SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 18
งานนำา เสนอ
 รายวิช า วิท ยาศาสตร์
เรื่อ ง เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ใน
             บ้า น
• จัด ทำา โดย
ด.ช พงศกร สีพ รหม เลขที่ 21
ด.ญ กนกนารถ เค้า สิม เลขที่
             22
 ด.ญ ขนิษ ฐา ยาดี เลขที่ 23
• เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ในบ้า น
• เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า
• เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า  คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน
  ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำาไปใช้ในชีวิต
  ประจำาวัน ได้แก่
• 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง
• 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
• 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
• 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
• นอกจากนียังมีเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยน
             ้
  เป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
• เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้แ สงสว่า ง  

       อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
  แสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์
  และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน
  (Thomas Alva Edison) นักฟิสกส์ชาวอเมริกัน
                                 ิ
  ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ
  พ.ศ. 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้
  หลอดและต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้น จนเป็น
  หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน 
• ประเภทของหลอดไฟ
• 1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำาด้วยลวด
  โลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้น
  เล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายใน
  หลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุ
  ก๊าซเฉือย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนีช่วย
         ่                              ้
  ป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำา ลักษณะของหลอด
  ไฟเป็นดังรูป
                      •  
• หลัก การทำา งานของหลอดไฟฟ้า ธรรมดา
• กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึงมีความต้านทานสูง
                                 ่
  พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำาให้
  ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยน
  พลังงานเป็นดังนี้
• พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงาน
  แสง
• 2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์
  (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
                            ี่
  พลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938
  โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำาเป็นหลอดตรง สั้น ยาว
  ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น
• ส่ว นประกอบของหลอดเรือ งแสง
• ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูทปลายทัง 2 ข้าง
                                   ่ ี่  ้
  ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสาร
  เรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่
• อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำางาน
 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำาหน้าที่เป็นสวิตซ์
  อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและ
  หยุดทำางานเมื่อหลอดติดแล้ว
 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำาหน้าที่เพิ่มความต่าง
  ศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรก
  และทำาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผานหลอด
                                        ่
  ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว

• การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ต
  เตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ากับสายไฟฟ้า
  ในบ้าน
• หลัก การทำา งานของหลอดเรือ งแสง
  เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำาให้ไส้หลอด
  ร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำาให้ปรอทที่บรรจุไว้
  ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้า
  ผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอ
  ปรอท ทำาให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูก
  กระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมา
  เพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสี
  อัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสาร
  เรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้น
  ก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิด
  ของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น
  แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้
  แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอม
  ฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สผสมที่
                                          ี
ข้อ แนะนำา การใช้ห ลอดไฟอย่า งประหยัด
1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอด
  ธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน
                              ่
  และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า
2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสง
  สว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง
3. ทำาความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่
4. ปิดไฟทุกครั้งทีไม่จำาเป็นต้องใช้
                  ่
• เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานความร้อ น
  การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความ
  ร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทนี้ในปัจจุบันมีการ
  ผลิตและใช้กันมาก เช่น เตาไฟฟ้า 
  เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว กาต้มนำ้าไฟฟ้า เครื่อง
  ปิงขนมปัง เครื่องอบผม เป็นต้น
    ้
เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ประเภทนีอ าศัย หลัก การที่ว ่า
                          ้

        เมื่อ ให้ก ระแสไฟฟ้า ผ่า นขดลวดความต้า นทานจะ
  ทำา ให้เ กิด ความร้อ นในขดลวดนั้น ความร้อ นจะมีป ริม าณ
  มากหรือ น้อ ยขึ้น อยู่ก ัก ระแสไฟฟ้า และความต้า นทาน
  ของขดลวด ถ้า กระแสไฟฟ้า มากลวดจะร้อ นมากขึ้น
  และถ้า ความต้า นทานขดลวดมากก็จ ะทำา ให้ร ้อ นยิ่ง ขึ้น
  จากหลัก การนี้เ ส้น ลวดที่น ำา มาใช้เ ป็น ตัว ให้ค วามร้อ นจึง
  ต้อ งมีค วามต้า นทานสูง เพื่อ ให้ม ีค วามร้อ นมาก และ
  จุด หลอมเหลวสูง พอที่จ ะทำา ให้ค วามร้อ นนานๆ และที่
  สำา คัญ ต้อ งไม่ร วมกับ ออกซิเ จนในอากาศเมื่อ อุณ หภูม ิส ูง
  ขึ้น เพื่อ ไม่ใ ห้ข าดเร็ว

