SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้เพื่อใช้งำนใน
อนำคตเนื่องจำกข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำงำนจะอยู่ในแรม หรือหน่วยควำมจำที่ลบเลือนได้ ซึ่ง
เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลจะสูญหำไปหมด เมื่อต้องกำรใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมเดิมอีก
ครั้ง ซีพียูก็จะอ่ำนข้อมูลจำกหน่วยเก็บข้อมูลเข้ำสู่หน่วยควำมจำที่สำมำรถลบเลือนได้เพื่อ
ประมวลผลได้อีก หน่วยเก็บข้อมูลมีหลำยประเภท เช่น แผ่นบันทึก ฮำร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แผ่น
ดีวีดี และหน่วยควำมจำแฟลช
3.7.1 แผ่นบันทึก
แผ่นบันทึก (diskette) หรือฟลอปปี้ดิสก์ (Floppy disk) ที่อำจมีใช้กันในปัจจุบันมี
ขนำด 3.5 นิ้ว มีควำมจุ 1.44 เมกะไบต์ โดยตัวแผ่นบันทึกทำจำกแผ่นพลำสติกบำงฉำบผิว
ทั้งสองด้ำนด้วยสำรแม่เหล็ก และแผ่นนี้ถูกปกป้องโดยบรรจุอยู่ในซองพลำสติกแข็ง มีช่อง
เปิดให้หัวอ่ำนเข้ำไปอ่ำนข้อมูลบนแผ่นได้ ซึ่งปกติจะถูกปิดอยู่ แต่เมื่อสอดแผ่นบันทึกเข้ำไปใน
เครื่องอ่ำน ช่องนี้จะถูกเปิดออกและแผ่นจะถูกหมุนด้วยควำมเร็วคงที่ค่ำหนึ่ง หัวอ่ำนจะ
สำมำรถเลื่อนไปมำในช่องเปิดเพื่อนอ่ำนหรือเขียนข้อมูลบนแผ่นทั้งสองด้ำนได้
แผ่นบันทึก
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
กำรเก็บข้อมูลจะทำโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น ปกติใช้ได้ทั้งสองด้ำน หัวอ่ำนของ
เครื่องขับจึงมีสองหัวแผ่นจะหมุนด้วยควำมเร็วคงที่ หัวอ่ำนวิ่งเข้ำออกเพื่ออ่ำนข้อมูลใน
ตำแหน่งที่ต้องกำร ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลแบ่งเป็นวงเรียกว่ำ แทร็ก (track) แต่และแทร็กจะ
แบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่ำเซกเตอร์ (sector) กำรที่หัวสำหรับอ่ำนและเขียนข้อมูลเลื่อน
เข้ำออกจำกศูนย์กลำงของแผ่นตำมแนวเส้นตรง ทำให้กำรเข้ำถึงข้อมูลได้โดยตรง รวดเร็ว
กว่ำแถบบันทึกข้อมูลมีขนำดใหญ่ พกพำไม่สะดวก มีควำมจุน้อยและกำรอ่ำนเขียนยังทำได้ช้ำ
แผ่นบันทึกจึงค่อยๆลดควำมนิยมลงไป แต่ก็ยังคงพบเห็นเครื่องขับแผ่นบันทึกได้บ้ำง
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลบนแผ่นบันทึก
ฮำร์ดดิสก์ (hard disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็ง
เคลือบด้วยสำรแม่เหล็กที่ผิวทั้งสองด้ำนจำนวนหลำยแผ่นเรียงซ้อนกัน มีหัวอ่ำนหนึ่งหัวต่อ
หนึ่งด้ำนของแผ่นบันทึกข้อมูล ซึ่งยิดติดอยู่บนแขนที่เลื่อนเข้ำออกได้ตั้งแต่ด้ำนนอกจนถึงด้ำน
ในสุดของแผ่นอุปกรณ์ทั้งหมดนี้จะถูกบรรจุอยู่ในกล่องที่ปิดสนิทเพื่อป้องกันฝุ่นและกำร
กระทบกระเทือน
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
ฮาร์ดดิสก์
กำรบันทึกข้อมูลจะอยู่ในลักษณะเป็นวงแหวน เรียกแต่ละวงของทุกแผ่นว่ำไซลินเดอร์
(cylinder) และแต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็นเซกเตอร์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
ฮาร์ดดิสก์แบบพกพา
เกร็ดน่ารู้
การดูแลรักษาฮาร์ดดิสก์แบบพกพา
เนื่องจากฮาร์ดดิสก์แบบพกพาเป็นอุปกรณ์ที่ละเอียดอ่อนและบอบบาง เมื่อ
นามาใช้เป็นฮาร์ดดิสก์แบบพกพา จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเสียหายได้ง่าย การใช้งานจึง
ควรระมัดระวังไม่ให้ฮาร์ดดิสก์ตกกระแทกกับพื้น ควรวางในพื้นที่ที่มั่นคงแข็งแรง และ
