ ภ าพ. พิมพ์ครั้งที่ ٩.กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ٩. ผลการวิ จ ั ย
  • 10. ผลจากการทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ จำานวน ١١ คน ได้ ผลดังนี้ ทดสอบ คิ ด ทดสอบ คิ ด เพิ ่ ม ลด ก่ อ นเรี ย น ค่ า หลั ง เรี ย น ค่ า ค่ า เป็ น เป็ น ขึ ้ น ลง ชื ่ อ – นามสกุ ล เฉลี ่ เฉลี ่ เฉลี ่ เต็ ม ١٠ ร้ อ ย เต็ ม ١٠ ร้ อ ย ร้ อ ย ร้ อ ย ย ย ย คะแนน ละ คะแนน ละ ละ ละ ด.ช.รัชกาล แสง ٢ ٢٠ ٠.٢ ٣ ٣٠ ٠.٣ ١٠ - ٠.١ แก้ว ด.ช. ธนวัฒน์ ٦ ٦٠ ٠.٦ ٧ ٧٠ ٠.٧ ١٠ - ٠.١ วรรณฤทธิ์ ด.ช.ณัฐพงษ์ เปรม ٢ ٢٠ ٠.٢ ٤ ٤٠ ٠.٤ ٢٠ - ٠.٢ จิตต์ชื่น ด.ช.เอกมล ٨ ٨٠ ٠.٨ ٨ ٨٠ ٠.٨ - - ٠.٠٠ เดชอุดม ด.ช.สุรศักดิ์ นาม ٦ ٦٠ ٠.٦ ٧ ٧٠ ٠.٧ ١٠ - ٠.١ สวาท ด.ญ.ศิริรัตน์ อุ่นลิ ٦ ٦٠ ٠.٦ ٧ ٧٠ ٠.٧ ١٠ - ٠.١ วรรณ์ ด.ญ.นุสรา ประ ١ ١٠ ٠.١ ٢ ٢٠ ٠.٢ ١٠ - ٠.١ วรรณเนย์ ด.ญ.ส้ม จิงตา ่ ٣ ٣٠ ٠.٣ ٤ ٤٠ ٠.٤ ١٠ - ٠.١ ด.ญ.พัชรินภรณ์ ٤ ٤٠ ٠.٤ ٥ ٥٠ ٠.٥ ١٠ - ٠.١ นาคบุญตัน ด.ญ.รุ่งนภา จิโน ٣ ٣٠ ٠.٣ ٤ ٤٠ ٠.٤ ١٠ - ٠.١ ด.ญ.วาสนา บุญ ٤ ٤٠ ٠.٤ ٥ ٥٠ ٠.٥ ١٠ - ٠.١ ผ่อง
  • 11. ผลการวิ จ ั ย ที ่ ไ ด้ จ ะนำ า มาวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล เป็ น กราฟเส้ น แสดง ค่ า คะแนน ร้ อ ยละ และค่ า เฉลี ่ ย ก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น ดั ง นี ้ ค่ า คะแนนทดสอบก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น ค่ า ร้ อ ยละก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น
  • 12. ค่ า เฉลี ่ ย ก่ อ นเรี ย น – หลั ง เรี ย น
  • 13. ١٠. สรุ ป ผลการวิ จ ั ย จากการวิจัยในครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ١ พบว่านักเรียนมี ความรู้ความสามารถในกระบวนการวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นร้อยละ ١٠ และมีนักเรียนบางคนที่ได้ค่าร้อยละเท่าเดิมทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน แสดงว่ามีความรู้ความสามารถเท่าเดิม ซึ่งค่าร้อยละเพิ่มที่สูงสุดและค่า เฉลี่ยสูงสุด คือ ร้อยละ ٤٠ คิดเป็นค่าเฉลี่ย ٠.٤ แสดงว่านักเรียนมีความรู้ ความสามารถอยู่ในระดับดีมากและค่าร้อยละเพิ่มที่ตำ่าสุดและค่าเฉลี่ยตำ่า สุด คือ ร้อยละ ١٠ คิดเป็นค่าเฉลี่ย ٠.١ แสดงว่านักเรียนมีความรู้ความ สามารถอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งผลจากการวิจัยนั้นทำาให้ผู้วิจัย สามารถนำาผลที่ได้ไปพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้ได้ในครั้งต่อไป ข้ อ เสนอแนะ ครูผู้สอนสามารถนำาชุดฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ไป ประยุกต์ใช้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นอื่นๆได้ ชุดฝึกทักษะ