       ในทางปฏิบ ัต ิเ ส้น ลวดที่น ำา มาใช้ท ำา เป็น ขดลวด
  ความร้อ นนี้ ทำา มาจากโลหะผสมระหว่า งนิก เกิล
  ประมาณร้อ ยละ 60 โครเมีย ม ประมาณร้อ ยละ 15 และ
  เหล็ก ประมาณร้อ ยละ 25 ได้โ ลหะใหม่ท ี่ เรีย กว่า นิโ ครม
  เป็น โลหะที่ม ีค วามต้า นทานประมาณ 50 เท่า ของ
  ลวดทองแดง และจุด หลอมเหลวอยู่ 1,500 องศาเซลเซีย ส
  ลวดนิโ ครมที่ป ระกอบอยู่ใ นเครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า อาจทำา เป็น
เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานกล  

      เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
 พลังงานกลได้ ต้องใช้มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ใน
 การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เช่น
 เครื่องซักผ้า เครื่องสูบนำ้า พัดลม จักรเย็บผ้า ตู้
 เย็น เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น 
มอเตอร์ไฟฟ้า ทำางานโดยอาศัยหลักการดังนี้ เมื่อ
 มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดตัวนำาทางวางงอ
 อยู่ระหว่างขั้นเหนือและขั้นใต้ของแท่งแม่เหล็ก
 กระแสไฟฟ้าขณะไหลผ่านขดลวดจะเกิดการ
 เหนี่ยวนำาเกิดสนามแม่เหล็กรอบเส้นลวด ทำาให้
 เส้นแรงแม่เหล็กของแท่นแม่เหล็กแบนไป ซึ่ง
 เส้นแรงแม่เหล็กที่เบียงเบนไปนี้จะยึดเส้นแรง
                      ่
 ออกให้ตรงด้วยเส้นแรงผลักขดลวด เป็นผลให้
 ขดลวดหมุนได้ เช่น เครื่องดูดฝุ่น
เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานเสีย ง  

      เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้
                        ่
 ไฟฟ้าทีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น
           ่
 เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง 

 เครื่อ งรับ วิท ยุ 
      เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
                     ี่
 เสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจาก
 สถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณ
 เสียงทีอยูในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียง
         ่ ่
 พอทีทำาให้ลำาโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยน
       ่                                            ิ
 ดังแผนผัง 
เครื่อ งบัน ทึก เสีย ง 
      เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
 เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดย
 ขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะ
 เปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลง
 ในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กใน
 รูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำาแถบบันทึกเสียง
 ที่บนทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก
     ั
 เปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณ
 ไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า
 สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำาโพง ทำาให้
 ลำาโพงสันสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
            ่
 ดังแผนผัง 
เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด สามารถเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอื่นๆ หลายรูปได้
พร้อมกัน เช่น โทรทัศน์สามารถเปลี่ยนพลังงาน
ไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง และพลังงานเสียงใน
เวลาเดียวกัน 
อุป กรณ์
• อุป กรณ์ไ ฟฟ้า
              อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่
   เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพือนำาไปใช้ใน
                                                      ่
   ชีวิตประจำาวัน ได้แก่ 
                            - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้แสง่
                            - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้ความร้อน 
                                            ่
                            - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล
                                              ่
                            - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงาน
                                                ่
   เสียง     หมายเหตุ นอกจากนี้อุปกรณ์ไฟฟ้าหลาย
   ชนิด ทีให้พลังงานหลายชนิดพร้อมๆกัน เช่น โทรทัศน์
            ่
   และคอมพิวเตอร์ จัดเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงานแสง่
   และพลังงานเสียงพร้อมกัน              ข้อ ควรระวัง ใน
   การใช้เ ครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า มีด ัง นี้ 
     1. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง
   อย่าให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า 
     2. หมันตรวจดูสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยูในสภาพ
              ่                                         ่
   ทีใช้งานได้ดี
     ่
     3. ถ้าไม่มีความรู้เรื่องไฟฟ้า อย่าแก้ไขหรือซ่อมแซม
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6orohimaro
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 

Was ist angesagt? (15)

หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
ตอน2
ตอน2ตอน2
ตอน2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 

Andere mochten auch

Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecasting
Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecastingBdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecasting
Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecastingRai University
 
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systems
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systemsBsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systems
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systemsRai University
 
B.sc ii unit iii antonyms
B.sc ii unit iii antonymsB.sc ii unit iii antonyms
B.sc ii unit iii antonymsRai University
 
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinants
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinantsB.tech semester i-unit-iv_matrices and determinants
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinantsRai University
 
