SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
        การพัฒนาทักษะการบวก การลบ จานวนเต็ม
          โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี
                   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
              ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2554



                           โดย
              นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
                         ครู คศ.2


โรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์
     สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน


ชื่อเรื่องการวิจัย
           การพัฒนาทักษะการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี
ชื่ อผู้วจัย นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ตาแหน่ ง ครู คศ.2 โรงเรียน หนองแวงวิทยาคม
         ิ
ตาบลผักไหม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
ลักษณะปัญหา
ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในรายวิชาคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค31102
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เรื่ อง จานวนจริ ง จากการเรี ยนการแก้สมการกาลังสองตัว
แปรเดียว พบว่า นักเรี ยนมีปัญหาเกี่ยวกับการบวกและการลบจานวนเต็มเนื่องจากเป็ นส่ วนหนึ่งใน
การแยกตัวประกอบ คือ คาตอบของนักเรี ยนถูกต้องค่อนข้างน้อย จากการสังเกตและสอบถาม
นักเรี ยน ก็พบว่านักเรี ยนยังไม่เข้าใจรู ปแบบวิธีการตามข้อตกลง
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
       เพื่อพัฒนาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบ จานวนเต็ม นาไปใช้ในการแก้สมการกาลัง
                     ั         ั
สองตัวแปรเดียว ได้
เทคนิคทีใช้ ในการแก้ปัญหา
        ่
           ใช้รูปแบบโมเดลการดาเนินการทางคณิ ตโดยกาหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้
                     แทนจานวนเต็มบวก แทนจานวนเต็มลบ
         ข้ อตกลงเบืองต้ น
                    ้
               1. ถ้าสัญลักษณ์     มีค่าแทนด้วย 1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน
ให้นาค่ามาร่ วมกัน
               2. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย -1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน
ให้นาค่ามาร่ วมกัน
               3. ถ้าสัญลักษณ์ต่างสี กนจับคู่กนแต่ละคู่ให้มีค่าเป็ น 0
                                      ั       ั
การใช้งานดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ 6 + (-3)




ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น
                             ั            ั




เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี เขียว 3 รู ป ดังนั้น 6 + (-3) มีผลลัพธ์เป็ น 3
            ั
หรื อ 6 + (-3) = 3

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ 1 + (-4)



ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น
                             ั            ั




เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี แสด 3 รู ป ดังนั้น 1 + (-4) มีผลลัพธ์เป็ น -3
            ั
หรื อ 1 + (-4) = -3


ช่ วงเวลาในการแก้ปัญหา
ดาเนินการระหว่างวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554
วิธีการวิจัย
        1. ให้นกเรี ยนศึกษารู ปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี และข้อตกลงในการใช้รูปแบบ
               ั
โมเดลความสัมพันธ์ของสี
          2. ให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะจานวน 2 ชุด ได้แก่ แบบฝึ กทักษะที่ 1
                 ั
เรื่ อง การบวกจานวนเต็ม และแบบฝึ กทักษะที่ 2 เรื่ องการลบจานวนเต็ม
3. วิธีรวบรวมข้อมูล หลังจากที่ครู            ให้นกเรี ยนฝึ กทักษะการบวก และการลบจานวนเต็ม
                                                 ั
ในแบบฝึ กทักษะ โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี แล้วตรวจให้คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์
ดังนี้
          ร้อยละ 80 ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก
          ร้อยละ 70       – 79 หมายถึง ดี
          ร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง
          ร้อยละ 50       – 59 หมายถึง พอใช้
          ต่ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ปรับปรุ ง
4.              วิธีวเิ คราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 80 คน
                               ้
มาตรวจสอบทักษะการบวกและการลบของนักเรี ยน
5              . ผลการวิเคราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กหัดทักษะของนักเรี ยนมาจาแนก แล้วคิดเป็ นร้อยละได้
                                ้
ดังนี้
                นักเรี ยนจานวน 10 คน ได้ระดับ ปรับปรุ ง               คิดเป็ นร้อยละ 12.50
                นักเรี ยนจานวน 15 คน        ได้ระดับ พอใช้            คิดเป็ นร้อยละ 18.75
          นักเรี ยนจานวน 18 คน ได้ระดับ ปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 22.50
                นักเรี ยนจานวน 25 คน ได้ระดับ ดี                      คิดเป็ นร้อยละ 31.25
                นักเรี ยนจานวน 12 คน ได้ระดับ ดีเยียม
                                                   ่                  คิดเป็ นร้อยละ 15
ข้ อสั งเกตหรือข้ อเสนอแนะ
        1 . จากการตรวจแบบฝึ กทักษะการบวกและการลบจานวนเต็ม พบว่าการใช้รูปแบบโมเดล
ความสัมพันธ์ของสี ทาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบดีข้ ึนมากกว่าเดิม และสามารถทาได้รวดเร็ ว
                        ั         ั
ถูกต้อง
         2. จากการใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ในช่วงการเรี ยนจะทาให้ชาบ้าง
                                                                         ้
เมื่อนักเรี ยนเกิดความชานาญจะทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดผลดีแก่นกเรี ยน
                                                                               ั
                                 ่
         3. สาหรับนักเรี ยนที่อยูในระดับพอใช้และปรับปรุ งความให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ
                                                                 ั
อีก 3-5 ชุด เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความชานาญในการบวก การลบจานวนเต็มแล้วทาการประเมิน
                     ั
ทักษะการบวก การลบจานวนเต็มอีกครั้ง

