SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
สมบัติของสารและการจำแนกสารความหมายของสาร     สาร คือ สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีมากมายหลายชนิดเกินกว่าที่เราจะรู้จักและจดจำได้หมด สารมีอยู่ทุกหนทุกแห่งทั้งบนพื้นโลก ในน้ำ ในอากาศ เช่น ดิน หิน ทราย น้ำ อากาศการจำแนกสาร     สารชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งที่สมบัติเหมือนกันและมีสมบัติต่างกัน จึงทำให้มีการจัดจำแนกสารออกเป็นหมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อจะได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสารได้สะดวกมากขึ้น แต่การที่ใช้เกณฑ์ต่างกันอาจทำให้สารชนิดเดียวกันถูกจัดให้อยู่ในพวกที่ต่างกันก็ได้<br />การจำแนกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ     สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสมบัติของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายจากภายนอก ได้แก่ สี รส กลิ่น การละลาย สถานะ ความแข็ง ลักษณะผลึก จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การนำไฟฟ้า และการนำความร้อน                                                                  ตาราง สมบัติทางกายภาพของสาร<br />                                    <br />     1)  การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ เป็นวิธีที่นิยมใช้เนื่องจากสามารถแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสารต่าง ๆ ได้มากกว่าวิธีอื่น ๆ โดยตามเกณฑ์นี้จะจำแนกสารออกได้เป็ดนกลุ่มใหญ่ ๆ 2 กลุ่ม คือ      สารเนื้อเดียว เป็นสารที่เห็นเป็นเนื้อเดียวตลอดทุกส่วนและมีสมบัติเหมือนกันทุกส่วนด้วย      สารเนื้อผสม เป็นสารที่มองเห็นไม่เป็นเนื้อเดียวกัน และมีสมบัติของเนื้อสารในแต่ละส่วนแตกต่างกัน ดังแผนผัง<br />                       <br />     2)  การจำแนกสารโดยใช้ขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ ถ้าใช้อนุภาคของสารเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสาร จะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ สารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย     3)  การจำแนกสารดดยใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์          1.  สถานะของสาร สารโดยทั่วไปจะอยู่ใน 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ดังต่อไปนี้<br />                           2.  กฎทรงมวลและความสัมพันธ์ของมวลกับสถานะของสาร อองตวน-โลรอง ลาวัวซิเอร์ (Antoine-Laurent Lavoisier) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ทำการทดลองเผาสารในหลอดปิด พบว่า มวลของสารทั้งหมดก่อนทำก่ารเผา (ก่อนทำปฏิกิริยาเคมี) จะเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังจากการเผา (หลังทำปฏิกิริยาเคมี) เขาจึงสรุปตั้งเป็นกฎว่า quot;
กฎทรงมวลquot;
 ซึ่งมีใจความสำคัญว่า quot;
ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยาเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังทำปฏิกิริยาquot;
          3.  การเปลี่ยนสถานะของสาร การเปลี่ยนสถานะของสารจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ เช่น น้ำแข็งเมื่อเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็งไปเป็นของเหลว (น้ำ) และจากของเหลวไปเป็นไอน้ำจะมีการดูดหรือได้รับพลังงานความร้อนจากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการเปลี่ยนสถานะ ส่วนการเปลี่ยนสถานะจากไอน้ำ (แก๊ส) มาเป็นของเหลว (น้ำ) หรือจากของเหลวไปเป็นของแข็งจะมีการคายพลังงานความร้อนให้แก่สิ่งแวดล้อม     ในขณะที่น้ำแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นน้ำ อุณหภูมิของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง (คงที่อยู่ที่ O ๐c) ทั้งนี้เพราะพลังงานความร้อนที่น้ำแข็ง O ๐c ได้รับ จะนำไปเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็งเป็นน้ำ O ๐c จนหมด ดังนั้น น้ำที่ O ๐c จึงมีพลังงานสูงกว่าน้ำแข็งที่ O ๐c      ทำนองเดียวกันกับการเปลี่ยนสถานะจากน้ำเป็นไอน้ำ ขณะที่น้ำเดือดอุณหภูมิจะคงที่ (100 ๐c) ทั้ง ๆ ที่ให้พลังงานความร้อนตลอดเวลา ทั้งนี้ เพราะความร้อนที่ได้ถูกนำไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้ำ 100 ๐c ดังนั้ ไอน้ำจึงมีพลังงานสูงกว่าน้ำเดือด     พลังงานที่ใช้เปลี่ยนสถานะของสาร เรียกว่า quot;