Процес реалізації громадського бюджету в Ірпені
Процес реалізації громадського бюджету в ІрпеніПроцес реалізації громадського бюджету в Ірпені
Процес реалізації громадського бюджету в ІрпеніAndrii Vytiaganets
 
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jit
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jitBca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jit
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jitRai University
 
Ardhasker Azeotrope
Ardhasker AzeotropeArdhasker Azeotrope
Ardhasker Azeotropetlsctlsc
 
Varios rehabilitacion en artritis reumatoidea
Varios   rehabilitacion en artritis reumatoideaVarios   rehabilitacion en artritis reumatoidea
Varios rehabilitacion en artritis reumatoideaTrivy Tankian
 
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian media
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian mediaBjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian media
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian mediaRai University
 
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNA
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNAB.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNA
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNARai University
 
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnology
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnologyB.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnology
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnologyRai University
 
Mba ii hrm u-4.8 hr accounting
Mba ii hrm u-4.8 hr accountingMba ii hrm u-4.8 hr accounting
Mba ii hrm u-4.8 hr accountingRai University
 
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error s
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error sDiploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error s
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error sRai University
 
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blast
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blastB.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blast
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blastRai University
 
Bca u 5 data communication and network
Bca u 5 data communication and networkBca u 5 data communication and network
Bca u 5 data communication and networkRai University
 

Andere mochten auch (20)

Sudha Madhuri Yagnamurthy Resume 2 (5)
Sudha Madhuri Yagnamurthy Resume 2 (5)Sudha Madhuri Yagnamurthy Resume 2 (5)
Sudha Madhuri Yagnamurthy Resume 2 (5)
 
Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecasting
Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecastingBdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecasting
Bdft ii, fcpr, unit-iii, trend forecasting
 
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systems
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systemsBsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systems
Bsc cs 1 fit u-5 functional and enterprise systems
 
B.sc ii unit iii antonyms
B.sc ii unit iii antonymsB.sc ii unit iii antonyms
B.sc ii unit iii antonyms
 
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinants
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinantsB.tech semester i-unit-iv_matrices and determinants
B.tech semester i-unit-iv_matrices and determinants
 
Процес реалізації громадського бюджету в Ірпені
Процес реалізації громадського бюджету в ІрпеніПроцес реалізації громадського бюджету в Ірпені
Процес реалізації громадського бюджету в Ірпені
 
La vida oculta de julieta
La vida oculta de julietaLa vida oculta de julieta
La vida oculta de julieta
 
La vida oculta de julieta
La vida oculta de julietaLa vida oculta de julieta
La vida oculta de julieta
 
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jit
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jitBca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jit
Bca i fma u 5.2 inventory valuation eoq,abc,jit
 
Ardhasker Azeotrope
Ardhasker AzeotropeArdhasker Azeotrope
Ardhasker Azeotrope
 
Varios rehabilitacion en artritis reumatoidea
Varios   rehabilitacion en artritis reumatoideaVarios   rehabilitacion en artritis reumatoidea
Varios rehabilitacion en artritis reumatoidea
 
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian media
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian mediaBjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian media
Bjmc i, dcm, unit-iii,, the modern indian media
 
BBA 2 Unit 1 Tenses
BBA 2 Unit 1 TensesBBA 2 Unit 1 Tenses
BBA 2 Unit 1 Tenses
 
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNA
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNAB.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNA
B.Tech Biotechnology II Elements of Biotechnology Unit 2 Structure of DNA
 
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnology
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnologyB.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnology
B.tech biotechnology ii elements of biotechnology unit 1 biotechnology
 
Maggi – why orm is important
Maggi – why orm is importantMaggi – why orm is important
Maggi – why orm is important
 
Mba ii hrm u-4.8 hr accounting
Mba ii hrm u-4.8 hr accountingMba ii hrm u-4.8 hr accounting
Mba ii hrm u-4.8 hr accounting
 
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error s
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error sDiploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error s
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 2 error s
 
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blast
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blastB.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blast
B.sc biochem i bobi u 3.2 algorithm + blast
 
Bca u 5 data communication and network
Bca u 5 data communication and networkBca u 5 data communication and network
Bca u 5 data communication and network
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf

เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จPanatsaya
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)ying08932
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน SideshareThananop
 

Ähnlich wie เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf (20)

เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 
งาน Sideshare
งาน Sideshareงาน Sideshare
งาน Sideshare
 

เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf

  • 1. งานนำา เสนอ รายวิช า วิท ยาศาสตร์ เรื่อ ง เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ใน บ้า น
  • 2. • จัด ทำา โดย ด.ช พงศกร สีพ รหม เลขที่ 21 ด.ญ กนกนารถ เค้า สิม เลขที่ 22 ด.ญ ขนิษ ฐา ยาดี เลขที่ 23
  • 3. • เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ในบ้า น • เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า • เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า  คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำาไปใช้ในชีวิต ประจำาวัน ได้แก่ • 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน • 3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล • 4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง • นอกจากนียังมีเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยน ้ เป็นพลังงานรูปอื่นหลายรูปในเวลาเดียวกัน
  • 4. • เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้แ สงสว่า ง        อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน แสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักฟิสกส์ชาวอเมริกัน ิ ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้ หลอดและต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้น จนเป็น หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน 
  • 5. • ประเภทของหลอดไฟ • 1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทำาด้วยลวด โลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูง เช่น ทังสเตนเส้น เล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายใน หลอดแก้วสูบอากาศออกหมดแล้วบรรจุ ก๊าซเฉือย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนีช่วย ่ ้ ป้องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้าดำา ลักษณะของหลอด ไฟเป็นดังรูป •  
  • 6. • หลัก การทำา งานของหลอดไฟฟ้า ธรรมดา • กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดซึงมีความต้านทานสูง ่ พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทำาให้ ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยน พลังงานเป็นดังนี้ • พลังงานไฟฟ้า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงาน แสง • 2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น ี่ พลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่างหลายแบบ อาจทำาเป็นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็นต้น • ส่ว นประกอบของหลอดเรือ งแสง • ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูทปลายทัง 2 ข้าง ่ ี่ ้ ของหลอดแก้ว ซึ่งผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสาร เรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสูบออกจนหมดแล้วใส่
  • 7. • อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทำางาน 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทำาหน้าที่เป็นสวิตซ์ อัตโนมัติในขณะหลอดเรืองแสง ยังไม่ติดและ หยุดทำางานเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำาหน้าที่เพิ่มความต่าง ศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสงติดในตอนแรก และทำาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผานหลอด ่ ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว • การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ต เตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ากับสายไฟฟ้า ในบ้าน
  • 8. • หลัก การทำา งานของหลอดเรือ งแสง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำาให้ไส้หลอด ร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทำาให้ปรอทที่บรรจุไว้ ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้า ผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้าให้ไอ ปรอท ทำาให้อะตอมของไอปรอทอยู่ในภาวะถูก กระตุ้น และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมา เพื่อลดระดับพลังงานของตนในรูปของรังสี อัลตราไวโอเลต เมื่อรังสีดังกล่าวกระทบสาร เรืองแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรืองแสงนั้น ก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆ ตามชนิด ของสารเรืองแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสีชมพู ซิงค์ซิลิเคทให้ แสงสีเขียว แมกนีเซียมทังสเตนให้แสงสีขาวอม ฟ้า และยังอาจผสมสารเหล่านี้เพื่อให้ได้สผสมที่ ี
  • 9. ข้อ แนะนำา การใช้ห ลอดไฟอย่า งประหยัด 1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอด ธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน ่ และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสง สว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำาความสะอาดโป๊ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ 4. ปิดไฟทุกครั้งทีไม่จำาเป็นต้องใช้ ่
  • 10. • เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานความร้อ น   การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความ ร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทนี้ในปัจจุบันมีการ ผลิตและใช้กันมาก เช่น เตาไฟฟ้า  เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว กาต้มนำ้าไฟฟ้า เครื่อง ปิงขนมปัง เครื่องอบผม เป็นต้น ้
