SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
9. การจัด การด้า นการเงิน
ระหว่า งประเทศ

การดำาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ ย่อมต้องเกี่ยวข้อง
กับนโยบายทางด้านภาษีของแต่ละประเทศ และเงิน
ตราสกุลต่างๆที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการประกอบ
ธุรกิจระหว่างประเทศจึงต้องเผชิญกับภาวะความเสี่ยง
ทางด้านภาษีและการเงิน อันมีผลกระทบต่อผลการ
ดำาเนินงานและมูลค่าของกิจการ โดยความเสียงที่เกิด
่
ขึ้นอาจจะเป็นผลลัพธ์ในแง่บวกหรือแง่ลบต่อธุรกิจ ดัง
นั้น ผู้ประกอบกิจการธุรกิจระหว่างประเทศจึงจำาเป็น
ต้องกำาหนดกลยุทธ์ หรือ มีเครื่องมือในการป้องกัน
ความเสี่ยงให้ถูกต้องในแต่ละประเภท และรวมไปถึง
การระมัดระวังความเสียงที่อาจเกิดขึ้นกั1 การประกอบ
่
บ
โดยทั่วไปกิจการธุรกิจระหว่างประเทศมักจะ
พิจารณาปัจจัยต่างๆที่ทำาให้การจัดการด้านการเงิน
ระหว่างประเทศประสพความสำาเร็จในด้านต่างๆ
ดังนี้…
1. เพื่อให้เกิดกำาไรหลังหักภาษีรวมสูงสุด
2. เพื่อให้มีภาระภาษีตำ่าสุดในการดำาเนินกิจการทั่ว
โลก
3. เพื่อให้มีสถานะทางการเงินที่เหมะสมทั้งในด้าน
สภาพคล่องและแหล่งเงินทุน
จากวัตถุประสงค์ในความสำาเร็จด้านการจัดการการเงิน
ระหว่างประเทศทำาให้ กิจการต่างๆจะต้องมีภาระการ
บริหารการเงิน ดังนี้…
2
การโอนกำาไรระหว่างสำานักงานใหญ่กับสาขา หรือ
ระหว่างสาขากับสาขา มีวิธีต่างๆ ดังนี้...
• การกำาหนดราคาขายระหว่างกัน (Transfer Price)
• การขยายการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศ
ที่มีอัตราภาษีเงินได้ในอัตราตำ่าหรือไม่มีการเสียภาษี
เลย (Tax haven Country)
• การเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินทรัพย์และค่านิยมหรือภาพ
ลักษณ์ที่ดี
• การกระจายต้นทุนของสำานักงานใหญ่ไปที่สาขาใน
กรณีที่สาขาใช้บริการทางบริหารจากสำานักงานใหญ่
3
9.2 การบริห ารอัต ราแลกเปลี่ย น (Currency
Management) = เนื่องจากธุรกิจระหว่างประเทศ
จะต้องเกี่ยวข้องกับเงินตราสกุลต่างๆที่แตกต่างกัน
และจะมีความผันผวนอยู่ตลอดเวลา จึงทำาให้เกิดภาวะ
ความเสี่ยงในการดำาเนินธุรกิจขึ้น
9.3 การบริห ารความเสีย งทางการเงิน ที่เ กิด จาก
่
อัต ราแลกเปลี่ย น (Financial Risk From
Exchange Rate) แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้…
1. ความเสีย งทางธุร กรรมหรือ ความเสีย ง
่
่
ทางการค้า (Transaction Risk Exposure) =
เป็นความเสียงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลก
่
เปลี่ยนแล้วทำาให้มูลค่าของการซื้อขายสินค้าหรือ
บริการระหว่างประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงแตกต่าง
4
ความเสีย งทางธุร กรรม หรือ ความเสีย ง
่
่
ทางการค้า เกิด ขึ้น จากสาเหตุ ดัง ต่อ ไปนี้…
# การซื้อขายสินค้าหรือบริการระหว่างประเทศโดย
การให้เครดิตทางการค้าหรือซื้อขายกันเป็นเงินเชือ
่
# การกู้ยืมหรือชำาระคืนเงินกู้ที่เป็นเงินตราสกุลต่าง
ประเทศ
# การทำาสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า
ก่อนที่สัญญาล่วงหน้าจะถึงกำาหนดเวลา
# การได้มาซึ่งสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกิดขึ้นในรูปของ
เงินตราต่างประเทศ
5
 เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งทางธุร กรรม
่
หรือ ทางการค้า
