SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะสถานะหรือ
เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้สื่อสาร แปลความหมายและ
ประมวลผล ซึ่งอาจทาด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าลักษณะของข้อมูล เช่น
ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ อีเมล สี สัญลักษณ์ รูปทรง อุณหภูมิ ตัวโน้ต และเสียง
การดาเนินชีวิตประจาวันของทุกคนเกี่ยวข้องกับข้อมูลคลอดเวลา อาจเป็นผู้ให้
ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และเป็นผู้ประมวลผล ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ตัวอย่างเช่น
เมื่อนักเรียนกรอกรายละเอียดส่วนตัวลงในเอกสารเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษ และทางโรงเรียนได้
นาข้อมูลเหล่านั้นไปพิจารณาคัดเลือกผู้สมัคร โดยอาจมีการแบ่งกลุ่มตามเพศและอายุ จะเห็นได้
ว่านักเรียนเป็นผู้ให้ข้อมูล หน่วยทะเบียนเป็นผู้ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่นาไปใช้งานได้
และคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจ
อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล
ที่มา http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit02.1
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล
ข้อมูล ได้เป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ที่
สนใจ มีความน่าเชื่อถือ มีความหมาย มีคุณค่า และเป็นประโยชน์สาหรับผู้ใช้
เช่น เมื่อต้องการนาสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนการขาย สารสนเทศที่ต้องการ
ควรจะเป็นรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในปีที่ผ่านมาที่เพียงพอแก่การตัดสินใจ
ตัวอย่างสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผล
การประมวลผลสารสนเทศ
หมายถึง การดาเนินการต่าง ๆ กับข้อมูล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์
ต่อการนาไปใช้งานมากยิ่งขึ้น เช่น การรวบรวมข้อมูล
การคานวณ การค้นคืน การแสดงผล การสาเนาข้อมูล
ชนิดของข้อมูลแบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลที่แบ่งตามแหล่งที่มา มี 2 ชนิด คือ
1) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)
ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลชั้นต้นที่ได้มาจาก
แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลนักเรียนที่ได้มาจากการตอบแบบสอบถาม การสารวจ การสัมภาษณ์
การวัด การสังเกต การทดลอง ข้อมูลสินค้าที่ได้จากการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ข้อมูลบัตรเอทีเอ็มที่ได้
จากเครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นปัจจุบันมากกว่าข้อมูล
ทุติยภูมิ
2) ข้อมูลทุตยภูมิ (secondary data)
ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้แล้ว โดยมีผู้ใดผู้หนึ่ง หรือ
หน่วยงานได้ทาการเก็บรวบรวมหรือเรียบเรียงไว้ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นสามารถนามาใช้อ้างอิงได้เลย เช่น
ข้อมูลสามะโนประชากร สามารถอ้างอิงได้จากสานักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปริมาณน้าฝนจากกรม
ผลประทาน ข้อมูลสถิติต่าง ๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย และบันทึกการนิเทศ
การที่จะตัดสินใจว่าข้อมูลไหนเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมินั้น มีหลักสังเกต
คือ ถ้าเป็นข้อมูลปฐมภูมิจะต้องเป็นข้อมูลที่ผู้เขียนหรือผู้ประเมินผลได้พบเหตุการณ์ต่าง ๆ ลงมือ
สารวจศึกษาค้นคว้าหรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเริ่มแรกด้วยตนเอง มิได้คัดลอกมาจากผู้อื่น แต่
ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้คัดลอกมาจากบุคคลอื่น แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ ถือว่าเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
ชนิดของข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูล
ข้อมูลมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามลักษณะและแหล่งกาเนิดของข้อมูล เพื่อให้สามารถ
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลจาเป็นต้องมีการแทนข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ใน
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
ข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูลได้เป็น 2 ชนิด คือ
1) ข้อมูลชนิดจานวน (numberic data) หมายถึง ข้อมูลที่สามารถนาไป
คานวณได้ ข้อมูลชนิดนี้มี 2 รูปแบบ คือ
 จานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137, -46
 ทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจานวนเต็ม เช่น
12.0 หรือเป็นจานวนที่มีทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763
ทศนิยมนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
 แบบที่ใช้กันทั่วไป เช่น 9.0, 17.63, 119.3267, -17.34
 แบบที่ใช้ในงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น
4101230 ซึ่งหมายถึง 1230000.0
31013.76 ซึ่งหมายถึง .01376
2101764.0-  ซึ่งหมายถึง -176400.0
-2101764.0-  ซึ่งหมายถึง -17.64
ตัวอย่างข้อมูลชนิดจานวน เช่น อายุของนักเรียน น้าหนัก ส่วนสูง และคะแนนเฉลี่ย
2) ข้อมูลชนิดอักขระ (character data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถนาไป
คานวณได้แต่อาจนาไปเรียงลาดับได้ ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ
เครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 17110, &76
ตัวอย่างข้อมูลชนิดอักขระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์
ลักษณะของข้อมูลที่ดี ต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. มีความถูกต้องและแม่นยา
2. มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ
3. มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน
4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
5. ปราศจากความลาเอียงหรืออคติ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศMilkSick
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)phatrinn555
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศRattana234
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศpornpan36
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 

