SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 39
บทที่ 6
ระบบจํานวนและการแปลงเลขฐาน
ระบบจํานวนหรือระบบตัวเลข
ระบบจํานวนหรือระบบตัวเลข คือตัวเลขต่างๆ ที่ใช้ในการคํานวณเพื่อประยุกต์ใช้ใน
งานด้านต่างๆ ระบบจํานวนมีความสําคัญอย่างมากเพื่อในการใช้งานคํานวณ
ตัวเลขต่างๆ เพื่อทําการประมวลผลให้ได้ผลลัพธ์ที่จะนําไปใช้งาน โดยทั่วไประบบ
ตัวเลขที่มนุษย์เรารู้จักมากที่สุดคือระบบตัวเลขฐานสิบ (Decimal Number
System) คือเลข 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 รวมทั้งหมด 10 ตัว ต่อมาความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีสมัยใหม่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้น คอมพิวเตอร์ทํางานด้วย
กระแสไฟฟ้ าดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟ้ าได้ 2 สภาวะ คือสภาวะที่
ไม่มีกระแสไฟฟ้ า และสภาวะที่มีกระแสไฟฟ้ า และเพื่อให้มนุษย์สามารถสั่งงาน
คอมพิวเตอร์ได้ ดังนั้นจึงได้มีการสร้างระบบตัวเลขที่นํามาแทนสภาวะของ
กระแสไฟฟ้ าโดย “0” จะแทนสภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้ า และ “1” จะแทนสภาวะที่มี
กระแสไฟฟ้ า ดังนั้นระบบจํานวนในคอมพิวเตอร์โดยปกติจะเป็นระบบเลขฐานสอง
(Binary Number System)
ระบบจํานวน
 ระบบจํานวนของเลขฐานสอง (Binary Number System) ประกอบด้วย 2
ตัวเลข คือ 0 และ 1
 ระบบจํานวนของเลขฐานแปด (Octal Number System) ประกอบด้วย 8
ตัวเลข คือ 0,1,2,3,4,5,6,7
 ระบบจํานวนของเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ประกอบด้วย
10 ตัวเลข คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9
 ระบบจํานวนของเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System)
ประกอบด้วย 16 ตัวเลข คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F โดย A =
10, B = 11, C = 12, D = 13, E = 14, F = 15
ตัวอย่างการเปรียบเทียบเลขฐานต่างๆ กับเลขฐานสิบ
เลขฐานสิบ
(Decimal)
เลขฐานสอง
(Binary)
เลขฐานแปด
(Octal)
เลขฐานสิบหก
(Hexadecimal)
0 0 0 0
1 1 1 1
2 10 2 2
3 11 3 3
4 100 4 4
5 101 5 5
6 110 6 6
7 111 7 7
8 1000 10 8
9 1001 11 9
10 1010 12 A
11 1011 13 B
12 1100 14 C
13 1101 15 D
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานเป็นพื้นฐานที่สําคัญในการติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์
กับคอมพิวเตอร์ให้สามารถทํางานร่วมกันได้ มนุษย์จะคุ้นเคยกับการ
ทํางานของตัวเลขในรูปของเลขฐานสิบ ส่วนคอมพิวเตอร์จะทํางานใน
รูปแบบของเลขฐานสอง ดังนั้นจึงจําเป็นที่จะต้องศึกษาเข้าใจหลักการ
แปลงเลขฐานในมาตรฐานเดียวกันเพื่อให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก
การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานต่างๆ จะกระทําโดยใช้วิธีการหารด้วยเลข
ฐานที่ต้องการแปลง เช่นถ้าต้องการแปลงเป็นเลขฐานสองก็จะเอาเลขสอง
เป็นตัวหาร ถ้าต้องการแปลงเป็นเลขฐานแปดก็จะเอาเลขแปดเป็นตัวหาร
ถ้าต้องการแปลงเป็นเลขฐานสิบหกก็จะเอาเลขสิบหกเป็นตัวหาร โดยจะ
กระทําการหารจนกว่าจะไม่สามารถที่จะหารได้อีกต่อไป เศษที่เหลือจาก
การหารแต่ละครั้งคือคําตอบที่ต้องการ โดยเศษที่เหลือจากการหารครั้งแรก
เป็นตัวที่มีนัยสําคัญน้อยที่สุด (Least Significant Digit หรือ LSD) และ
เศษที่เหลือจากการหารครั้งสุดท้ายเป็นตัวที่มีนัยสําคัญสูงสุด (Most
Significant Digit หรือ MSD)
ตัวอย่างที่ 1.1 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (37)10 = ( ? )2
ตัวหาร 2 37 เศษ
2 18 1
2 9 0
2 4 1
2 2 0
1 0
คําตอบ
(37)10 = (100101)2
ตัวอย่างที่ 1.2 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (50)10 = ( ? )8
ตัวหาร
8 50 เศษ
8 6 2
0 6
คําตอบ
(50)10 = ( 62 )8
ตัวอย่างที่ 1.3 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (87)10 = ( ? )16
ตัวหาร
16 87 เศษ
16 5 7
0 5
คําตอบ
(87)10 = ( 57 )16
การแปลงเลขฐานสิบที่เป็นทศนิยม
การแปลงเลขฐานสิบที่เป็นทศนิยม ถ้าต้องการแปลงให้เป็นเลขฐานอื่นๆ
จะกระทําโดยการใช้วิธีการคูณจํานวนทศนิยมนั้นด้วยเลขฐานของเลขที่