สาคัญที่สุดคือควรสารองข้อมูลสาคัญไว้เสมอเพราะนอกจากฮาร์ดดิสก์แบบพกพานี้จะ
เสียหายได้ง่ายแล้ว ลักษณะการใช้งานที่แลกเปลี่ยนกันใช้บ่อยครั้งหรือมีการพกพาไปที่
ต่างๆก็อาจเป็นสาเหตุให้ฮาร์ดดิสก์แบบนี้สูญหายได้ง่ายเช่นกัน
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
แผ่นซีดี (Compact Disc :CD) เป็นแผ่นพลำสติกที่เคลือบด้วยสำรสะท้อนแสงมีเส้น
ผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 นิ้ว กำรอ่ำนและเขียนข้อมูลจะใช้ลำแสงเลเซอร์ส่องและสะท้อน
กลับ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ รำคำถูก จุข้อมูลได้มำก คงทน และมีอำยุกำรใช้งำนได้ยำวนำน
สำมำรถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มำกถึง 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น
แผ่นซีดี
แผ่นซีดีมีหลำยประเภทโดยแบ่งตำมชนิดกำรเขียนและอ่ำน ดังนี้
สำมำรถบันทึกข้อมูลได้ครั้งเดียวโดยถูกบันทึกมำจำกโรงงำน
ซีดีรอม
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
สำมำรถบันทึกโดยใช้เครื่องขับแผ่นซีดีอำร์ หรือดีอำร์ไดร์ฟ (CD-R drive) ที่
สำมำรถใช้บันทึกข้อมูลได้ ข้อมูลที่บันทึกไปแล้วไม่สำมำรถลบหรือบันทึกทับได้ แต่หำกมี
เนื้อที่เหลืออยู่ก็สำมำรถบันทึกข้อมูลอื่นลงในเนื้อที่ว่ำงได้
ซีดีอาร์
สำมำรถลบและบันทึกซ้ำได้หลำยครั้ง
ซีดีอาร์ดับเบิลยู
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
แผ่นดีวีดี (Digital Versatile Disc:DVD) ได้ถูกพัฒนำต่อเนื่องมำจำกแผ่นซีดี
ทำให้มีควำมจุของข้อมูลสูงกว่ำแผ่นซีดีมำก สำหรับแผ่นดีวีดีที่ผลิตมำจำกโรงงำน จะ
สำมำรถอ่ำนได้เพียงอย่ำงเดียว เรียกว่ำดีวีดีรอม (DVD-ROM) มีควำมจุสูงถึง 4.7
กิกะไบต์และ 8.5 กิกะไบต์ โดยดีวีดีขนำด 4.7 กิกะไบต์มีกำรบันทึกข้อมูลแบบหนึ่งชั้น
และขนำด 8.5 กิกะไบต์มีกำรบันทึกข้อมูลแบบสองชั้นในแผ่นเดียวกันซึ่งในท้องตลำด
เรียกว่ำดีวีดีที่มีกำรบันทึกแบบหนึ่งชั้น ดีวีดี 5 และแบบสองชั้นเรียกว่ำดีวีดี 9
และเช่นเดียวกับแผ่นซีดี แผ่นดีวีดีก็ได้มีกำรพัฒนำให้ผู้ใช้งำนสำมำรถเขียนหรือ
บันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดีได้ด้วยตนเอง โดยแผ่นดีวีดีที่บันทึกได้เพียงครั้งเดียว จะ
เรียกว่ำ ดีวีดีอำร์(DVD-recordable:DVD-R) และแผ่นดีวีดีที่ลบและบันทึกซ้ำได้หลำย
ครั้ง จะเรียกว่ำดีวีดีอำร์ดับเบิลยู(DVD-rewritable:DVD-RW) ซึ่งแผ่นดีวีดีที่บันทึกได้
เหล่ำนี้มีด้วยกันสองมำตรฐำน คือบวกและลบ(+ และ -) โดยมีชื่อย่อเรียกว่ำ DVD-
R,DVD-RW,DVD+R และ DVD+RW ในปัจจุบันเครื่องบันทึกแผ่นดีวีดีที่สำมำรถรองรับ
กำรบันทึกและอ่ำนแผ่นดีวีดีได้ทั้งสองมำตรฐำนมีใช้กันแพร่หลำยแล้ว ผู้ใช้จึงไม่ต้อง
กังวลกับมำตรฐำนที่แตกต่ำงกันของแผ่นดีวีดี แต่ถ้ำต้องกำรนำแผ่นดีวีดีไปใช้งำนกับ
เครื่องอ่ำนรุ่นเก่ำ ผู้ใช้งำนยังคงต้องตรวจสอบว่ำเครื่องอ่ำนของตนเองรองรับมำตรฐำน
ของแผ่นแบบใดบ้ำง
แผ่นดีวีดี
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
นอกจำกแผ่นซีดีและดีวีดีที่เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันแล้ว ได้มีกำรพัฒนำ
มำตรฐำนใหม่ของแผ่นบันทึกข้อมูลแบบพลำสติกขึ้นมำอีก ที่เรียกว่ำ แผ่นบลูเรย์ (Blu-
ray Disc-Rom:BD-ROM) สำมำรถบันทึกข้อมูลทั้งสองชั้นรวมกันแล้วได้สูงถึงแผ่นละ