ความร้อนแฝงquot;
<br />ความร้อนแฝง     ความร้อนแฝง (Latent heat = L) คือ พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารมี 2 ประเภท คือ     ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว คือ ปริมาณความร้อนที่ใช้ไปในการทำให้ของแข็งมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลวงหมดพอดี โดยอุณหภูมิของสารคงที่ สำหรับน้ำแข็งสถานะของน้ำแข็ง 1 กรัม ที่อุณหภูมิ O ๐c ให้เป็นน้ำที่อุณหภูมิ O ๐c จนหมด จะต้องใช้พลังงานเท่ากับ 80 แคลอรี่     ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ คือ ปริมาณความร้อนที่ใช้ในการทำให้ของเหลวมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สหมดพอดี โดยอุณหภูมิของสารคงที่ สำหรับน้ำเปลี่ยนสถานะจากน้ำเดือดอุณหภูมิ 100 ๐c เป็นไอน้ำอุณหภูมิ 100 ๐c ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ มีค่าเท่ากับ 540 แคลอรี่ต่อกรัม นั่นคือ น้ำเดือดมวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 100 ๐c เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำจนหมด จะต้องใช้พลังงานเท่ากับ 540 แคลอรี่<br />การคำนวณหาปริมาณความร้อนในการเปลี่ยนแปลงสถานะการคำนวณหาปริมาณความร้อนแฝง หาได้จาก   ปริมาณความร้อน     =  มวลของสาร x ความร้อนแฝงของสาร        (แคลอรี่)                                   (แคลอรี่ต่อกรัม)<br />          H              =  mL<br />ตัวอย่างที่ 1 ถ้าต้องการทำให้น้ำแข็งมวล 3 กรัม ที่ O ๐c กลายเป็นน้ำจนหมด ต้องใช้ปริมาณความร้อนเท่าใด (ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 80 แคลอรี่ต่อกรัม)วิธีทำ จาก ปริมาณความร้อน   =  มวลของสาร x ความร้อนแฝง                             =  3 X 80                             =  240 แคลอรี่                                                   ตอบ<br />ตัวอย่างที่ 2 น้ำเดือดมวล 20 กรัม ทำให้กลายเป็นไอจนหมดพอดี ต้องใช้ความร้อนกี่แคลอรี่ (ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำมีค่า 540 แคลอรี่ต่อกรัม)วิธีทำปริมาณความร้อน      =  มวลของสาร X ความร้อนแฝง                          =  20 X 540                          =  10,800 แคลอรี่                                                  ตอบ<br />การจำแนกสารโดยใช้สมบัติทางเคมี     สมบัติทางเคมี เป็นสมบัติของสารที่พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือมีการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ การเป็นสนิม ความเป็นกรด - เบส ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างภายในของสารเป็นสำคัญ     1)  ความเป็นกรด - เบส  เป็นสมบัติที่สามารถนำมาใช้ในการจัดจำแนกสารได้ โดยสารที่เป็นกรด จะมีสมบัติกัดกร่อนสูงหรือดูจากทำปฏิกิริยากับโลหะ เป็นต้น                                            ตาราง สมบัติทางเคมี (ความเป็นกรด - เบส) ของสารบางชนิด<br />                                     2)  พลังงานในสาร อนุภาคของสารทุกชนิดจะมีพลังงานอยู่ในอนุภาค เรียกว่า quot;
พลังงานจลน์quot;
 ซึ่งเป็นพลังงานที่ทำให้อนุภาคของสารเคลื่อนที่ตลอดเวลา และอนุภาคแต่ละอนุภาคยังมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคด้วย<br />
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2kai kk
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียวDnavaroj Dnaka
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 