• การทำา การหลีก เสีย งความเสีย งระหว่า งสาขา
่
่
หรือ บริษ ท ในเครือ (Intra- International
ั
Corporation Hedge) = เป็นการแลกเปลี่ยนเงิน
ตราระหว่างบริษัทในเครือ ซึ่งเป็นการหมุนเวียนของ
กระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศระหว่างสาขา
กับสาขาหรือระหว่างสาขากับสำานักงานใหญ่ที่มีการ
เชือมโยงเป็นเครือข่าย (Netting) อันจะทำาให้เกิด
่
ประโยชน์ในการลดปัญหาอัตราแลกเปลี่ยน
• การจัด ตัง หน่ว ยงานบริห ารการซือ ระหว่า ง
้
้
สาขา (Reinvoicing) = เป็นการจัดตั้งหน่วยงาน
6
• การกู้เ งิน แลกเปลีย นกับ กิจ การอื่น (Parallel
่
Loans) = เป็นการกู้ยืมเงินที่บริษัทแม่ของแต่ละ
ฝ่ายจะให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทสาขาของฝ่ายตรงข้าม
ในประเทศตนโดยไม่ผานตลาดแลกเปลี่ยนเงินตรา
่
มักจะทำากันระหว่างบริษัทในเครือเดียวกันและมี
บริษัทใหญ่คอยดูแลปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
• การทำา การซื้อ ขายเงิน ตราต่า งประเทศล่ว ง
หน้า (Forward Hedge) = เป็นการที่กิจการทำา
สัญญากับสถาบันทางการเงินหรือองค์กรอื่น ในการ
ที่จะแลกเปลี่ยนเงิน ณ อัตราแลกเปลี่ยนที่กำาหนดไว้
ในตลาดแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Future Market)
ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนที่กำาหนดไว้สงกว่าอัตราซื้อขาย
ู
ทันที (Spot Rate) จะก่อให้เกิดรายการส่วนเพิ่ม
7
• การใช้ก ลยุท ธ์ใ นการเร่ง และการชะลอการ
ชำา ระหนี้ (Lead and Lag)
Lead คือการที่กิจการคาดการณ์ว่าเงินสกุลท้องถิ่น
ของตนจะอ่อนตัวลงเมื่อเปรียบกับเงินสกุลของ
ประเทศเจ้าหนี้ ก็จะเร่งทำาการชำาระเงินคืนกลับให้
เร็วขึ้นกว่าที่กำาหนดไว้
Lag คือการที่กิจการคาดว่าเงินสกุลท้องถิ่นของตน
จะแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลของประเทศเจ้าหนี้
ก็จะถ่วงเวลาในการชำาระเงินให้ชาลงกว่าเวลาที่
้
กำาหนดไว้จนอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับที่ตนพอใจ
ซึ่งการเร่งและการชะลอการชำาระหนี้มักจะทำากัน
ระหว่างบริษัทในเครือ
8
2. ความเสีย งทางเศรษฐกิจ (Economic Risk
่
Exposure) = เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวน
ของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการขาดสภาพคล่อง
ของกิจการจึงต้องกู้เงินเพื่อรักษาสภาพคล่องทำาให้
กิจการมีภาระในการชำาระหนี้ในอนาคต หรือปัญหา
ทางเศรษฐกิจที่เกิดจากสภาวะเงินเฟ้อ มีผลทำาให้
กระแสเงินสดที่ได้รับจากการดำาเนินงานในอนาคต
เกิดการเปลี่ยนแปลง
ผลจากความเสี่ยงทางเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นกับยอดขาย
ต้นทุนของชินส่วนวัตถุดิบจากแหล่งต่างๆ สภาวะการ
้
แข่งขันของผลิตภัณฑ์ในตลาดแต่ละแห่ง จึงมีผลต่อ
ระดับกำาไรของกิจการและมูลค่าของกิจการในที่สุด
9
 เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งทางเศรษฐกิจ
่
• การผลิต ในหลากหลายประเทศ
(Diversification of Operations) =โดยผลิต
สินค้าชนิดเดียวกันจากหลายฐานการผลิตในหลาย
ประเทศ เพื่อป้องกันการลดค่าเงินอย่างกระทันหันหรือ
ค่าเงินแข็งเกินไปจะเป็นอุปสรรคแก่การส่งออกถ้ามี
ฐานการผลิตอยู่ในประเทศเดียว
• การหาแหล่ง เงิน ทุน จากหลากหลายประเทศ
Diversification of Financing) =โดยการกู้ยืม