Was ist angesagt? (18)

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Andere mochten auch

Literate Environment Analysis
Literate Environment AnalysisLiterate Environment Analysis
Literate Environment AnalysisSarah Smith
 
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016 Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016 Geteasybike
 
Selvbetjening vs personlig service terra
Selvbetjening vs personlig service terraSelvbetjening vs personlig service terra
Selvbetjening vs personlig service terraCecilie Tveter
 
Moon & Chen (2014) - The Power to Control Time
Moon & Chen (2014) - The Power to Control TimeMoon & Chen (2014) - The Power to Control Time
Moon & Chen (2014) - The Power to Control TimeBrenna Alexander
 
Goodyear, Arizona Information
Goodyear, Arizona InformationGoodyear, Arizona Information
Goodyear, Arizona InformationElise Fay
 
The New LACF.
The New LACF.The New LACF.
The New LACF.00Dangit
 
Agile Testing - Software Testing Club
Agile Testing - Software Testing ClubAgile Testing - Software Testing Club
Agile Testing - Software Testing ClubAngel Nuñez
 

Andere mochten auch (12)

Literate Environment Analysis
Literate Environment AnalysisLiterate Environment Analysis
Literate Environment Analysis
 
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016 Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016
Geteasybike_FORUMPA CALL4IDEAS2016
 
Selvbetjening vs personlig service terra
Selvbetjening vs personlig service terraSelvbetjening vs personlig service terra
Selvbetjening vs personlig service terra
 
Moon & Chen (2014) - The Power to Control Time
Moon & Chen (2014) - The Power to Control TimeMoon & Chen (2014) - The Power to Control Time
Moon & Chen (2014) - The Power to Control Time
 
Goodyear, Arizona Information
Goodyear, Arizona InformationGoodyear, Arizona Information
Goodyear, Arizona Information
 
The New LACF.
The New LACF.The New LACF.
The New LACF.
 
Escuela de frankfurt
Escuela de frankfurtEscuela de frankfurt
Escuela de frankfurt
 
Agile Testing - Software Testing Club
Agile Testing - Software Testing ClubAgile Testing - Software Testing Club
Agile Testing - Software Testing Club
 
amr_AA-651-Offenburg_201208.xls.pdf
amr_AA-651-Offenburg_201208.xls.pdfamr_AA-651-Offenburg_201208.xls.pdf
amr_AA-651-Offenburg_201208.xls.pdf
 
Manual GCE-X-THL-EXT
Manual GCE-X-THL-EXTManual GCE-X-THL-EXT
Manual GCE-X-THL-EXT
 
Manual GCE-X-4VR
Manual GCE-X-4VRManual GCE-X-4VR
Manual GCE-X-4VR
 
Presseinformation CBF1000F 05-07-12.pdf
Presseinformation CBF1000F 05-07-12.pdfPresseinformation CBF1000F 05-07-12.pdf
Presseinformation CBF1000F 05-07-12.pdf
 

Ähnlich wie ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูnarongsak promwang
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2BoOm mm
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้Saipanyarangsit School
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูลความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูลNumber Utopie
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศManasawin_Panluadthai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศManasawin_Panluadthai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2Oat_zestful
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศManasawin_Panluadthai
 

Ähnlich wie ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล (20)

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครู
 
ความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูลความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูล
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
Unit033
Unit033Unit033
Unit033
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูลความหมายของข้อมูล
ความหมายของข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2ข้อมูลและสารสนเทศ2
ข้อมูลและสารสนเทศ2
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Mehr von Angkan Mahawan

ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรAngkan Mahawan
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองAngkan Mahawan
 

Mehr von Angkan Mahawan (16)

ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
 
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูลใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
 