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยguest41395d
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4Jiraporn Kru
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยrorsuelee
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 

Was ist angesagt? (20)

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
Cover of research
Cover of research Cover of research
Cover of research
 
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
บทคัดย่อ บทเรียนสำเร็จรูปคณิตศาสตร์
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 

Andere mochten auch

วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54 แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54 สมใจ จันสุกสี
 
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55สมใจ จันสุกสี
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57Khemjira Plongsawai
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียน
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียนโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียน
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียนสมใจ จันสุกสี
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีguest65361fd
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นอนันตชัย แปดเจริญ
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2Aon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 

Andere mochten auch (20)

วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54 แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม3 ปี 54
 
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55
แบบวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต วิชาภาษาอังกฤษ ม.3 ปี 55
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
การอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญการอ่านจับใจความสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญ
 
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียน
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียนโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียน
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการอาเซียน
 
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินีวิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
วิทยากรวิจัยชั้นเรียนสถาบันวิจัย[1].สุธาสินี
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็นบทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
Math(1)
Math(1)Math(1)
Math(1)
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียน

ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วนmakotosuwan
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้Noir Black
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docamppbbird
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestbf0238
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดtassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie วิจัยในชั้นเรียน (20)

Ar
ArAr
Ar
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
คณิต ป.6
คณิต ป.6คณิต ป.6
คณิต ป.6
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 

Mehr von Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mehr von Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