50 กิกะไบต์ ซึ่งแผ่นบลูเรย์ในแบบบีดีอำร์ดี (Blu-ray Disc Rewritable Disc
Rewritable :BD-RE) ก็ได้ถูกพัฒนำมำให้สำมำรถลบและบันทึกซ้ำได้
แผ่นบลูเรย์
เกร็ดน่ารู้
การดูแลรักษาแผ่นซีดีหรือดีวีดี
พื้นผิวของแผ่นซีดีหรือดีวีดีต้องสะอาดและปราศจากรอยขีดข่วนเพื่อให้
สามารถอ่านหรือบันทึกได้อย่างไม่มีข้อผิดพลาด การหยิบจับแผ่นควรใช้นิ้วโป้งสอดเข้า
ไปที่รูตรงกลางแผ่น แล้วใช้นิ้วชี้จับที่สันขอบแผ่น ไม่ควรหยิบด้วยการจับลงไปที่พื้นผิว
ของแผ่น เพราะคราบเหงื่อจากนิ้วมือจะติดลงบนแผ่น ถ้าต้องทาความสะอาดแผ่นซีดี
หรือดีวีดีให้ใช้ผ้านุ่มที่จะไม่ทาให้เกิดรอยชุบน้าหรือแอลกอฮอล์หมาดๆเช็ดเป็นเส้นตรง
จากจุดศูนย์กลางออกมาที่ขอบแผ่น ไม่ควรถูซ้าไปมา
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
หน่วยควำมจำแบบแฟลช (Flash memory) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ทำงำนใน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ไม่ต้องใช้แผ่นบันทึก เป็นที่นิยมมำกในปัจจุบัน เนื่องจำก
ขนำดเล็ก ควำมจุสูง และรำคำถูก ซึ่งอำจอยู่ในรูปของแผ่นหน่วยควำมจำแบบแฟลช
(flash memory card) หรืออุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
ผ่ำนยูเอสบี(USB flash drive) กำรเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะกำรนำไปใช้งำน
หน่วยความจาแบบแฟลช
ถูกออกแบบให้เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสำหรับอุปกรณ์เฉพำะอย่ำง เช่น กล้องดิจิทัล
โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือพีดีเอ ซึ่งแต่ละรุ่นจะกำหนดว่ำต้องใช้งำนกับแผ่นหน่วยควำมจำ
แบบแฟลชชนิดใดได้บ้ำง แผ่นหน่วยควำมจำแบบแฟลชนี้มีควำมจุแตกต่ำงกันตั้งแต่
ควำมจุไม่มำก เช่น 64 เมกะไบต์ ไปจนถึงควำมจุสูงมำก เช่น 4,8 หรือ 16 กิกะไบต์ และ
กำลังมีควำมพยำยำมพัฒนำให้มีควำมจุได้สูงเกิน 1 เทระไบต์ กำรใช้แผ่นหน่วยควำมจำ
แบบแฟลชกับคอมพิวเตอร์สำมำรถทำได้สองรูปแบบคือ เชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ใช้แผ่น
หน่วยควำมจำแบบแฟลชกับเครื่องอ่ำนเชื่อมต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์โดยตรง แผ่น
หน่วยควำมจำแบบแฟลช เช่น CompactFlash หรือ CF,Secure Digital หรือ
SD,microSD,miniSD,XD Picture Card,และ Memory Stick
หน่วยความจาแบบแฟลชชนิดต่างๆ
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านยูเอสบี
หรือที่เรียกว่ำ แฮนดีไดรฟ์ (handy drive) หรือมีชื่อเรียก เช่น แฟลชไดร์ฟ (flash
drive) ทรัมไดร์ฟ (thrum drive) เมมโมรีสติก (memory stick) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำ
แบบแฟลชที่ออกแบบให้สำมำรถเสียบต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่ำนพอร์ตยูเอสบีได้
โดยตรง มีขนำดเล็ก พกพำสะดวก มีควำมจุสูงกว่ำ 64 กิกะไบท์ และควำมจุยังมีแนวโน้ม
สูงขึ้นเรื่อยๆ อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชนี้ทำให้กำรใช้งำนแผ่นบันทึกข้อมูลลดควำม
นิยมลงอย่ำงรวดเร็วอีกด้วย
อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลช
ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
การสำรองข้อมูล
การสำรองข้อมูลการสำรองข้อมูล
การสำรองข้อมูลTum Prathid
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์supichayasaetang
 