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
 
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล

  • 1. ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่แสดงถึงลักษณะสถานะหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยอยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมในการใช้สื่อสาร แปลความหมายและ ประมวลผล ซึ่งอาจทาด้วยคนหรือคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าลักษณะของข้อมูล เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ อีเมล สี สัญลักษณ์ รูปทรง อุณหภูมิ ตัวโน้ต และเสียง การดาเนินชีวิตประจาวันของทุกคนเกี่ยวข้องกับข้อมูลคลอดเวลา อาจเป็นผู้ให้ ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ และเป็นผู้ประมวลผล ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ ตัวอย่างเช่น เมื่อนักเรียนกรอกรายละเอียดส่วนตัวลงในเอกสารเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษ และทางโรงเรียนได้ นาข้อมูลเหล่านั้นไปพิจารณาคัดเลือกผู้สมัคร โดยอาจมีการแบ่งกลุ่มตามเพศและอายุ จะเห็นได้ ว่านักเรียนเป็นผู้ให้ข้อมูล หน่วยทะเบียนเป็นผู้ประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่นาไปใช้งานได้ และคณะกรรมการพิจารณาเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล ที่มา http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit02.1
  • 2. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ข้อมูล ได้เป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ที่ สนใจ มีความน่าเชื่อถือ มีความหมาย มีคุณค่า และเป็นประโยชน์สาหรับผู้ใช้ เช่น เมื่อต้องการนาสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนการขาย สารสนเทศที่ต้องการ ควรจะเป็นรายงานสรุปยอดการขายแต่ละเดือนในปีที่ผ่านมาที่เพียงพอแก่การตัดสินใจ ตัวอย่างสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผล
  • 3. การประมวลผลสารสนเทศ หมายถึง การดาเนินการต่าง ๆ กับข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย และมีประโยชน์ ต่อการนาไปใช้งานมากยิ่งขึ้น เช่น การรวบรวมข้อมูล การคานวณ การค้นคืน การแสดงผล การสาเนาข้อมูล ชนิดของข้อมูลแบ่งตามแหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลที่แบ่งตามแหล่งที่มา มี 2 ชนิด คือ 1) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลชั้นต้นที่ได้มาจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลนักเรียนที่ได้มาจากการตอบแบบสอบถาม การสารวจ การสัมภาษณ์ การวัด การสังเกต การทดลอง ข้อมูลสินค้าที่ได้จากการใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด ข้อมูลบัตรเอทีเอ็มที่ได้ จากเครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก ข้อมูลที่ได้จะมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นปัจจุบันมากกว่าข้อมูล ทุติยภูมิ 2) ข้อมูลทุตยภูมิ (secondary data) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้แล้ว โดยมีผู้ใดผู้หนึ่ง หรือ หน่วยงานได้ทาการเก็บรวบรวมหรือเรียบเรียงไว้ ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นสามารถนามาใช้อ้างอิงได้เลย เช่น ข้อมูลสามะโนประชากร สามารถอ้างอิงได้จากสานักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปริมาณน้าฝนจากกรม ผลประทาน ข้อมูลสถิติต่าง ๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย และบันทึกการนิเทศ การที่จะตัดสินใจว่าข้อมูลไหนเป็นข้อมูลปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมินั้น มีหลักสังเกต คือ ถ้าเป็นข้อมูลปฐมภูมิจะต้องเป็นข้อมูลที่ผู้เขียนหรือผู้ประเมินผลได้พบเหตุการณ์ต่าง ๆ ลงมือ
  • 4. สารวจศึกษาค้นคว้าหรือเป็นการแสดงความคิดเห็นเริ่มแรกด้วยตนเอง มิได้คัดลอกมาจากผู้อื่น แต่ ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้คัดลอกมาจากบุคคลอื่น แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ ถือว่าเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ชนิดของข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูล ข้อมูลมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามลักษณะและแหล่งกาเนิดของข้อมูล เพื่อให้สามารถ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลจาเป็นต้องมีการแทนข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ข้อมูลแบ่งตามรูปแบบการแทนข้อมูลได้เป็น 2 ชนิด คือ 1) ข้อมูลชนิดจานวน (numberic data) หมายถึง ข้อมูลที่สามารถนาไป คานวณได้ ข้อมูลชนิดนี้มี 2 รูปแบบ คือ  จานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137, -46  ทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจานวนเต็ม เช่น 12.0 หรือเป็นจานวนที่มีทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 ทศนิยมนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ  แบบที่ใช้กันทั่วไป เช่น 9.0, 17.63, 119.3267, -17.34  แบบที่ใช้ในงานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 4101230 ซึ่งหมายถึง 1230000.0 31013.76 ซึ่งหมายถึง .01376 2101764.0-  ซึ่งหมายถึง -176400.0 -2101764.0-  ซึ่งหมายถึง -17.64 ตัวอย่างข้อมูลชนิดจานวน เช่น อายุของนักเรียน น้าหนัก ส่วนสูง และคะแนนเฉลี่ย 2) ข้อมูลชนิดอักขระ (character data) หมายถึง ข้อมูลที่ไม่สามารถนาไป คานวณได้แต่อาจนาไปเรียงลาดับได้ ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ เครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 17110, &76 ตัวอย่างข้อมูลชนิดอักขระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ ลักษณะของข้อมูลที่ดี ต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีความถูกต้องและแม่นยา 2. มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ 3. มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน 4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ 5. ปราศจากความลาเอียงหรืออคติ