  • 11. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ประเภทนีอ าศัย หลัก การที่ว ่า ้ เมื่อ ให้ก ระแสไฟฟ้า ผ่า นขดลวดความต้า นทานจะ ทำา ให้เ กิด ความร้อ นในขดลวดนั้น ความร้อ นจะมีป ริม าณ มากหรือ น้อ ยขึ้น อยู่ก ัก ระแสไฟฟ้า และความต้า นทาน ของขดลวด ถ้า กระแสไฟฟ้า มากลวดจะร้อ นมากขึ้น และถ้า ความต้า นทานขดลวดมากก็จ ะทำา ให้ร ้อ นยิ่ง ขึ้น จากหลัก การนี้เ ส้น ลวดที่น ำา มาใช้เ ป็น ตัว ให้ค วามร้อ นจึง ต้อ งมีค วามต้า นทานสูง เพื่อ ให้ม ีค วามร้อ นมาก และ จุด หลอมเหลวสูง พอที่จ ะทำา ให้ค วามร้อ นนานๆ และที่ สำา คัญ ต้อ งไม่ร วมกับ ออกซิเ จนในอากาศเมื่อ อุณ หภูม ิส ูง ขึ้น เพื่อ ไม่ใ ห้ข าดเร็ว ในทางปฏิบ ัต ิเ ส้น ลวดที่น ำา มาใช้ท ำา เป็น ขดลวด ความร้อ นนี้ ทำา มาจากโลหะผสมระหว่า งนิก เกิล ประมาณร้อ ยละ 60 โครเมีย ม ประมาณร้อ ยละ 15 และ เหล็ก ประมาณร้อ ยละ 25 ได้โ ลหะใหม่ท ี่ เรีย กว่า นิโ ครม เป็น โลหะที่ม ีค วามต้า นทานประมาณ 50 เท่า ของ ลวดทองแดง และจุด หลอมเหลวอยู่ 1,500 องศาเซลเซีย ส ลวดนิโ ครมที่ป ระกอบอยู่ใ นเครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า อาจทำา เป็น
  • 12. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานกล        เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานกลได้ ต้องใช้มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ใน การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เช่น เครื่องซักผ้า เครื่องสูบนำ้า พัดลม จักรเย็บผ้า ตู้ เย็น เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น 
  • 13. มอเตอร์ไฟฟ้า ทำางานโดยอาศัยหลักการดังนี้ เมื่อ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดตัวนำาทางวางงอ อยู่ระหว่างขั้นเหนือและขั้นใต้ของแท่งแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้าขณะไหลผ่านขดลวดจะเกิดการ เหนี่ยวนำาเกิดสนามแม่เหล็กรอบเส้นลวด ทำาให้ เส้นแรงแม่เหล็กของแท่นแม่เหล็กแบนไป ซึ่ง เส้นแรงแม่เหล็กที่เบียงเบนไปนี้จะยึดเส้นแรง ่ ออกให้ตรงด้วยเส้นแรงผลักขดลวด เป็นผลให้ ขดลวดหมุนได้ เช่น เครื่องดูดฝุ่น
  • 14. เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า ที่ใ ห้พ ลัง งานเสีย ง        เครื่องใช้ไฟฟ้าทีให้พลังงานเสียง เป็นเครื่องใช้ ่ ไฟฟ้าทีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง เช่น ่ เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง  เครื่อ งรับ วิท ยุ       เป็นอุปกรณ์ทเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน ี่ เสียง โดยเครื่องรับวิทยุอาศัยการรับคลื่นวิทยุจาก สถานีส่ง แล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณ เสียงทีอยูในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นจนเพียง ่ ่ พอทีทำาให้ลำาโพงเสียงสั่นสะเทือนเป็นเสียงให้เราได้ยน ่ ิ ดังแผนผัง 
  • 15. เครื่อ งบัน ทึก เสีย ง       เครื่องบันทึกเสียงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดย ขณะบันทึกใช้การพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะ เปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลง ในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กใน รูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมื่อนำาแถบบันทึกเสียง ที่บนทึกไว้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก ั เปลี่ยนกลับไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณ ไฟฟ้าจะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญญาณไฟฟ้าจะถูกส่งไปถึงลำาโพง ทำาให้ ลำาโพงสันสะเทือนกลับเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ่ ดังแผนผัง 
  • 16. เครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด สามารถเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานอื่นๆ หลายรูปได้ พร้อมกัน เช่น โทรทัศน์สามารถเปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง และพลังงานเสียงใน เวลาเดียวกัน 
  • 17. อุป กรณ์ • อุป กรณ์ไ ฟฟ้า               อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพือนำาไปใช้ใน ่ ชีวิตประจำาวัน ได้แก่                           - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้แสง่                          - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้ความร้อน  ่                          - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงานกล ่                          - อุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงาน ่ เสียง     หมายเหตุ นอกจากนี้อุปกรณ์ไฟฟ้าหลาย ชนิด ทีให้พลังงานหลายชนิดพร้อมๆกัน เช่น โทรทัศน์ ่ และคอมพิวเตอร์ จัดเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทีให้พลังงานแสง่ และพลังงานเสียงพร้อมกัน              ข้อ ควรระวัง ใน การใช้เ ครื่อ งใช้ไ ฟฟ้า มีด ัง นี้    1. ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง อย่าให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า    2. หมันตรวจดูสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยูในสภาพ ่ ่ ทีใช้งานได้ดี ่   3. ถ้าไม่มีความรู้เรื่องไฟฟ้า อย่าแก้ไขหรือซ่อมแซม