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อKrupreecha Krubaannok
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์Uthaiwan Suantai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์kwaxz96_
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลjiratchaya sakornphanich
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26The'King NuZa
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอมAbdul Mahama
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 

Was ist angesagt? (18)

2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
การสำรองข้อมูล
การสำรองข้อมูลการสำรองข้อมูล
การสำรองข้อมูล
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อการเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
การเลือกซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูลอุปกรณ์สำรองข้อมูล
อุปกรณ์สำรองข้อมูล
 
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
กลุ่ม 7-อุปกรณ์สำรองข้อมูล-เลขที่-4,6,11,18,19,26
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอม
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
Chosita 29.pdf
Chosita 29.pdfChosita 29.pdf
Chosita 29.pdf
 

Andere mochten auch

การสร้างและจัดการแฟ้ม
การสร้างและจัดการแฟ้มการสร้างและจัดการแฟ้ม
การสร้างและจัดการแฟ้มwilawan_o
 
SlideShare pas cu pas
SlideShare pas cu pasSlideShare pas cu pas
SlideShare pas cu pasnicoctin
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
Make Family Health History a Tradition
Make Family Health History a TraditionMake Family Health History a Tradition
Make Family Health History a Traditionsuzi smith
 
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าAngkan Mahawan
 
8 2 la empresa angie y jorge
8 2 la empresa angie y jorge8 2 la empresa angie y jorge
8 2 la empresa angie y jorgejhqp
 
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำAngkan Mahawan
 
Communication in dental medicine
Communication in dental medicineCommunication in dental medicine
Communication in dental medicinesuzi smith
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึกการใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึกwilawan_o
 
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)Chemagutierrez73
 
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)Chemagutierrez73
 
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación 2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación Chemagutierrez73
 
Lesson plan in philippines geography
Lesson plan in philippines geographyLesson plan in philippines geography
Lesson plan in philippines geographyHelen de la Cruz
 

Andere mochten auch (14)

การสร้างและจัดการแฟ้ม
การสร้างและจัดการแฟ้มการสร้างและจัดการแฟ้ม
การสร้างและจัดการแฟ้ม
 
SlideShare pas cu pas
SlideShare pas cu pasSlideShare pas cu pas
SlideShare pas cu pas
 