วิจัยในชั้นเรียน

  • 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาทักษะการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 โดย นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ครู คศ.2 โรงเรี ยนหนองแวงวิทยาคม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่องการวิจัย การพัฒนาทักษะการบวก การลบ จานวนเต็ม โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ชื่ อผู้วจัย นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ตาแหน่ ง ครู คศ.2 โรงเรียน หนองแวงวิทยาคม ิ ตาบลผักไหม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ลักษณะปัญหา ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนในรายวิชาคณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 3 เรื่ อง จานวนจริ ง จากการเรี ยนการแก้สมการกาลังสองตัว แปรเดียว พบว่า นักเรี ยนมีปัญหาเกี่ยวกับการบวกและการลบจานวนเต็มเนื่องจากเป็ นส่ วนหนึ่งใน การแยกตัวประกอบ คือ คาตอบของนักเรี ยนถูกต้องค่อนข้างน้อย จากการสังเกตและสอบถาม นักเรี ยน ก็พบว่านักเรี ยนยังไม่เข้าใจรู ปแบบวิธีการตามข้อตกลง วัตถุประสงค์ ของการวิจัย เพื่อพัฒนาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบ จานวนเต็ม นาไปใช้ในการแก้สมการกาลัง ั ั สองตัวแปรเดียว ได้ เทคนิคทีใช้ ในการแก้ปัญหา ่ ใช้รูปแบบโมเดลการดาเนินการทางคณิ ตโดยกาหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ แทนจานวนเต็มบวก แทนจานวนเต็มลบ ข้ อตกลงเบืองต้ น ้ 1. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย 1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน ให้นาค่ามาร่ วมกัน 2. ถ้าสัญลักษณ์ มีค่าแทนด้วย -1 และในกรณี ท่ีมีสัญลักษณ์เหมือนกัน ให้นาค่ามาร่ วมกัน 3. ถ้าสัญลักษณ์ต่างสี กนจับคู่กนแต่ละคู่ให้มีค่าเป็ น 0 ั ั
  • 3. การใช้งานดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของ 6 + (-3) ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น ั ั เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี เขียว 3 รู ป ดังนั้น 6 + (-3) มีผลลัพธ์เป็ น 3 ั หรื อ 6 + (-3) = 3 ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวกของ 1 + (-4) ตามข้อตกลงที่ 3 วงกลมต่างสี กนเราจะจับคู่กน แล้วมีค่าเป็ น 0 ดังนั้น ั ั เมื่อจับคู่กนแล้วจะเหลือวงกลมสี แสด 3 รู ป ดังนั้น 1 + (-4) มีผลลัพธ์เป็ น -3 ั หรื อ 1 + (-4) = -3 ช่ วงเวลาในการแก้ปัญหา ดาเนินการระหว่างวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554
  • 4. วิธีการวิจัย 1. ให้นกเรี ยนศึกษารู ปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี และข้อตกลงในการใช้รูปแบบ ั โมเดลความสัมพันธ์ของสี 2. ให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะจานวน 2 ชุด ได้แก่ แบบฝึ กทักษะที่ 1 ั เรื่ อง การบวกจานวนเต็ม และแบบฝึ กทักษะที่ 2 เรื่ องการลบจานวนเต็ม 3. วิธีรวบรวมข้อมูล หลังจากที่ครู ให้นกเรี ยนฝึ กทักษะการบวก และการลบจานวนเต็ม ั ในแบบฝึ กทักษะ โดยใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี แล้วตรวจให้คะแนน โดยกาหนดเกณฑ์ ดังนี้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก ร้อยละ 70 – 79 หมายถึง ดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง ร้อยละ 50 – 59 หมายถึง พอใช้ ต่ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ปรับปรุ ง 4. วิธีวเิ คราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กทักษะของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 80 คน ้ มาตรวจสอบทักษะการบวกและการลบของนักเรี ยน 5 . ผลการวิเคราะห์ขอมูล นาแบบฝึ กหัดทักษะของนักเรี ยนมาจาแนก แล้วคิดเป็ นร้อยละได้ ้ ดังนี้ นักเรี ยนจานวน 10 คน ได้ระดับ ปรับปรุ ง คิดเป็ นร้อยละ 12.50 นักเรี ยนจานวน 15 คน ได้ระดับ พอใช้ คิดเป็ นร้อยละ 18.75 นักเรี ยนจานวน 18 คน ได้ระดับ ปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 22.50 นักเรี ยนจานวน 25 คน ได้ระดับ ดี คิดเป็ นร้อยละ 31.25 นักเรี ยนจานวน 12 คน ได้ระดับ ดีเยียม ่ คิดเป็ นร้อยละ 15
  • 5. ข้ อสั งเกตหรือข้ อเสนอแนะ 1 . จากการตรวจแบบฝึ กทักษะการบวกและการลบจานวนเต็ม พบว่าการใช้รูปแบบโมเดล ความสัมพันธ์ของสี ทาให้นกเรี ยนมีทกษะการบวก การลบดีข้ ึนมากกว่าเดิม และสามารถทาได้รวดเร็ ว ั ั ถูกต้อง 2. จากการใช้รูปแบบโมเดลความสัมพันธ์ของสี ในช่วงการเรี ยนจะทาให้ชาบ้าง ้ เมื่อนักเรี ยนเกิดความชานาญจะทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดผลดีแก่นกเรี ยน ั ่ 3. สาหรับนักเรี ยนที่อยูในระดับพอใช้และปรับปรุ งความให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กทักษะ ั อีก 3-5 ชุด เพื่อให้นกเรี ยนเกิดความชานาญในการบวก การลบจานวนเต็มแล้วทาการประเมิน ั ทักษะการบวก การลบจานวนเต็มอีกครั้ง