เงินจากหลายประเทศเพื่อป้องกันการแข็งค่าของเงิน
จากประเทศที่กู้ยืมมาเพียงแห่งเดียว
10
3. ความเสีย งจากการแปลงค่า เงิน ของรายการ
่
ทางบัญ ชี (Translation Risk Exposure) =
เป็นความเสียงที่เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตรา
่
แลกเปลี่ยนแล้วทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของ
ทรัพย์สน หนี้สนในงบการเงินของบริษัทสาขาท้อง
ิ
ิ
ถิ่นซึ่งส่งไปยังบริษัทแม่หรือสำานักงานใหญ่
ความเสี่ยงนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณธุรกรรมระหว่าง
ประเทศของบริษัทสาขาท้องถิ่น ทำาเลที่ตั้งของบริษัท
สาขาท้องถิ่น และ วิธการหรือระบบบัญชีที่ใช้ในการ
ี
ปรับงบการเงิน ซึ่งมีอยู่ 2 วิธี คือ...
# การใช้อัตราปัจจุบัน หมายถึง อัตราที่ปรากฏในวัน
ที่ของงบการเงิน (Current Rate)
# การใช้อัตรา ณ วันที่เกิดรายการขึ้นจริ11
ง
 เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งจากการแปลงค่า
่
เงิน ของรายการทางบัญ ชี
• การทำา Balance Sheet Hedge = ซึ่งมีหลักการ
คือ บริษัทจะพยายามคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าว่า ความ
เสี่ยงจากการแปลงค่างบการเงินจะเกิดขึ้นเป็นจำานวน
เท่าไหร่และมีทิศทางใด จากนั้น จะทำาการบริหาร
ความเสี่ยงจากการแปลงค่างบการเงินด้วยการใช้
ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าโดยตกลงที่จะแลก
เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศตามจำานวนที่ระบุไว้ใน
ระยะเวลาที่กำาหนดไว้ เมื่อครบกำาหนดแล้ว จะมีการ
แลกเปลี่ยนกลับเป็นเงินสกุลเดิมตามจำานวนเงินเดิม
ซึ่งจะทำาให้บริษัทมีผลกำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนมา
ชดเชยกับการขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่างบการ
12

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Apichaya Savetvijit

สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับApichaya Savetvijit
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้วApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนานApichaya Savetvijit
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)Apichaya Savetvijit
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญApichaya Savetvijit
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.Apichaya Savetvijit
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าApichaya Savetvijit
 

Mehr von Apichaya Savetvijit (14)

สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้วเสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900   ปรับแล้ว
เสิ่นหยาง ฉางชุน-จี๋หลิน-ฮาร์บิน 6 d5n 28 ธ.ค.-2 ม.ค.(ox)34,900 ปรับแล้ว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนานหน่วยการเรียนรู้ที่  4  เส้นขนาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เส้นขนาน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ม.2
 
หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)หนังสือเชิญ (1)
หนังสือเชิญ (1)
 
หนังสือเชิญ
หนังสือเชิญหนังสือเชิญ
หนังสือเชิญ
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
อังกฤษ เวลส์-สก็อตแลนด์ 8 วัน (qr) ก.ค.-ธ.ค.