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 2(8) เรื่อง องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
 
Make Family Health History a Tradition
Make Family Health History a TraditionMake Family Health History a Tradition
Make Family Health History a Tradition
 
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้าใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
ใบความรู้ที่ 9เรื่อง หน่วยรับเข้า
 
8 2 la empresa angie y jorge
8 2 la empresa angie y jorge8 2 la empresa angie y jorge
8 2 la empresa angie y jorge
 
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
ใบความรู้ที่ 11 เรื่อง หน่วยความจำ
 
Communication in dental medicine
Communication in dental medicineCommunication in dental medicine
Communication in dental medicine
 
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึกการใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึก
การใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานอย่างมีจิตสำนึก
 
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (4)
 
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)
2014.2015. 3º. global 2º trimestre (1)
 
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación 2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación
2015 2016. 3ºeso. matemáticas global 1ª evaluación
 
Lesson plan in philippines geography
Lesson plan in philippines geographyLesson plan in philippines geography
Lesson plan in philippines geography
 
80 g format
80 g format80 g format
80 g format
 

Ähnlich wie ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองSupaksorn Tatongjai
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองAngkan Mahawan
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองchayatorn sarathana
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองChinaphop Viriyakit
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองchayatorn sarathana
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองChinaphop Viriyakit
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์krujee
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองguest8b6806e
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองguest8b6806e
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Kuroba Kaito
 
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)Supaksorn Tatongjai
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Pon Tacha
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4Kru Jhair
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Papawin Tunyasitikun
 

Ähnlich wie ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล (20)

หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรองหน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
หน่วยความจำสำรอง Present 4-8 (Group3)
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Tape backup
Tape backupTape backup
Tape backup
 
Unit4 slide
Unit4 slideUnit4 slide
Unit4 slide
 
Multi
MultiMulti
Multi
 
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
องค์ประกอบระบบคอม ของนร.ม.4
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 

Mehr von Angkan Mahawan

ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์Angkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูลใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูลAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรAngkan Mahawan
 

Mehr von Angkan Mahawan (12)

ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 2 เรื่อง รหัสแทนข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 15 เรื่อง การใช้งานและดูแลรักษาคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
ใบความรู้ที่ 14 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำงานได้หลายหน้าที่
 
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออกใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
ใบความรู้ที่ 12 เรื่อง หน่วยส่งออก
 
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูลใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง การแทนข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง คอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ระดับของสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูลใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศและการประมวลผลข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไรใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
 