ต้องการแปลง โดยผลลัพธ์ของการคูณที่เป็นเลขจํานวนเต็มคือคําตอบที่
ต้องการ
ตัวอย่างที่ 1.4 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (0.6875)10 = ( ? )2
0.6875 0.3750 0.7500 0.5000
X X X X
2 2 2 2
1.3750 0.7500 1.5000 1.0000
××××
คําตอบ
(0.6875)10 = (0.1011)2
ตัวอย่างที่ 1.5 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (0.9375)10 = ( ? )8
0.9375 0.5000
X X
8 8
7.5000 4.0000
××
คําตอบ
(0.9375)10 = ( 0.74 )8
ตัวอย่างที่ 1.6 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (0.46875)10 = ( ? )16
0.46875 0.50000
X X
16 16
7.50000 8.00000
××
คําตอบ
(0.46875)10 = ( 0.78 )16
การแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก เป็นเลขฐานสิบ
การแปลงเลขฐานใดๆ เป็นฐานสิบ สามารถทําได้โดยการนําเอาเลขแต่ละ
ตําแหน่งของเลขฐานนั้น คูณด้วยนํ้าหนักของเลขฐานนั้นแล้วนํามารวมกัน
ทั้งหมดก็จะได้คําตอบตามที่ต้องการ
ตัวเลขในแต่ละหลักจะมีค่านํ้าหนักที่ขึ้นอยู่กับตําแหน่งหลักและฐาน
(Base) ของตัวเลขนั้นตามสมการ
m
m
n
n
n
n rarararararaN −
−
−
−
−
− +++++++= ...... 1
1
0
0
1
1
1
1
a = ค่าของตัวเลขแต่ละหลัก
n = ตําแหน่งหลักสูงสุดของจํานวนเต็ม
m = ตําแหน่งหลักสูงสุดของทศนิยม
r = ฐาน (Base)
N = ขนาดของตัวเลข
โดยที่
เช่น
(7392)10 = (7x103 )+(3x102)+(9x101)+ (2x100)
(125.21)10 = (1x102) +(2x101)+(5x100)+(2x10-1)+(1x10-2)
(11001)2 = (1x24)+ (1x23)+ (0x22)+ (0x21)+ (1x20)
(11010.11)2 = (1x24)+(1x23)+(0x22)+(1x21)+(0x20)+(1x2-1)+(1x2-2)
(4021.2)5 = (4x53)+(0x52)+(2x51)+(1x50)+(2x5-1)
(365F)16 = (11x163)+(6x162)+(5x161)+(15x160)
ตัวอย่างที่ 1.7 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(110111)2 = ( ? )10
(110111)2 = (1×25)+(1×24)+(0×23)+(1×22)+(1×21)+(1×20)
= 32 + 16 + 0 + 4 +2 + 1
= 55
คําตอบ
(110110)2 = ( 55 )10
ตัวอย่างที่ 1.8 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้ (37)8 = ( ? )10
(37)8 = (3×81)+(7×80)
= 24 +7
= 31
คําตอบ
(37)8 = ( 31)10
ตัวอย่างที่ 1.9 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(6E)16 = ( ? )10
(6E)16 = (6×161)+(E×160)
= 96 +14
= 110
คําตอบ
(6E)16 = ( 110 )10
ตัวอย่างที่ 1.10 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(0.101)2 = ( ? )10
(0.101)2 = (1×2-1)+(0×2-2)+(1×2-3)
= 0.5 + 0 + 0.125
= 0.625
คําตอบ
(0.101)2 = ( 0.625 )10
ตัวอย่างที่ 1.11 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(0.63)8 = ( ? )10
(0.63)8 = (6×8-1)+(3×8-2)
= 0.75 + 0.046875
= 0.796875
คําตอบ
(0.63)8 = (0.796875)10
ตัวอย่างที่ 1.12 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(0.A5)16 = ( ? )10
(0.A5)16 = (10×16-1)+(5×16-2)
= 0.625 + 0.01953
= 0.64453
คําตอบ
(0.A5)16 = (0.64453)10
การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง และการแปลง
เลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง จะกระทําโดยใช้การใช้เลข 1 บิต
(Bit ย่อมาจาก Binary Digit) ของเลขฐานแปดแทนด้วยเลขฐานสอง
จํานวน 3 บิต ดังนั้นการแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง และการแปลง
เลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด กระทําได้โดยการแทนค่าต่างๆ ดังแสดงใน
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสอง
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานแปดกับเลขฐานสอง
เลขฐานแปด
(Octal)
เลขฐานสอง
(Binary)
0 000
1 001
2 010
3 011
4 100
5 101
6 110
7 111
วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานแปด
วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานแปด จะทําการจัดกลุ่มของเลขฐานสองที
ละ 3 บิต โดยให้จัดกลุ่มจากบิตที่มีนัยสําคัญน้อยที่สุด (LSD) ไปบิตที่มี
นัยสําคัญสูงสุด (MSD) ถ้าจับกลุ่มไม่ครบทีละ 3 บิต ให้เพิ่มดิจิต 0 จน
ครบ 3 บิต
วิธีการแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
วิธีการแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสองจะทําการแทนเลขแปดด้วย
เลขฐานสองจํานวน 3 บิต
ตัวอย่างที่ 1.13 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้
(01101001001.01010)2 = ( ? )8
0 1 1 0 1 0 0 1 0 0 1 . 0 1 0 1 0
001 = 1, 101 = 5, 001 = 1,001 = 1
010 = 2, 100 = 4
คําตอบ
(01101001001.01010)2 = (1511.24 )8
ตัวอย่างที่ 1.14 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(524.61)8 = ( ? )2
5 = 101, 2 = 010, 4 = 100
6 = 110, 1 = 001
คําตอบ
(524.61)8 = (101010100.110001)2
การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง และการแปลง
เลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง จะกระทําโดยใช้การใช้เลข 1 บิต
ของเลขฐานสิบหกแทนด้วยเลขฐานสองจํานวน 4 บิต ดังนั้นการแปลง
เลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง และการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
หก กระทําได้โดยการแทนค่าต่างๆ ดังแสดงในตารางความสัมพันธ์ระหว่าง
เลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง
ตารางความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง
เลขฐานสิบหก
(Hexadecimal)
เลขฐานสอง
(Binary)
0 0000
1 0001
2 0010
3 0011
4 0100
5 0101
6 0110
7 0111
8 1000
9 1001
A 1010
B 1011
C 1100
D 1101
E 1110
F 1111
วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก
วิธีการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก จะทําการจัดกลุ่มของเลขฐานสอง
ทีละ 4 บิต โดยให้จัดกลุ่มจากบิตที่มีนัยสําคัญน้อยที่สุด (LSD) ไปบิตที่มี
นัยสําคัญสูงสุด (MSD) ดังรูปที่ 1.5 ถ้าจับกลุ่มไม่ครบทีละ 4 บิต ให้เพิ่ม
ดิจิต 0 ข้างหน้าบิตที่มีนัยสําคัญสูงสุดจนครบ 4 บิต
การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสอง
ตัวอย่างที่ 1.15 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้
(11101001000.01011)2 = ( ? )16
0111 = 7, 0100 = 4, 1000 = 8
0101 = 5, 1000 = 8
คําตอบ
(11101001000.01011)2 = ( 748.58 )8
ตัวอย่างที่ 1.16 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(524.61)16 = ( ? )2
5 = 0101, 2 = 0010, 4 = 0100
6 = 0110, 1 = 0001
คําตอบ
(524.61)8 = (010100100100.01100001)2
รูปแบบเทคนิคการแปลงเลขฐาน
เลขฐานสิบ
(Decimal)
เลขฐานสอง
(binary)
เลขฐานแปด
(Octal)
เลขฐานสิบหก
(Hexadecimal)
ตัวอย่างที่ 1.17 ให้ทําการแปลงเลขฐานดังนี้(6504.327)8 = ( ? )16
แปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
6 = 110, 5 = 101, 0 = 000, 4 = 100
3 = 011, 2 = 010, 7 = 111
จะได้
(6504.327)8 = ( 110101000100.011010111 )2
จากนั้นแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
คําตอบ
(6504.327)8 = ( D44.6B8 )16
แบบฝึกหัดทบทวน
1. ระบบจํานวนคืออะไร
2. จงอธิบายระบบจํานวนของเลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบ และเลขฐานสิบหก
โดยระบบจํานวนของเลขแต่ละตัวประกอบด้วยตัวเลขอะไรบ้าง
3. จงแปลงเลขฐาน (59)10 = ( ? )2
4. จงแปลงเลขฐาน (152)10 = ( ? )2
5. จงแปลงเลขฐาน (47)10 = ( ? )8
6. จงแปลงเลขฐาน (165)10 = ( ? )16
7. จงแปลงเลขฐาน (110101)2 = ( ? )10
8. จงแปลงเลขฐาน (1101110.1010)2 = ( ? )10
9. จงแปลงเลขฐาน (75)8 = ( ? )10
10. จงแปลงเลขฐาน (1A9)16 = ( ? )10
แบบฝึกหัดทบทวน
12. จงแปลงเลขฐานต่างๆ ดังต่อไปนี้
ฐานสอง ฐานสิบหก ฐานสิบ ฐานแปด
168
AB
142
010100101111
http://www.udru.ac.th
http://www.udru.ac.thhttp://www.udru.ac.th
เอกสารอ้างอิง
งามนิจ อาจอินทร์, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์., กรุงเทพฯ, 2542.
ธวัชชัย เลื่อนฉวี, และ อนุรักษ์ เถื่อนศิริ, ดิจิตอลเทคนิคเล่ม 1., กรุงเทพฯ, ศุภาลัยมีเดียจํากัด,
2537.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล, ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์., กรุงเทพฯ, แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชันแนล เอ็น
เตอร์ไพร์ส, อิงค์., 2540.

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007Krukomnuan
 

Was ist angesagt? (20)

O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007ความน่าจะเป็นม.52007
ความน่าจะเป็นม.52007
 

Andere mochten auch

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจPlew Woo
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์Ooa Worrawalun
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์rattanapachai
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์iamaomkitt
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 

Andere mochten auch (9)

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ข้อสอบคอมพิวเตอร์
ข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 

Ähnlich wie การหาเลขฐานต่างๆ

ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานพัน พัน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
Base
BaseBase
Basesa
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16jibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานAkkradet Keawyoo
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
04 data representation
04 data representation04 data representation
04 data representationteaw-sirinapa
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารsawed kodnara
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองjibjoy_butsaya
 

Ähnlich wie การหาเลขฐานต่างๆ (20)

ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
01
0101
01
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐานข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
ข้อมูลดิจิทัลและเลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
Base
BaseBase
Base
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16การแปลงเลขฐาน8กับ 16
การแปลงเลขฐาน8กับ 16
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
04 data representation
04 data representation04 data representation
04 data representation
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 

Mehr von Noii Kittiya

ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3
ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3
ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3Noii Kittiya
 
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์Noii Kittiya
 
ประพจน์
ประพจน์ประพจน์
ประพจน์Noii Kittiya
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน FlowchartNoii Kittiya
 
แนวข้อสอบฐานข้อมูล
แนวข้อสอบฐานข้อมูลแนวข้อสอบฐานข้อมูล
แนวข้อสอบฐานข้อมูลNoii Kittiya
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Noii Kittiya
 

Mehr von Noii Kittiya (6)

ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3
ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3
ผลการสอบครูผู้ช่วย 2556 ศรีสะเกษ เขต 3
 
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์
ประเภทไวรัสคอมพิวเตอร์
 
ประพจน์
ประพจน์ประพจน์
ประพจน์
 
การเขียน Flowchart
การเขียน Flowchartการเขียน Flowchart
การเขียน Flowchart
 
แนวข้อสอบฐานข้อมูล
แนวข้อสอบฐานข้อมูลแนวข้อสอบฐานข้อมูล
แนวข้อสอบฐานข้อมูล
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

การหาเลขฐานต่างๆ