 
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้าเอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
เอกสารหมายเลข 6 ใบรับฝากขายสินค้า
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 

Lesson9

  • 1. 9. การจัด การด้า นการเงิน ระหว่า งประเทศ การดำาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ ย่อมต้องเกี่ยวข้อง กับนโยบายทางด้านภาษีของแต่ละประเทศ และเงิน ตราสกุลต่างๆที่แตกต่างกัน ดังนั้นในการประกอบ ธุรกิจระหว่างประเทศจึงต้องเผชิญกับภาวะความเสี่ยง ทางด้านภาษีและการเงิน อันมีผลกระทบต่อผลการ ดำาเนินงานและมูลค่าของกิจการ โดยความเสียงที่เกิด ่ ขึ้นอาจจะเป็นผลลัพธ์ในแง่บวกหรือแง่ลบต่อธุรกิจ ดัง นั้น ผู้ประกอบกิจการธุรกิจระหว่างประเทศจึงจำาเป็น ต้องกำาหนดกลยุทธ์ หรือ มีเครื่องมือในการป้องกัน ความเสี่ยงให้ถูกต้องในแต่ละประเภท และรวมไปถึง การระมัดระวังความเสียงที่อาจเกิดขึ้นกั1 การประกอบ ่ บ
  • 2. โดยทั่วไปกิจการธุรกิจระหว่างประเทศมักจะ พิจารณาปัจจัยต่างๆที่ทำาให้การจัดการด้านการเงิน ระหว่างประเทศประสพความสำาเร็จในด้านต่างๆ ดังนี้… 1. เพื่อให้เกิดกำาไรหลังหักภาษีรวมสูงสุด 2. เพื่อให้มีภาระภาษีตำ่าสุดในการดำาเนินกิจการทั่ว โลก 3. เพื่อให้มีสถานะทางการเงินที่เหมะสมทั้งในด้าน สภาพคล่องและแหล่งเงินทุน จากวัตถุประสงค์ในความสำาเร็จด้านการจัดการการเงิน ระหว่างประเทศทำาให้ กิจการต่างๆจะต้องมีภาระการ บริหารการเงิน ดังนี้… 2
  • 3. การโอนกำาไรระหว่างสำานักงานใหญ่กับสาขา หรือ ระหว่างสาขากับสาขา มีวิธีต่างๆ ดังนี้... • การกำาหนดราคาขายระหว่างกัน (Transfer Price) • การขยายการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศ ที่มีอัตราภาษีเงินได้ในอัตราตำ่าหรือไม่มีการเสียภาษี เลย (Tax haven Country) • การเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินทรัพย์และค่านิยมหรือภาพ ลักษณ์ที่ดี • การกระจายต้นทุนของสำานักงานใหญ่ไปที่สาขาใน กรณีที่สาขาใช้บริการทางบริหารจากสำานักงานใหญ่ 3
  • 4. 9.2 การบริห ารอัต ราแลกเปลี่ย น (Currency Management) = เนื่องจากธุรกิจระหว่างประเทศ จะต้องเกี่ยวข้องกับเงินตราสกุลต่างๆที่แตกต่างกัน และจะมีความผันผวนอยู่ตลอดเวลา จึงทำาให้เกิดภาวะ ความเสี่ยงในการดำาเนินธุรกิจขึ้น 9.3 การบริห ารความเสีย งทางการเงิน ที่เ กิด จาก ่ อัต ราแลกเปลี่ย น (Financial Risk From Exchange Rate) แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้… 1. ความเสีย งทางธุร กรรมหรือ ความเสีย ง ่ ่ ทางการค้า (Transaction Risk Exposure) = เป็นความเสียงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลก ่ เปลี่ยนแล้วทำาให้มูลค่าของการซื้อขายสินค้าหรือ บริการระหว่างประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงแตกต่าง 4
  • 5. ความเสีย งทางธุร กรรม หรือ ความเสีย ง ่ ่ ทางการค้า เกิด ขึ้น จากสาเหตุ ดัง ต่อ ไปนี้… # การซื้อขายสินค้าหรือบริการระหว่างประเทศโดย การให้เครดิตทางการค้าหรือซื้อขายกันเป็นเงินเชือ ่ # การกู้ยืมหรือชำาระคืนเงินกู้ที่เป็นเงินตราสกุลต่าง ประเทศ # การทำาสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ก่อนที่สัญญาล่วงหน้าจะถึงกำาหนดเวลา # การได้มาซึ่งสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกิดขึ้นในรูปของ เงินตราต่างประเทศ 5
  • 6.  เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งทางธุร กรรม ่ หรือ ทางการค้า • การทำา การหลีก เสีย งความเสีย งระหว่า งสาขา ่ ่ หรือ บริษ ท ในเครือ (Intra- International ั Corporation Hedge) = เป็นการแลกเปลี่ยนเงิน ตราระหว่างบริษัทในเครือ ซึ่งเป็นการหมุนเวียนของ กระแสเงินสดที่เป็นเงินตราต่างประเทศระหว่างสาขา กับสาขาหรือระหว่างสาขากับสำานักงานใหญ่ที่มีการ เชือมโยงเป็นเครือข่าย (Netting) อันจะทำาให้เกิด ่ ประโยชน์ในการลดปัญหาอัตราแลกเปลี่ยน • การจัด ตัง หน่ว ยงานบริห ารการซือ ระหว่า ง ้ ้ สาขา (Reinvoicing) = เป็นการจัดตั้งหน่วยงาน 6
  • 7. • การกู้เ งิน แลกเปลีย นกับ กิจ การอื่น (Parallel ่ Loans) = เป็นการกู้ยืมเงินที่บริษัทแม่ของแต่ละ ฝ่ายจะให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทสาขาของฝ่ายตรงข้าม ในประเทศตนโดยไม่ผานตลาดแลกเปลี่ยนเงินตรา ่ มักจะทำากันระหว่างบริษัทในเครือเดียวกันและมี บริษัทใหญ่คอยดูแลปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น • การทำา การซื้อ ขายเงิน ตราต่า งประเทศล่ว ง หน้า (Forward Hedge) = เป็นการที่กิจการทำา สัญญากับสถาบันทางการเงินหรือองค์กรอื่น ในการ ที่จะแลกเปลี่ยนเงิน ณ อัตราแลกเปลี่ยนที่กำาหนดไว้ ในตลาดแลกเปลี่ยนล่วงหน้า (Future Market) ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนที่กำาหนดไว้สงกว่าอัตราซื้อขาย ู ทันที (Spot Rate) จะก่อให้เกิดรายการส่วนเพิ่ม 7
  • 8. • การใช้ก ลยุท ธ์ใ นการเร่ง และการชะลอการ ชำา ระหนี้ (Lead and Lag) Lead คือการที่กิจการคาดการณ์ว่าเงินสกุลท้องถิ่น ของตนจะอ่อนตัวลงเมื่อเปรียบกับเงินสกุลของ ประเทศเจ้าหนี้ ก็จะเร่งทำาการชำาระเงินคืนกลับให้ เร็วขึ้นกว่าที่กำาหนดไว้ Lag คือการที่กิจการคาดว่าเงินสกุลท้องถิ่นของตน จะแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลของประเทศเจ้าหนี้ ก็จะถ่วงเวลาในการชำาระเงินให้ชาลงกว่าเวลาที่ ้ กำาหนดไว้จนอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ในระดับที่ตนพอใจ ซึ่งการเร่งและการชะลอการชำาระหนี้มักจะทำากัน ระหว่างบริษัทในเครือ 8