ใบความรู้ที่ 13 เรื่อง หน่วยเก็บข้อมูล

  • 1. หน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) ทำหน้ำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้เพื่อใช้งำนใน อนำคตเนื่องจำกข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำงำนจะอยู่ในแรม หรือหน่วยควำมจำที่ลบเลือนได้ ซึ่ง เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลจะสูญหำไปหมด เมื่อต้องกำรใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมเดิมอีก ครั้ง ซีพียูก็จะอ่ำนข้อมูลจำกหน่วยเก็บข้อมูลเข้ำสู่หน่วยควำมจำที่สำมำรถลบเลือนได้เพื่อ ประมวลผลได้อีก หน่วยเก็บข้อมูลมีหลำยประเภท เช่น แผ่นบันทึก ฮำร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แผ่น ดีวีดี และหน่วยควำมจำแฟลช 3.7.1 แผ่นบันทึก แผ่นบันทึก (diskette) หรือฟลอปปี้ดิสก์ (Floppy disk) ที่อำจมีใช้กันในปัจจุบันมี ขนำด 3.5 นิ้ว มีควำมจุ 1.44 เมกะไบต์ โดยตัวแผ่นบันทึกทำจำกแผ่นพลำสติกบำงฉำบผิว ทั้งสองด้ำนด้วยสำรแม่เหล็ก และแผ่นนี้ถูกปกป้องโดยบรรจุอยู่ในซองพลำสติกแข็ง มีช่อง เปิดให้หัวอ่ำนเข้ำไปอ่ำนข้อมูลบนแผ่นได้ ซึ่งปกติจะถูกปิดอยู่ แต่เมื่อสอดแผ่นบันทึกเข้ำไปใน เครื่องอ่ำน ช่องนี้จะถูกเปิดออกและแผ่นจะถูกหมุนด้วยควำมเร็วคงที่ค่ำหนึ่ง หัวอ่ำนจะ สำมำรถเลื่อนไปมำในช่องเปิดเพื่อนอ่ำนหรือเขียนข้อมูลบนแผ่นทั้งสองด้ำนได้ แผ่นบันทึก ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 2. กำรเก็บข้อมูลจะทำโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น ปกติใช้ได้ทั้งสองด้ำน หัวอ่ำนของ เครื่องขับจึงมีสองหัวแผ่นจะหมุนด้วยควำมเร็วคงที่ หัวอ่ำนวิ่งเข้ำออกเพื่ออ่ำนข้อมูลใน ตำแหน่งที่ต้องกำร ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลแบ่งเป็นวงเรียกว่ำ แทร็ก (track) แต่และแทร็กจะ แบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูลเรียกว่ำเซกเตอร์ (sector) กำรที่หัวสำหรับอ่ำนและเขียนข้อมูลเลื่อน เข้ำออกจำกศูนย์กลำงของแผ่นตำมแนวเส้นตรง ทำให้กำรเข้ำถึงข้อมูลได้โดยตรง รวดเร็ว กว่ำแถบบันทึกข้อมูลมีขนำดใหญ่ พกพำไม่สะดวก มีควำมจุน้อยและกำรอ่ำนเขียนยังทำได้ช้ำ แผ่นบันทึกจึงค่อยๆลดควำมนิยมลงไป แต่ก็ยังคงพบเห็นเครื่องขับแผ่นบันทึกได้บ้ำง โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลบนแผ่นบันทึก ฮำร์ดดิสก์ (hard disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็ง เคลือบด้วยสำรแม่เหล็กที่ผิวทั้งสองด้ำนจำนวนหลำยแผ่นเรียงซ้อนกัน มีหัวอ่ำนหนึ่งหัวต่อ หนึ่งด้ำนของแผ่นบันทึกข้อมูล ซึ่งยิดติดอยู่บนแขนที่เลื่อนเข้ำออกได้ตั้งแต่ด้ำนนอกจนถึงด้ำน ในสุดของแผ่นอุปกรณ์ทั้งหมดนี้จะถูกบรรจุอยู่ในกล่องที่ปิดสนิทเพื่อป้องกันฝุ่นและกำร กระทบกระเทือน ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 4. ฮาร์ดดิสก์แบบพกพา เกร็ดน่ารู้ การดูแลรักษาฮาร์ดดิสก์แบบพกพา เนื่องจากฮาร์ดดิสก์แบบพกพาเป็นอุปกรณ์ที่ละเอียดอ่อนและบอบบาง เมื่อ นามาใช้เป็นฮาร์ดดิสก์แบบพกพา จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเสียหายได้ง่าย การใช้งานจึง ควรระมัดระวังไม่ให้ฮาร์ดดิสก์ตกกระแทกกับพื้น ควรวางในพื้นที่ที่มั่นคงแข็งแรง และ สาคัญที่สุดคือควรสารองข้อมูลสาคัญไว้เสมอเพราะนอกจากฮาร์ดดิสก์แบบพกพานี้จะ เสียหายได้ง่ายแล้ว ลักษณะการใช้งานที่แลกเปลี่ยนกันใช้บ่อยครั้งหรือมีการพกพาไปที่ ต่างๆก็อาจเป็นสาเหตุให้ฮาร์ดดิสก์แบบนี้สูญหายได้ง่ายเช่นกัน ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 5. แผ่นซีดี (Compact Disc :CD) เป็นแผ่นพลำสติกที่เคลือบด้วยสำรสะท้อนแสงมีเส้น ผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 นิ้ว กำรอ่ำนและเขียนข้อมูลจะใช้ลำแสงเลเซอร์ส่องและสะท้อน กลับ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ รำคำถูก จุข้อมูลได้มำก คงทน และมีอำยุกำรใช้งำนได้ยำวนำน สำมำรถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มำกถึง 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น แผ่นซีดี แผ่นซีดีมีหลำยประเภทโดยแบ่งตำมชนิดกำรเขียนและอ่ำน ดังนี้ สำมำรถบันทึกข้อมูลได้ครั้งเดียวโดยถูกบันทึกมำจำกโรงงำน ซีดีรอม ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7 ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 6. สำมำรถบันทึกโดยใช้เครื่องขับแผ่นซีดีอำร์ หรือดีอำร์ไดร์ฟ (CD-R drive) ที่ สำมำรถใช้บันทึกข้อมูลได้ ข้อมูลที่บันทึกไปแล้วไม่สำมำรถลบหรือบันทึกทับได้ แต่หำกมี เนื้อที่เหลืออยู่ก็สำมำรถบันทึกข้อมูลอื่นลงในเนื้อที่ว่ำงได้ ซีดีอาร์ สำมำรถลบและบันทึกซ้ำได้หลำยครั้ง ซีดีอาร์ดับเบิลยู ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7 ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 7. แผ่นดีวีดี (Digital Versatile Disc:DVD) ได้ถูกพัฒนำต่อเนื่องมำจำกแผ่นซีดี ทำให้มีควำมจุของข้อมูลสูงกว่ำแผ่นซีดีมำก สำหรับแผ่นดีวีดีที่ผลิตมำจำกโรงงำน จะ สำมำรถอ่ำนได้เพียงอย่ำงเดียว เรียกว่ำดีวีดีรอม (DVD-ROM) มีควำมจุสูงถึง 4.7 กิกะไบต์และ 8.5 กิกะไบต์ โดยดีวีดีขนำด 4.7 กิกะไบต์มีกำรบันทึกข้อมูลแบบหนึ่งชั้น และขนำด 8.5 กิกะไบต์มีกำรบันทึกข้อมูลแบบสองชั้นในแผ่นเดียวกันซึ่งในท้องตลำด เรียกว่ำดีวีดีที่มีกำรบันทึกแบบหนึ่งชั้น ดีวีดี 5 และแบบสองชั้นเรียกว่ำดีวีดี 9 และเช่นเดียวกับแผ่นซีดี แผ่นดีวีดีก็ได้มีกำรพัฒนำให้ผู้ใช้งำนสำมำรถเขียนหรือ บันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดีได้ด้วยตนเอง โดยแผ่นดีวีดีที่บันทึกได้เพียงครั้งเดียว จะ เรียกว่ำ ดีวีดีอำร์(DVD-recordable:DVD-R) และแผ่นดีวีดีที่ลบและบันทึกซ้ำได้หลำย ครั้ง จะเรียกว่ำดีวีดีอำร์ดับเบิลยู(DVD-rewritable:DVD-RW) ซึ่งแผ่นดีวีดีที่บันทึกได้ เหล่ำนี้มีด้วยกันสองมำตรฐำน คือบวกและลบ(+ และ -) โดยมีชื่อย่อเรียกว่ำ DVD- R,DVD-RW,DVD+R และ DVD+RW ในปัจจุบันเครื่องบันทึกแผ่นดีวีดีที่สำมำรถรองรับ กำรบันทึกและอ่ำนแผ่นดีวีดีได้ทั้งสองมำตรฐำนมีใช้กันแพร่หลำยแล้ว ผู้ใช้จึงไม่ต้อง กังวลกับมำตรฐำนที่แตกต่ำงกันของแผ่นดีวีดี แต่ถ้ำต้องกำรนำแผ่นดีวีดีไปใช้งำนกับ เครื่องอ่ำนรุ่นเก่ำ ผู้ใช้งำนยังคงต้องตรวจสอบว่ำเครื่องอ่ำนของตนเองรองรับมำตรฐำน ของแผ่นแบบใดบ้ำง แผ่นดีวีดี ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 8. นอกจำกแผ่นซีดีและดีวีดีที่เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันแล้ว ได้มีกำรพัฒนำ มำตรฐำนใหม่ของแผ่นบันทึกข้อมูลแบบพลำสติกขึ้นมำอีก ที่เรียกว่ำ แผ่นบลูเรย์ (Blu- ray Disc-Rom:BD-ROM) สำมำรถบันทึกข้อมูลทั้งสองชั้นรวมกันแล้วได้สูงถึงแผ่นละ 50 กิกะไบต์ ซึ่งแผ่นบลูเรย์ในแบบบีดีอำร์ดี (Blu-ray Disc Rewritable Disc Rewritable :BD-RE) ก็ได้ถูกพัฒนำมำให้สำมำรถลบและบันทึกซ้ำได้ แผ่นบลูเรย์ เกร็ดน่ารู้ การดูแลรักษาแผ่นซีดีหรือดีวีดี พื้นผิวของแผ่นซีดีหรือดีวีดีต้องสะอาดและปราศจากรอยขีดข่วนเพื่อให้ สามารถอ่านหรือบันทึกได้อย่างไม่มีข้อผิดพลาด การหยิบจับแผ่นควรใช้นิ้วโป้งสอดเข้า ไปที่รูตรงกลางแผ่น แล้วใช้นิ้วชี้จับที่สันขอบแผ่น ไม่ควรหยิบด้วยการจับลงไปที่พื้นผิว ของแผ่น เพราะคราบเหงื่อจากนิ้วมือจะติดลงบนแผ่น ถ้าต้องทาความสะอาดแผ่นซีดี หรือดีวีดีให้ใช้ผ้านุ่มที่จะไม่ทาให้เกิดรอยชุบน้าหรือแอลกอฮอล์หมาดๆเช็ดเป็นเส้นตรง จากจุดศูนย์กลางออกมาที่ขอบแผ่น ไม่ควรถูซ้าไปมา ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 9. หน่วยควำมจำแบบแฟลช (Flash memory) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ทำงำนใน ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ไม่ต้องใช้แผ่นบันทึก เป็นที่นิยมมำกในปัจจุบัน เนื่องจำก ขนำดเล็ก ควำมจุสูง และรำคำถูก ซึ่งอำจอยู่ในรูปของแผ่นหน่วยควำมจำแบบแฟลช (flash memory card) หรืออุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ผ่ำนยูเอสบี(USB flash drive) กำรเลือกใช้ขึ้นอยู่กับลักษณะกำรนำไปใช้งำน หน่วยความจาแบบแฟลช ถูกออกแบบให้เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลสำหรับอุปกรณ์เฉพำะอย่ำง เช่น กล้องดิจิทัล โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือพีดีเอ ซึ่งแต่ละรุ่นจะกำหนดว่ำต้องใช้งำนกับแผ่นหน่วยควำมจำ แบบแฟลชชนิดใดได้บ้ำง แผ่นหน่วยควำมจำแบบแฟลชนี้มีควำมจุแตกต่ำงกันตั้งแต่ ควำมจุไม่มำก เช่น 64 เมกะไบต์ ไปจนถึงควำมจุสูงมำก เช่น 4,8 หรือ 16 กิกะไบต์ และ กำลังมีควำมพยำยำมพัฒนำให้มีควำมจุได้สูงเกิน 1 เทระไบต์ กำรใช้แผ่นหน่วยควำมจำ แบบแฟลชกับคอมพิวเตอร์สำมำรถทำได้สองรูปแบบคือ เชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ใช้แผ่น หน่วยควำมจำแบบแฟลชกับเครื่องอ่ำนเชื่อมต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์โดยตรง แผ่น หน่วยควำมจำแบบแฟลช เช่น CompactFlash หรือ CF,Secure Digital หรือ SD,microSD,miniSD,XD Picture Card,และ Memory Stick หน่วยความจาแบบแฟลชชนิดต่างๆ ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7
  • 10. อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านยูเอสบี หรือที่เรียกว่ำ แฮนดีไดรฟ์ (handy drive) หรือมีชื่อเรียก เช่น แฟลชไดร์ฟ (flash drive) ทรัมไดร์ฟ (thrum drive) เมมโมรีสติก (memory stick) ซึ่งเป็นหน่วยควำมจำ แบบแฟลชที่ออกแบบให้สำมำรถเสียบต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่ำนพอร์ตยูเอสบีได้ โดยตรง มีขนำดเล็ก พกพำสะดวก มีควำมจุสูงกว่ำ 64 กิกะไบท์ และควำมจุยังมีแนวโน้ม สูงขึ้นเรื่อยๆ อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลชนี้ทำให้กำรใช้งำนแผ่นบันทึกข้อมูลลดควำม นิยมลงอย่ำงรวดเร็วอีกด้วย อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบแฟลช ที่มา : http://phungwit.ac.th/krootim/?page=unit03.7