Was ist angesagt? (19)

4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
Punmanee study 9
Punmanee study 9Punmanee study 9
Punmanee study 9
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 

Andere mochten auch

บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 

Andere mochten auch (6)

บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 

สมบัติของสารและการจำแนกสาร

  • 1. สมบัติของสารและการจำแนกสารความหมายของสาร     สาร คือ สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีมากมายหลายชนิดเกินกว่าที่เราจะรู้จักและจดจำได้หมด สารมีอยู่ทุกหนทุกแห่งทั้งบนพื้นโลก ในน้ำ ในอากาศ เช่น ดิน หิน ทราย น้ำ อากาศการจำแนกสาร     สารชนิดต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งที่สมบัติเหมือนกันและมีสมบัติต่างกัน จึงทำให้มีการจัดจำแนกสารออกเป็นหมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อจะได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสารได้สะดวกมากขึ้น แต่การที่ใช้เกณฑ์ต่างกันอาจทำให้สารชนิดเดียวกันถูกจัดให้อยู่ในพวกที่ต่างกันก็ได้<br />การจำแนกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ     สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสมบัติของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ง่ายจากภายนอก ได้แก่ สี รส กลิ่น การละลาย สถานะ ความแข็ง ลักษณะผลึก จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การนำไฟฟ้า และการนำความร้อน                                                                  ตาราง สมบัติทางกายภาพของสาร<br />                                    <br />     1)  การจำแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ เป็นวิธีที่นิยมใช้เนื่องจากสามารถแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสารต่าง ๆ ได้มากกว่าวิธีอื่น ๆ โดยตามเกณฑ์นี้จะจำแนกสารออกได้เป็ดนกลุ่มใหญ่ ๆ 2 กลุ่ม คือ      สารเนื้อเดียว เป็นสารที่เห็นเป็นเนื้อเดียวตลอดทุกส่วนและมีสมบัติเหมือนกันทุกส่วนด้วย      สารเนื้อผสม เป็นสารที่มองเห็นไม่เป็นเนื้อเดียวกัน และมีสมบัติของเนื้อสารในแต่ละส่วนแตกต่างกัน ดังแผนผัง<br />                       <br />     2)  การจำแนกสารโดยใช้ขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ ถ้าใช้อนุภาคของสารเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสาร จะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ สารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย     3)  การจำแนกสารดดยใช้สถานะของสารเป็นเกณฑ์          1.  สถานะของสาร สารโดยทั่วไปจะอยู่ใน 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ดังต่อไปนี้<br />                           2.  กฎทรงมวลและความสัมพันธ์ของมวลกับสถานะของสาร อองตวน-โลรอง ลาวัวซิเอร์ (Antoine-Laurent Lavoisier) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ทำการทดลองเผาสารในหลอดปิด พบว่า มวลของสารทั้งหมดก่อนทำก่ารเผา (ก่อนทำปฏิกิริยาเคมี) จะเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังจากการเผา (หลังทำปฏิกิริยาเคมี) เขาจึงสรุปตั้งเป็นกฎว่า quot; กฎทรงมวลquot; ซึ่งมีใจความสำคัญว่า quot; ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยาเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังทำปฏิกิริยาquot;           3.  การเปลี่ยนสถานะของสาร การเปลี่ยนสถานะของสารจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ เช่น น้ำแข็งเมื่อเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็งไปเป็นของเหลว (น้ำ) และจากของเหลวไปเป็นไอน้ำจะมีการดูดหรือได้รับพลังงานความร้อนจากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการเปลี่ยนสถานะ ส่วนการเปลี่ยนสถานะจากไอน้ำ (แก๊ส) มาเป็นของเหลว (น้ำ) หรือจากของเหลวไปเป็นของแข็งจะมีการคายพลังงานความร้อนให้แก่สิ่งแวดล้อม     ในขณะที่น้ำแข็งเปลี่ยนสถานะไปเป็นน้ำ อุณหภูมิของสารจะไม่เปลี่ยนแปลง (คงที่อยู่ที่ O ๐c) ทั้งนี้เพราะพลังงานความร้อนที่น้ำแข็ง O ๐c ได้รับ จะนำไปเปลี่ยนสถานะจากน้ำแข็งเป็นน้ำ O ๐c จนหมด ดังนั้น น้ำที่ O ๐c จึงมีพลังงานสูงกว่าน้ำแข็งที่ O ๐c      ทำนองเดียวกันกับการเปลี่ยนสถานะจากน้ำเป็นไอน้ำ ขณะที่น้ำเดือดอุณหภูมิจะคงที่ (100 ๐c) ทั้ง ๆ ที่ให้พลังงานความร้อนตลอดเวลา ทั้งนี้ เพราะความร้อนที่ได้ถูกนำไปใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้ำ 100 ๐c ดังนั้ ไอน้ำจึงมีพลังงานสูงกว่าน้ำเดือด     พลังงานที่ใช้เปลี่ยนสถานะของสาร เรียกว่า quot; ความร้อนแฝงquot; <br />ความร้อนแฝง     ความร้อนแฝง (Latent heat = L) คือ พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารมี 2 ประเภท คือ     ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว คือ ปริมาณความร้อนที่ใช้ไปในการทำให้ของแข็งมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะไปเป็นของเหลวงหมดพอดี โดยอุณหภูมิของสารคงที่ สำหรับน้ำแข็งสถานะของน้ำแข็ง 1 กรัม ที่อุณหภูมิ O ๐c ให้เป็นน้ำที่อุณหภูมิ O ๐c จนหมด จะต้องใช้พลังงานเท่ากับ 80 แคลอรี่     ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ คือ ปริมาณความร้อนที่ใช้ในการทำให้ของเหลวมวล 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สหมดพอดี โดยอุณหภูมิของสารคงที่ สำหรับน้ำเปลี่ยนสถานะจากน้ำเดือดอุณหภูมิ 100 ๐c เป็นไอน้ำอุณหภูมิ 100 ๐c ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ มีค่าเท่ากับ 540 แคลอรี่ต่อกรัม นั่นคือ น้ำเดือดมวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 100 ๐c เปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำจนหมด จะต้องใช้พลังงานเท่ากับ 540 แคลอรี่<br />การคำนวณหาปริมาณความร้อนในการเปลี่ยนแปลงสถานะการคำนวณหาปริมาณความร้อนแฝง หาได้จาก   ปริมาณความร้อน     =  มวลของสาร x ความร้อนแฝงของสาร        (แคลอรี่)                                   (แคลอรี่ต่อกรัม)<br />          H              =  mL<br />ตัวอย่างที่ 1 ถ้าต้องการทำให้น้ำแข็งมวล 3 กรัม ที่ O ๐c กลายเป็นน้ำจนหมด ต้องใช้ปริมาณความร้อนเท่าใด (ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ 80 แคลอรี่ต่อกรัม)วิธีทำ จาก ปริมาณความร้อน   =  มวลของสาร x ความร้อนแฝง                             =  3 X 80                             =  240 แคลอรี่                                                   ตอบ<br />ตัวอย่างที่ 2 น้ำเดือดมวล 20 กรัม ทำให้กลายเป็นไอจนหมดพอดี ต้องใช้ความร้อนกี่แคลอรี่ (ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำมีค่า 540 แคลอรี่ต่อกรัม)วิธีทำปริมาณความร้อน      =  มวลของสาร X ความร้อนแฝง                          =  20 X 540                          =  10,800 แคลอรี่                                                  ตอบ<br />การจำแนกสารโดยใช้สมบัติทางเคมี     สมบัติทางเคมี เป็นสมบัติของสารที่พิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือมีการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ การเป็นสนิม ความเป็นกรด - เบส ซึ่งเกี่ยวข้องกับโครงสร้างภายในของสารเป็นสำคัญ     1)  ความเป็นกรด - เบส  เป็นสมบัติที่สามารถนำมาใช้ในการจัดจำแนกสารได้ โดยสารที่เป็นกรด จะมีสมบัติกัดกร่อนสูงหรือดูจากทำปฏิกิริยากับโลหะ เป็นต้น                                            ตาราง สมบัติทางเคมี (ความเป็นกรด - เบส) ของสารบางชนิด<br />                                     2)  พลังงานในสาร อนุภาคของสารทุกชนิดจะมีพลังงานอยู่ในอนุภาค เรียกว่า quot; พลังงานจลน์quot; ซึ่งเป็นพลังงานที่ทำให้อนุภาคของสารเคลื่อนที่ตลอดเวลา และอนุภาคแต่ละอนุภาคยังมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคด้วย<br />