  • 9. 2. ความเสีย งทางเศรษฐกิจ (Economic Risk ่ Exposure) = เป็นความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการขาดสภาพคล่อง ของกิจการจึงต้องกู้เงินเพื่อรักษาสภาพคล่องทำาให้ กิจการมีภาระในการชำาระหนี้ในอนาคต หรือปัญหา ทางเศรษฐกิจที่เกิดจากสภาวะเงินเฟ้อ มีผลทำาให้ กระแสเงินสดที่ได้รับจากการดำาเนินงานในอนาคต เกิดการเปลี่ยนแปลง ผลจากความเสี่ยงทางเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นกับยอดขาย ต้นทุนของชินส่วนวัตถุดิบจากแหล่งต่างๆ สภาวะการ ้ แข่งขันของผลิตภัณฑ์ในตลาดแต่ละแห่ง จึงมีผลต่อ ระดับกำาไรของกิจการและมูลค่าของกิจการในที่สุด 9
  • 10.  เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งทางเศรษฐกิจ ่ • การผลิต ในหลากหลายประเทศ (Diversification of Operations) =โดยผลิต สินค้าชนิดเดียวกันจากหลายฐานการผลิตในหลาย ประเทศ เพื่อป้องกันการลดค่าเงินอย่างกระทันหันหรือ ค่าเงินแข็งเกินไปจะเป็นอุปสรรคแก่การส่งออกถ้ามี ฐานการผลิตอยู่ในประเทศเดียว • การหาแหล่ง เงิน ทุน จากหลากหลายประเทศ Diversification of Financing) =โดยการกู้ยืม เงินจากหลายประเทศเพื่อป้องกันการแข็งค่าของเงิน จากประเทศที่กู้ยืมมาเพียงแห่งเดียว 10
  • 11. 3. ความเสีย งจากการแปลงค่า เงิน ของรายการ ่ ทางบัญ ชี (Translation Risk Exposure) = เป็นความเสียงที่เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตรา ่ แลกเปลี่ยนแล้วทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของ ทรัพย์สน หนี้สนในงบการเงินของบริษัทสาขาท้อง ิ ิ ถิ่นซึ่งส่งไปยังบริษัทแม่หรือสำานักงานใหญ่ ความเสี่ยงนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณธุรกรรมระหว่าง ประเทศของบริษัทสาขาท้องถิ่น ทำาเลที่ตั้งของบริษัท สาขาท้องถิ่น และ วิธการหรือระบบบัญชีที่ใช้ในการ ี ปรับงบการเงิน ซึ่งมีอยู่ 2 วิธี คือ... # การใช้อัตราปัจจุบัน หมายถึง อัตราที่ปรากฏในวัน ที่ของงบการเงิน (Current Rate) # การใช้อัตรา ณ วันที่เกิดรายการขึ้นจริ11 ง
  • 12.  เครื่อ งมือ ป้อ งกัน ความเสีย งจากการแปลงค่า ่ เงิน ของรายการทางบัญ ชี • การทำา Balance Sheet Hedge = ซึ่งมีหลักการ คือ บริษัทจะพยายามคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าว่า ความ เสี่ยงจากการแปลงค่างบการเงินจะเกิดขึ้นเป็นจำานวน เท่าไหร่และมีทิศทางใด จากนั้น จะทำาการบริหาร ความเสี่ยงจากการแปลงค่างบการเงินด้วยการใช้ ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าโดยตกลงที่จะแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศตามจำานวนที่ระบุไว้ใน ระยะเวลาที่กำาหนดไว้ เมื่อครบกำาหนดแล้ว จะมีการ แลกเปลี่ยนกลับเป็นเงินสกุลเดิมตามจำานวนเงินเดิม ซึ่งจะทำาให้บริษัทมีผลกำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนมา ชดเชยกับการขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่างบการ 12